ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
ใบความรู้เรื่อง ระบบปฏิบัติการวินโดว์
ทาความรู้จัก ระบบปฏิบัติการ (operating system)
ระบบปฏิบัติการ (operating system) หรือ โอเอส (OS) คือ ซอฟต์แวร์ที่ทาหน้าที่ควบคุมการทางาน
ของระบบคอมพิวเตอร์ ให้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงต่าง ๆ ทางานร่วมกันอย่างมี
ประสิทธิภาพ ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือ ระบบปฏิบัติการ
(OS- Operating System) เช่น MS-DOS, UNIX, OS/2, Windows, Linux, Ubuntu เป็นต้น
หน้าที่ของ OS
ตัว OS ถูก สร้างขึ้นเพื่อจุดประสงค์หลัก คือ อานวยความสะดวกให้แก่ผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ใน
ลักษณะที่ผู้ใช้ ไม่ต้องทราบกลไกการทา หรือฮาร์ดแวร์ของระบบ เราจึงแบ่งหน้าที่ของOS ได้ดังนี้
1.ติดต่อกับผู้ใช้ (User Interface)
ผู้ใช้สามารถติดต่อหรือควบคุมการทางานของเครื่องผ่านทางOS ได้ OS จะส่งเครื่องหมายพร้อมต์
(Prompt) ออกสู่จอรับคาสั่งจากผู้ใช้ โดยตรง ตัวOS จึงเป็นตัวกลางในการทาหน้าที่เชื่อมโยงระหว่างผู้ใช้กับ
Hardware กับเครื่อง นอกจากนี้ผู้ใช้อาจเขียนโปรแกรมเพื่องาน ซึ่งกรณีนี้ไม่สามารถกับOS ได้โดยผ่านทาง
System Call จึงเป็นการเรียกใช้รูทีน (โปรแกรมย่อย) ต่าง ๆ ของโปรแกรมของผู้ใช้ ทางานสาเร็จลุล่วงไปได้
2.ควบคุมดูแลอุปกรณ์และการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์
เนื่องจากผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ผ่านทาง OS อาจไม่จาเป็นต้องมีความรู้ความเข้าใจถึงหลักการทางาน
ภายในของเครื่อง ดังนั้นตัว OS จึงต้องมีหน้าที่ควบคุมการทางานของอุปกรณ์ต่าง ๆ เพื่อให้การทางานของ
ระบบเป็นไปได้อย่างถูกต้อง และสอดคล้องกันOS จึง มีส่วนประกอบเป็นรูทีนต่าง ๆ ที่ควบคุมอุปกรณ์แต่ละ
ชนิด อุปกรณ์แต่ละชนิดก็ต้องมีการควบคุมที่แตกต่างกัน ตัวอย่างเช่น รูทีนควบคุม Disk Drives รูที่นควบคุม
จอภาพ เป็นต้น
3.การจัดสรรทรัพยากรต่าง ๆ ในระบบ
ทรัพยากร (Resource) คือสิ่งที่ถูกใช้ไปเพื่อให้โปรแกรมดาเนินต่อไปได้ เช่นCPU Memory Disk เป็น
ต้น เหตุที่ต้องมีการจัดสรรทรัพยากรเพราะทรัพยากรของระบบมีจากัด ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดคือCPU ในระบบ
ที่มี CPU ตัวเดียวแต่ทางานหลายโปรแกรม เราต้องแบ่งสรรการใช้CPU ให้ กับโปรแกรมอย่างเหมาะสมมี
ทรัยากรอยู่หลายประเภท แต่ละโปรเซส หรือโปรแกรมมีความต้องการใช้ทรัพยากร อย่างเดียวหรือหลายอย่าง
พร้อมกัน OS ต้องจัดเตรียมทรัพยากรต่าง ๆ ตามความต้องการของแต่ละโปรเซส หรือ โปรแกรมเหล่านั้น
ดังนั้นหน้าที่อันสาคัญอีกประการหนึ่งของOS ก็คือ จัดสรรการใช้ทรัพยากรของระบบเพื่อให้เกิด
ประโยชน์สูงสุด ถ้า OS จัดสรรทรัพยากรได้อย่างมีประสิทธิภาพระบบก็สามารถรันโปรแกรม ได้รวดเร็ว และ
ได้งานเพิ่มขึ้น ทรัพยากรหลักที่ OS จัดสรรได้แก่
โปรเซสเซอร์( ซีพียู )
หน่วยความจา
อุปกรณ์ อินพุต เอาท์พุต
ข้อมูล ( data )
ทาความรู้จัก Windows XP
บริษัท Microsoft ก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1975 โดย บิลล์ เกตส์ กับ พอล อัลเลนได้ร่วมกับก่อตั้ง
ไมโครซอฟท์ สานักงานใหญ่อยู่ที่เมือง Redmond,Washington,USA ซึ่งต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น ไมโครซอฟท์
คอร์ปอเรชั่น และได้นาเอาภาษาเบสิกที่พัฒนาขึ้นเองออกวางตลาด และให้ชื่อว่าไมโครซอฟท์เบสิก
ภาษาคอมพิวเตอร์นี้ได้กลายมาเป็นรากฐานให้แก่ธุรกิจลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์ซึ่งถูกผนวก (ROM) เข้ากับเครื่อ
คอมพิวเตอร์ในบ้าน และเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลส่วนใหญ่ในช่วงคริสต์ทศวรรษที่70 และ 80
ต่อมาในปี ค.ศ. 1985 ถือเป็นช่วงที่สาคัญที่สุดของบริษัท Microsoft เพราะทางบริษัท IBM ได้
วางแผนจะรุกตลาดคอมพิวเตอร์ด้วยการนาเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล(PC) IBM ออกวางตลาด IBM ได้เข้า
มาเจรจากับ Microsoft เพื่อขอซื้อระบบปฏิบัตการคอมพิวเตอร์ซึ่งในตอนแรกทางบริษัทMicrosoft ยังไม่มี
ระบบปฏิบัติการจะขายให้จึงแนะนาให้IBM ไปคุยกับดิจิทัลรีเสิร์ชแทน ที่ดิจิทัลรีเสิร์ช ผู้แทนของ IBM ได้คุย
กับโดโรธี ภรรยาของ แกรี คิลดาลล์ แต่เธอปฏิเสธการลงนามในข้อตกลงมาตรฐานซึ่งไม่ปิดผนึกเนื่องจากเห็น
ว่าเสียเปรียบเกินไป IBM จึงหันมาคุยกับ Microsoft อีกครั้ง บิล เกตส์ได้สิทธิ์ในการใช้สาเนาการออกแบบของ
CP/M และ QDOS จาก ทิม แพทเทอร์สัน แห่งบริษัท ซีแอตเทิล คอมพิวเตอร์ โปรดักส์ด้วยการซื้อมาใน
ราคา 50,000 ดอลลาร์สหรัฐ และขายมันให้กับ IBM ในราคา "ราว 80,000 ดอลลาร์สหรัฐ" ตามคากล่าวอ้าง
ของเกตส์ และในที่สุด MS-DOS และ PC-DOS ก็ได้แจ้งเกิดในวงการ
ต่อมาในช่วงปี1989ทางบริษัท Microsoft ได้พัฒนา software ต่างๆของมาเช่น office
suite,Microsoft office เป็นโปรแกรมที่ใช้ตามสานักงานต่างๆเช่น Microsoft Word,Microsoft Excel
และในวันที่ 22 พฤษภาคม 1990 ทางบริษัทได้ทาการเปิดตัว Window 3.0 ซึ่งเป็นระบบปฏิบัตการ
version แรกที่ได้นาgraphicsมาช่วยในการใช้งานเพื่อความคล่องตัวและปรับปรุงความ สามารถเพื่อให้ใช้
Intel 386 processor ได้
ในปีค.ศ. 1995 ได้ทาการปล่อย Windows 95 ออกสู่ตลาด
ในปีค.ศ. 1998 ทางบริษัทได้พัฒนา Window 98 ออกมาใหม่
ในปีค.ศ. 2001 ได้ผลิด Window XP
และสุดท้ายในปี ค.ศ. 2006 ได้พัฒนาและผลิด Window vista ออกมา
สาหรับ Windows XP นี้ก็ได้ถือกาหนดใหม่ขึ้นมา โดยนาความสามารถของ Windows รุ่นก่อน ๆ
เช่น 98, Me และ 2000 เข้าด้วยกัน โดยมีรหัสในการเริ่มการพัฒนาว่า "Whistler" จุดเด่นหลักของของ
Windows XP นี้ นอกเหนือจากรูปลักษณ์หน้าตาที่สวยงามแล้ว ยังมีคุณสมบัติเด่นๆ อีก เช่น การใช้งาน
ร่วมกันหลาย ๆ คนในเครื่องเดียวกัน โดยสามารถกาหนดรหัสผ่านและกาหนดสภาพแวดล้อมที่ต่างกันได้
ข้อดีของระบบปฏิบัติการ Windows XP คือ สามารถมองเห็นอุปกรณ์ต่าง ๆ ในเครื่องคอมพิวเตอร์
รุ่นเก่า ได้ค่อนข้างมากขึ้น โดยที่อาจจะไม่ต้องไปหา Driver มาลงเพิ่มเติมเลย แต่ถ้าหากเป็นอุปกรณ์ใหม่ ๆ ก็
ต้องลง Driver นอกจากนี้ หน้าตา รูปแบบการแสดงผลที่สวยงามนับได้ว่าเป็นจุดขายที่ดีของ Windows ตัวนี้
เลยก็ว่าได้ นอกจากนี้ ด้วยความที่เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนาต่อมาจาก Windows NT จึงทาให้มีความ
เสถียรค่อนข้างสูง
ถ้าหากไม่มีปัญหากับ hardware หรืออุปกรณ์ของเครื่องคอมพิวเตอร์แล้วนับได้ว่า จะมีความเสถียร
มากกว่า Windows 98และ Windows Me ค่อนข้างมาก
เวอร์ชั่นของ Windows XP แบ่งได้ 3 ประเภท
Windows XP Home Edition
เหมาะสาหรับผู้ใช้ตามบ้าน มีคุณสมบัติเด่น ๆ ด้านระบบมัลติมีเดีย ดูหนังฟังเพลง สามารถต่อเข้าเป็นระบบ
เครือข่ายภายในบ้านได้ รวมทั้งมีระบบการขอความช่วยเหลือระยะไกลได้
Windows XP Professtional
เหมาะสาหรับผู้ใช้ตามสานักงานมีคุณสมบัติพื้นฐานเช่นเดียวกับ Home Edition แต่เพิ่มความสามารถในการ
รักษาความปลอดภัยมากขึ้น
Windows XP 64-Bit Edition
เหมาะสาหรับองค์กรที่ต้องการความสามารถของคอมพิวเตอร์ในระดับสูงเนื่องจากเวอร์ชั่นนี้ สนับสนุน
หน่วยความจาขนาดใหญ่, ออกแบบสาหรับหน่วยประมวลผลในตระกูลintel Itanium (ระดับสูง),
ความสามารถในการทางานข้ามระบบ และอื่นๆ อีกมาก
การเข้าสู่ระบบและการออกจากระบบปฏิบัติการMicrosoft Windows
XP
1. การเข้าสู่ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows XP
เมื่อเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่ติดตั้งระบบปฏิบัติการ Microsotf Windows XP ไว้แล้ว เครื่องจะเข้า
สู่ระบบ ปฏิบัติการ Microsoft Windows XP อัตโนมัติ
สาหรับ Windows XP นั้นก่อนจะเข้าไปใช้เครื่องจะต้องมีการ Log on จะมีหน้าจอให้คลิกเลือกผู้ใช้
โดยระบุชื่อบัญชีผู้ใช้ (User account) และรหัสผ่าน (Password) ถ้ามี เพื่อจากัดให้เฉพาะผู้ที่มีสิทธิเท่านั้นที่
จะเข้าใช้เครื่องได้ ซึ่งการ Log on ของ Windows XP นี้ผู้ใช้ไม่สามารถกดปุ่ม Cancel หรือ Esc เพื่อผ่านเข้า
ไปเหมือนกับใน Windows 95/98 หรือ ME นอกจากนี้เมื่อ Log on แล้ว จะมีการจัดสรรเนื้อที่สาหรับ
รูปหน้าจอ Log on (หรือเรียกว่า Welcome screen) ของ Windows XP
แต่ละ User แยกจากกันเป็นอิสระ เช่น ข้อมูลในโฟลเดอร์ My documents , เมนูปุ่ม Start และ
ข้อมูลต่างๆบนเดสก์ท็อปของแต่ละคนก็จะเป็นคนละชุดกัน
2. การออกจากระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows XP
เมื่อต้องการออกจากระบบปฏิบัติการMicrosoft Windows XP ควรปิดโปรแกรมที่ใช้งานทั้งหมดให้
เรียบร้อยก่อน จากนั้นคลิกที่ปุ่ม Start จะปรากฏเมนูให้เลือก 2 ส่วน ดังรูป
ส่วนที่ 1 Log Off คือ การออกจากระบบเพื่อเปลี่ยนผู้ใช้ โดยกลับไปรอเข้าระบบใหม่อีกครั้ง
คอมพิวเตอร์ที่ติดตั้ง Windows XP ถ้าคอมพิวเตอร์เครื่องนั้นมีผู้ใช้ (User) มากกว่าหนึ่งคน ถ้า
ต้องการเปลี่ยนผู้ใช้เครื่องต้องทาการLog off ซึ่งผู้ใช้ต้องทาการ Log on ด้วย Welcome Screen เข้ามา
ก่อน เมื่อคลิกปุ่ม Log off จะปรากฏกรอบข้อความให้เลือกทางาน
Switch User ตัวเลือกให้คลิกเพื่อเลือกรายชื่อผู้ใช้
Log off ปิดโปรแกรมและหยุดการทางานของ Windows XP
ส่วนที่ 2 Turn Off หรือ Shut Down คือ การปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ มีให้เลือก 3 แบบดังนี้
Hibernate คือ การปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยระบบจะเก็บสภาพแวดล้อมการทางานไว้ และเมื่อเปิด
เครื่องคอมพิวเตอร์ครั้งต่อไป ระบบจาทางานตามสภาพแวดล้อมเดิมก่อนปิดเครื่อง
Turn Off คือ การปิดโปรแกรมทั้งหมดและปิดเครื่องคอมพิวเตอร์
Restart คือ การปิดโปรแกรมทั้งหมดและเริ่มต้นกระบวนการทางานของเครื่องใหม่
คลิกปุ่มนี้หรือกดปุ่ม Esc เพื่อปิดกรอบข้อความหรือยกเลิก
เมื่อปรากฏคาว่า It’s now safe to turn off your computer. จึงกดปุ่ม Power ปิดเครื่อง
และปิดจอคอมพิวเตอร์ แต่เครื่องคอมพิวเตอร์รุ่นใหม่ ๆ จะทาการปิดตัวเองโดยไม่ต้องกดปุ่มPower
หมายเหตุ ในกรณีที่เปิดเครื่องใช้งาน แล้วเครื่องมีปัญหา เช่นHang ให้แก้ปัญหาโดยกดปุ่ม Ctrl+Alt+Del
หรือถ้าต้องการให้ shutdown หรือ restart เครื่องใหม่ ก็สามารถกดกดปุ่มCtrl+Alt+Del ได้เช่นกัน
ส่วนประกอบของระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows XP
1 เดสก์ทอป(Desktop) คือ บริเวณพื้นที่หรือฉากของระบบปฏิบัติการWindows เปรียบเสมือนส่วนบนของ
โต๊ะทางาน ซึ่งบริเวณนี้เป็นส่วนแสดง Icon หรือ Windows ที่เปิดทางาน และเป็นส่วนที่ติดต่อกับผู้ใช้โดยตรง
ซึ่งแสดงผลให้สามารถรับรู้ได้ และผู้ใช้สามารถโต้ตอบการทางานได้
2. แถบงาน (Taskbar)
เป็น แถบแสดง Start Menu และหากมีโปรแกรมเปิดใช้งานอยู่จะแสดงแถบชื่อโปรแกรมให้เห็นที่
Taskbar หากต้องการใช้งานโปรแกรมใดให้คลิกที่แถบชื่อโปรแกรมนั้นและถ้ามีการปิดโปรแกรมที่ใช้งานอยู่
แถบของโปรแกรมนั้นก็จะหายไปจากTaskbar
3. เมนู Start(Start Menu) เป็นปุ่มสาหรับเรียกเมนูหลักของระบบปฏิบัติการWindows XP ซึ่งจะ
ประกอบด้วยเมนู (Menu) สาหรับเปิดเมนูย่อยหรือเรียกใช้โปรแกรมของระบบWindows XP เมนูย่อย
(Submenu) สาหรับเปิดเมนูย่อยหรือเรียกใช้โปรแกรมต่างๆที่ติดตั้งไว้
4 System Tray เป็นส่วนแสดงเวลาและไอคอนของโปรแกรมบางตัวที่กาลังทางานอยู่
5. โปรแกรมไอคอน บนภาพพื้นหลังอาจปรากฏไอคอนโปรแกรมต่างๆซึ่งเจ้าของเครื่องแต่ละเครื่องสร้าง
ขึ้นมา หรือกาหนดให้ปรากฏไอคอนบนหน้าจอ จะมีไอคอนมาตรฐานดังนี้
1. My Document เป็นไอคอนที่เก็บไฟล์เอกสารที่สร้างขึ้นมาด้วยโปรแกรมต่างๆ
2. My Computer เป็นที่เก็บรายละเอียดทั้งหมดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
3. My Network Place จัดการเกี่ยวกับเครือข่าย Network ในกรณีที่เครื่องคอมพิวเตอร์ได้ เชื่อมต่อเป็น
Network
4. Recycle Bin เป็นถังขยะเก็บไฟล์ที่ถูกลบ
5. Internet Explorer เป็นโปรแกรมบราวเซอร์ แถมฟรีมากับWindows XP ไว้ดูข้อมูลในอินเทอร์เน็ต
6. หน้าต่าง (Windows)
1. Title bar แสดงชื่อของโปรแกรมที่ใช้งานอยู่
2. Menu Bar แสดงเมนูของโปรแกรมใช้ในการเลือกคาสั่ง
3. Toolbar เป็นรูปภาพเล็ก ๆ แทนคาสั่งใช้งานต่างๆ
4. Address bar แสดงตาแหน่ง ณ ขณะนั้น
5. Minimize ปุ่มลดขนาดหน้าต่างหรือปิดหน้าต่าง
6. Maximize ขยายหน้าต่างให้เต็มจอ
7. Close ใช้ในการปิดโปรแกรม
8. Icon คือ รูปสัญลักษณ์ที่ใช้ในการเรียกโปรแกรม
9. Scroll Bar ใช้ในการเลื่อนหน้าจอไปซ้าย ขวา ขึ้นลงตามทิศทางลูกศร
10. Status Bar แสดงสถานะการทางาน

More Related Content

ทำความรู้จัก ระบบปฏิบัติการ

  • 1. ใบความรู้เรื่อง ระบบปฏิบัติการวินโดว์ ทาความรู้จัก ระบบปฏิบัติการ (operating system) ระบบปฏิบัติการ (operating system) หรือ โอเอส (OS) คือ ซอฟต์แวร์ที่ทาหน้าที่ควบคุมการทางาน ของระบบคอมพิวเตอร์ ให้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงต่าง ๆ ทางานร่วมกันอย่างมี ประสิทธิภาพ ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือ ระบบปฏิบัติการ (OS- Operating System) เช่น MS-DOS, UNIX, OS/2, Windows, Linux, Ubuntu เป็นต้น หน้าที่ของ OS ตัว OS ถูก สร้างขึ้นเพื่อจุดประสงค์หลัก คือ อานวยความสะดวกให้แก่ผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ใน ลักษณะที่ผู้ใช้ ไม่ต้องทราบกลไกการทา หรือฮาร์ดแวร์ของระบบ เราจึงแบ่งหน้าที่ของOS ได้ดังนี้ 1.ติดต่อกับผู้ใช้ (User Interface) ผู้ใช้สามารถติดต่อหรือควบคุมการทางานของเครื่องผ่านทางOS ได้ OS จะส่งเครื่องหมายพร้อมต์ (Prompt) ออกสู่จอรับคาสั่งจากผู้ใช้ โดยตรง ตัวOS จึงเป็นตัวกลางในการทาหน้าที่เชื่อมโยงระหว่างผู้ใช้กับ Hardware กับเครื่อง นอกจากนี้ผู้ใช้อาจเขียนโปรแกรมเพื่องาน ซึ่งกรณีนี้ไม่สามารถกับOS ได้โดยผ่านทาง System Call จึงเป็นการเรียกใช้รูทีน (โปรแกรมย่อย) ต่าง ๆ ของโปรแกรมของผู้ใช้ ทางานสาเร็จลุล่วงไปได้ 2.ควบคุมดูแลอุปกรณ์และการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ เนื่องจากผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ผ่านทาง OS อาจไม่จาเป็นต้องมีความรู้ความเข้าใจถึงหลักการทางาน ภายในของเครื่อง ดังนั้นตัว OS จึงต้องมีหน้าที่ควบคุมการทางานของอุปกรณ์ต่าง ๆ เพื่อให้การทางานของ ระบบเป็นไปได้อย่างถูกต้อง และสอดคล้องกันOS จึง มีส่วนประกอบเป็นรูทีนต่าง ๆ ที่ควบคุมอุปกรณ์แต่ละ ชนิด อุปกรณ์แต่ละชนิดก็ต้องมีการควบคุมที่แตกต่างกัน ตัวอย่างเช่น รูทีนควบคุม Disk Drives รูที่นควบคุม จอภาพ เป็นต้น 3.การจัดสรรทรัพยากรต่าง ๆ ในระบบ ทรัพยากร (Resource) คือสิ่งที่ถูกใช้ไปเพื่อให้โปรแกรมดาเนินต่อไปได้ เช่นCPU Memory Disk เป็น ต้น เหตุที่ต้องมีการจัดสรรทรัพยากรเพราะทรัพยากรของระบบมีจากัด ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดคือCPU ในระบบ ที่มี CPU ตัวเดียวแต่ทางานหลายโปรแกรม เราต้องแบ่งสรรการใช้CPU ให้ กับโปรแกรมอย่างเหมาะสมมี ทรัยากรอยู่หลายประเภท แต่ละโปรเซส หรือโปรแกรมมีความต้องการใช้ทรัพยากร อย่างเดียวหรือหลายอย่าง พร้อมกัน OS ต้องจัดเตรียมทรัพยากรต่าง ๆ ตามความต้องการของแต่ละโปรเซส หรือ โปรแกรมเหล่านั้น ดังนั้นหน้าที่อันสาคัญอีกประการหนึ่งของOS ก็คือ จัดสรรการใช้ทรัพยากรของระบบเพื่อให้เกิด
  • 2. ประโยชน์สูงสุด ถ้า OS จัดสรรทรัพยากรได้อย่างมีประสิทธิภาพระบบก็สามารถรันโปรแกรม ได้รวดเร็ว และ ได้งานเพิ่มขึ้น ทรัพยากรหลักที่ OS จัดสรรได้แก่ โปรเซสเซอร์( ซีพียู ) หน่วยความจา อุปกรณ์ อินพุต เอาท์พุต ข้อมูล ( data ) ทาความรู้จัก Windows XP บริษัท Microsoft ก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1975 โดย บิลล์ เกตส์ กับ พอล อัลเลนได้ร่วมกับก่อตั้ง ไมโครซอฟท์ สานักงานใหญ่อยู่ที่เมือง Redmond,Washington,USA ซึ่งต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น ไมโครซอฟท์ คอร์ปอเรชั่น และได้นาเอาภาษาเบสิกที่พัฒนาขึ้นเองออกวางตลาด และให้ชื่อว่าไมโครซอฟท์เบสิก ภาษาคอมพิวเตอร์นี้ได้กลายมาเป็นรากฐานให้แก่ธุรกิจลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์ซึ่งถูกผนวก (ROM) เข้ากับเครื่อ คอมพิวเตอร์ในบ้าน และเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลส่วนใหญ่ในช่วงคริสต์ทศวรรษที่70 และ 80 ต่อมาในปี ค.ศ. 1985 ถือเป็นช่วงที่สาคัญที่สุดของบริษัท Microsoft เพราะทางบริษัท IBM ได้ วางแผนจะรุกตลาดคอมพิวเตอร์ด้วยการนาเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล(PC) IBM ออกวางตลาด IBM ได้เข้า มาเจรจากับ Microsoft เพื่อขอซื้อระบบปฏิบัตการคอมพิวเตอร์ซึ่งในตอนแรกทางบริษัทMicrosoft ยังไม่มี ระบบปฏิบัติการจะขายให้จึงแนะนาให้IBM ไปคุยกับดิจิทัลรีเสิร์ชแทน ที่ดิจิทัลรีเสิร์ช ผู้แทนของ IBM ได้คุย กับโดโรธี ภรรยาของ แกรี คิลดาลล์ แต่เธอปฏิเสธการลงนามในข้อตกลงมาตรฐานซึ่งไม่ปิดผนึกเนื่องจากเห็น ว่าเสียเปรียบเกินไป IBM จึงหันมาคุยกับ Microsoft อีกครั้ง บิล เกตส์ได้สิทธิ์ในการใช้สาเนาการออกแบบของ CP/M และ QDOS จาก ทิม แพทเทอร์สัน แห่งบริษัท ซีแอตเทิล คอมพิวเตอร์ โปรดักส์ด้วยการซื้อมาใน ราคา 50,000 ดอลลาร์สหรัฐ และขายมันให้กับ IBM ในราคา "ราว 80,000 ดอลลาร์สหรัฐ" ตามคากล่าวอ้าง ของเกตส์ และในที่สุด MS-DOS และ PC-DOS ก็ได้แจ้งเกิดในวงการ ต่อมาในช่วงปี1989ทางบริษัท Microsoft ได้พัฒนา software ต่างๆของมาเช่น office suite,Microsoft office เป็นโปรแกรมที่ใช้ตามสานักงานต่างๆเช่น Microsoft Word,Microsoft Excel และในวันที่ 22 พฤษภาคม 1990 ทางบริษัทได้ทาการเปิดตัว Window 3.0 ซึ่งเป็นระบบปฏิบัตการ version แรกที่ได้นาgraphicsมาช่วยในการใช้งานเพื่อความคล่องตัวและปรับปรุงความ สามารถเพื่อให้ใช้ Intel 386 processor ได้ ในปีค.ศ. 1995 ได้ทาการปล่อย Windows 95 ออกสู่ตลาด ในปีค.ศ. 1998 ทางบริษัทได้พัฒนา Window 98 ออกมาใหม่ ในปีค.ศ. 2001 ได้ผลิด Window XP และสุดท้ายในปี ค.ศ. 2006 ได้พัฒนาและผลิด Window vista ออกมา
  • 3. สาหรับ Windows XP นี้ก็ได้ถือกาหนดใหม่ขึ้นมา โดยนาความสามารถของ Windows รุ่นก่อน ๆ เช่น 98, Me และ 2000 เข้าด้วยกัน โดยมีรหัสในการเริ่มการพัฒนาว่า "Whistler" จุดเด่นหลักของของ Windows XP นี้ นอกเหนือจากรูปลักษณ์หน้าตาที่สวยงามแล้ว ยังมีคุณสมบัติเด่นๆ อีก เช่น การใช้งาน ร่วมกันหลาย ๆ คนในเครื่องเดียวกัน โดยสามารถกาหนดรหัสผ่านและกาหนดสภาพแวดล้อมที่ต่างกันได้ ข้อดีของระบบปฏิบัติการ Windows XP คือ สามารถมองเห็นอุปกรณ์ต่าง ๆ ในเครื่องคอมพิวเตอร์ รุ่นเก่า ได้ค่อนข้างมากขึ้น โดยที่อาจจะไม่ต้องไปหา Driver มาลงเพิ่มเติมเลย แต่ถ้าหากเป็นอุปกรณ์ใหม่ ๆ ก็ ต้องลง Driver นอกจากนี้ หน้าตา รูปแบบการแสดงผลที่สวยงามนับได้ว่าเป็นจุดขายที่ดีของ Windows ตัวนี้ เลยก็ว่าได้ นอกจากนี้ ด้วยความที่เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนาต่อมาจาก Windows NT จึงทาให้มีความ เสถียรค่อนข้างสูง ถ้าหากไม่มีปัญหากับ hardware หรืออุปกรณ์ของเครื่องคอมพิวเตอร์แล้วนับได้ว่า จะมีความเสถียร มากกว่า Windows 98และ Windows Me ค่อนข้างมาก เวอร์ชั่นของ Windows XP แบ่งได้ 3 ประเภท Windows XP Home Edition เหมาะสาหรับผู้ใช้ตามบ้าน มีคุณสมบัติเด่น ๆ ด้านระบบมัลติมีเดีย ดูหนังฟังเพลง สามารถต่อเข้าเป็นระบบ เครือข่ายภายในบ้านได้ รวมทั้งมีระบบการขอความช่วยเหลือระยะไกลได้ Windows XP Professtional เหมาะสาหรับผู้ใช้ตามสานักงานมีคุณสมบัติพื้นฐานเช่นเดียวกับ Home Edition แต่เพิ่มความสามารถในการ รักษาความปลอดภัยมากขึ้น Windows XP 64-Bit Edition เหมาะสาหรับองค์กรที่ต้องการความสามารถของคอมพิวเตอร์ในระดับสูงเนื่องจากเวอร์ชั่นนี้ สนับสนุน หน่วยความจาขนาดใหญ่, ออกแบบสาหรับหน่วยประมวลผลในตระกูลintel Itanium (ระดับสูง), ความสามารถในการทางานข้ามระบบ และอื่นๆ อีกมาก การเข้าสู่ระบบและการออกจากระบบปฏิบัติการMicrosoft Windows XP 1. การเข้าสู่ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows XP เมื่อเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่ติดตั้งระบบปฏิบัติการ Microsotf Windows XP ไว้แล้ว เครื่องจะเข้า สู่ระบบ ปฏิบัติการ Microsoft Windows XP อัตโนมัติ สาหรับ Windows XP นั้นก่อนจะเข้าไปใช้เครื่องจะต้องมีการ Log on จะมีหน้าจอให้คลิกเลือกผู้ใช้ โดยระบุชื่อบัญชีผู้ใช้ (User account) และรหัสผ่าน (Password) ถ้ามี เพื่อจากัดให้เฉพาะผู้ที่มีสิทธิเท่านั้นที่ จะเข้าใช้เครื่องได้ ซึ่งการ Log on ของ Windows XP นี้ผู้ใช้ไม่สามารถกดปุ่ม Cancel หรือ Esc เพื่อผ่านเข้า
  • 4. ไปเหมือนกับใน Windows 95/98 หรือ ME นอกจากนี้เมื่อ Log on แล้ว จะมีการจัดสรรเนื้อที่สาหรับ รูปหน้าจอ Log on (หรือเรียกว่า Welcome screen) ของ Windows XP แต่ละ User แยกจากกันเป็นอิสระ เช่น ข้อมูลในโฟลเดอร์ My documents , เมนูปุ่ม Start และ ข้อมูลต่างๆบนเดสก์ท็อปของแต่ละคนก็จะเป็นคนละชุดกัน 2. การออกจากระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows XP เมื่อต้องการออกจากระบบปฏิบัติการMicrosoft Windows XP ควรปิดโปรแกรมที่ใช้งานทั้งหมดให้ เรียบร้อยก่อน จากนั้นคลิกที่ปุ่ม Start จะปรากฏเมนูให้เลือก 2 ส่วน ดังรูป ส่วนที่ 1 Log Off คือ การออกจากระบบเพื่อเปลี่ยนผู้ใช้ โดยกลับไปรอเข้าระบบใหม่อีกครั้ง คอมพิวเตอร์ที่ติดตั้ง Windows XP ถ้าคอมพิวเตอร์เครื่องนั้นมีผู้ใช้ (User) มากกว่าหนึ่งคน ถ้า ต้องการเปลี่ยนผู้ใช้เครื่องต้องทาการLog off ซึ่งผู้ใช้ต้องทาการ Log on ด้วย Welcome Screen เข้ามา ก่อน เมื่อคลิกปุ่ม Log off จะปรากฏกรอบข้อความให้เลือกทางาน Switch User ตัวเลือกให้คลิกเพื่อเลือกรายชื่อผู้ใช้ Log off ปิดโปรแกรมและหยุดการทางานของ Windows XP ส่วนที่ 2 Turn Off หรือ Shut Down คือ การปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ มีให้เลือก 3 แบบดังนี้
  • 5. Hibernate คือ การปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยระบบจะเก็บสภาพแวดล้อมการทางานไว้ และเมื่อเปิด เครื่องคอมพิวเตอร์ครั้งต่อไป ระบบจาทางานตามสภาพแวดล้อมเดิมก่อนปิดเครื่อง Turn Off คือ การปิดโปรแกรมทั้งหมดและปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ Restart คือ การปิดโปรแกรมทั้งหมดและเริ่มต้นกระบวนการทางานของเครื่องใหม่ คลิกปุ่มนี้หรือกดปุ่ม Esc เพื่อปิดกรอบข้อความหรือยกเลิก เมื่อปรากฏคาว่า It’s now safe to turn off your computer. จึงกดปุ่ม Power ปิดเครื่อง และปิดจอคอมพิวเตอร์ แต่เครื่องคอมพิวเตอร์รุ่นใหม่ ๆ จะทาการปิดตัวเองโดยไม่ต้องกดปุ่มPower หมายเหตุ ในกรณีที่เปิดเครื่องใช้งาน แล้วเครื่องมีปัญหา เช่นHang ให้แก้ปัญหาโดยกดปุ่ม Ctrl+Alt+Del หรือถ้าต้องการให้ shutdown หรือ restart เครื่องใหม่ ก็สามารถกดกดปุ่มCtrl+Alt+Del ได้เช่นกัน ส่วนประกอบของระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows XP 1 เดสก์ทอป(Desktop) คือ บริเวณพื้นที่หรือฉากของระบบปฏิบัติการWindows เปรียบเสมือนส่วนบนของ โต๊ะทางาน ซึ่งบริเวณนี้เป็นส่วนแสดง Icon หรือ Windows ที่เปิดทางาน และเป็นส่วนที่ติดต่อกับผู้ใช้โดยตรง ซึ่งแสดงผลให้สามารถรับรู้ได้ และผู้ใช้สามารถโต้ตอบการทางานได้ 2. แถบงาน (Taskbar) เป็น แถบแสดง Start Menu และหากมีโปรแกรมเปิดใช้งานอยู่จะแสดงแถบชื่อโปรแกรมให้เห็นที่ Taskbar หากต้องการใช้งานโปรแกรมใดให้คลิกที่แถบชื่อโปรแกรมนั้นและถ้ามีการปิดโปรแกรมที่ใช้งานอยู่ แถบของโปรแกรมนั้นก็จะหายไปจากTaskbar
  • 6. 3. เมนู Start(Start Menu) เป็นปุ่มสาหรับเรียกเมนูหลักของระบบปฏิบัติการWindows XP ซึ่งจะ ประกอบด้วยเมนู (Menu) สาหรับเปิดเมนูย่อยหรือเรียกใช้โปรแกรมของระบบWindows XP เมนูย่อย (Submenu) สาหรับเปิดเมนูย่อยหรือเรียกใช้โปรแกรมต่างๆที่ติดตั้งไว้ 4 System Tray เป็นส่วนแสดงเวลาและไอคอนของโปรแกรมบางตัวที่กาลังทางานอยู่ 5. โปรแกรมไอคอน บนภาพพื้นหลังอาจปรากฏไอคอนโปรแกรมต่างๆซึ่งเจ้าของเครื่องแต่ละเครื่องสร้าง ขึ้นมา หรือกาหนดให้ปรากฏไอคอนบนหน้าจอ จะมีไอคอนมาตรฐานดังนี้ 1. My Document เป็นไอคอนที่เก็บไฟล์เอกสารที่สร้างขึ้นมาด้วยโปรแกรมต่างๆ 2. My Computer เป็นที่เก็บรายละเอียดทั้งหมดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 3. My Network Place จัดการเกี่ยวกับเครือข่าย Network ในกรณีที่เครื่องคอมพิวเตอร์ได้ เชื่อมต่อเป็น Network 4. Recycle Bin เป็นถังขยะเก็บไฟล์ที่ถูกลบ 5. Internet Explorer เป็นโปรแกรมบราวเซอร์ แถมฟรีมากับWindows XP ไว้ดูข้อมูลในอินเทอร์เน็ต 6. หน้าต่าง (Windows) 1. Title bar แสดงชื่อของโปรแกรมที่ใช้งานอยู่ 2. Menu Bar แสดงเมนูของโปรแกรมใช้ในการเลือกคาสั่ง 3. Toolbar เป็นรูปภาพเล็ก ๆ แทนคาสั่งใช้งานต่างๆ 4. Address bar แสดงตาแหน่ง ณ ขณะนั้น 5. Minimize ปุ่มลดขนาดหน้าต่างหรือปิดหน้าต่าง 6. Maximize ขยายหน้าต่างให้เต็มจอ 7. Close ใช้ในการปิดโปรแกรม 8. Icon คือ รูปสัญลักษณ์ที่ใช้ในการเรียกโปรแกรม 9. Scroll Bar ใช้ในการเลื่อนหน้าจอไปซ้าย ขวา ขึ้นลงตามทิศทางลูกศร 10. Status Bar แสดงสถานะการทางาน