ประชากร4. • สังคม (Community) หมายถึงประชากร (Population) ของ
สิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์ที่พบในเนื้อที่แห่งใดแห่งหนึ่ง เช่น สังคม
ของป่ าผลัดใบ หรือสังคมทุ่งนา เป็นต้น
• ประชากร (Population) หมายถึง กลุ่มของสมาชิกของสิ่งมีชีวิตในส
ปีชีส์เดียวกัน ที่พบในเนื้อที่แห่งใดแห่งหนึ่ง เช่น
ประชากรของแมลงหวี่ในขวดเพาะเลี้ยง หรือประชากรของกวางป่ า
ในเขาใหญ่
• ที่อยู่อาศัย (Habitat) คือสถานที่เฉพาะในธรรมชาติที่จะพบพืชหรือ
สัตว์แต่ละชนิด
• Niche หน้าที่ที่สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดครอบครองในสังคม เช่นทา
หน้าที่เป็นผู้ผลิต หรือผู้บริโภค
15. นับทั้งหมด (total count)
สุ่มตัวอย่าง (sampling method)
-การใช้ควอแดรท(quadrat) : ศึกษา
สิ่งมีชีวิตที่เคลื่อนที่ช้าหรืออยู่กับที่
วิธีหาความหนาแน่นของประชากรที่แท้จริง
17. 1 2 3 4 5
6 7 8
9 10
แสดงตาแหน่งแปลงสุ่มตัวอย่างพืชทั้ง 10 แปลง ในป่าจาปีสิรินธร
21. Average DBH (in): Diameter at breast height (dbh)
เส้นรอบวงระดับอก (Girth at Breast Height = GBH)
28. ลำดับ
ที่ ชนิดพันธุ์ไม้
ควำมถี่
(%)
จำนวนต้น
(10 ไร่)
พื้นที่หน้ำตัด
ลำต้น (ตร.
ซม./10 ไร่)
จำนวนต้น
(1 เฮกแตร์)
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
เต็ง
มะค่ำ
ประดู่
ยอป่ำ
ปรู๋
รัง
มะเคร็ด
สะแรงใจ
เหียง
มะเม่ำ
100
60
40
50
10
100
30
20
100
10
403
58
8
21
1
250
3
3
1260
1
18,333.72
4,535.72
667.51
2,587.71
179.64
5,745.63
61.00
84.95
145,801.53
5.10
251.88
36.25
5
13.13
0.63
156.25
1.88
1.88
787.50
0.63
ความถี่ จานวนต้น พื้นที่หน้าตัดรวมของลาต้นของพันธุ์ไม้ชนิดต่างๆ ในป่ าเต็งรัง บริเวณ
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วิทยาเขตศรีบัวบาน จังหวัดลาพูน
29. ลำดั
บที่ ชนิดพันธุ์
ไม้
จำนวนต้นของพันธุ์ไม้แยกตำม
ขนำดเส้นรอบวงของลำต้นที่ระดับอก (ซม.)
15 ซม. 15-30 ซม. 30-50 ซม. 50-100 ซม. 100 ซม. รวม
1
2
3
4
5
6
7
8
9
เต็ง
มะค่ำ
ประดู่
ยอป่ำ
ปรู๋
รัง
มะเคร็ด
สะแรงใจ
เหียง
213
25
2
4
0
182
2
2
163
100
9
1
2
0
50
1
1
251
103
18
1
8
1
18
0
0
700
4
6
3
7
0
0
0
0
147
0
0
0
0
0
0
0
0
0
จานวนต้นของพันธุ์ไม้ที่มีขนาดเส้นรอบวงที่ระดับอก (Girth at breast height,
GBH) ต่างๆกัน (พื้นที่ 10 ไร่) ในป่าเต็งรังบริเวณ จังหวัดลาพูน
34. Measured 05/08/2002. Plot was located in the Ruku Ruku
Valley, low altitude compared to other areas in the reserve
Forest profile diagram of the ultramafic forest in Tawai FR
39. วิธีของ Lincoln-Peterson : โดยจับสัตว์มาทาเครื่องหมาย
แล้วปล่อยไป แล้วทาการจับซ้าครั้งเดียว
T = mn
x
T = จานวนประชากร
M = จานวนประชากรที่ถูกจับได้ครั้งแรกทาเครื่องหมายแล้วปล่อย
N = จานวนประชากรที่ถูกจับได้ครั้งที่ สอง ทั้งหมด
X = จานวนประชากรที่ถูกจับซ้าในครั้งที่สอง
41. - แบบสุ่ม (random)หรือแบบอิสระ: ความอุดม
สมบูรณ์สม่าเสมอ
- แบบสม่าเสมอ (uniform/regular ): พบน้อยใน
ธรรมชาติ
- แบบกลุ่ม (clump/contagious): พบมากเนื่องจากแต่
ละบริเวณจะมีความอุดมสมบูรณ์ต่างกัน
การแพร่กระจายของประชากร
(population distribution)
45. ประชากรของประเทศไทย พ.ศ. 2556
ประชากรคาดประมาณ ณ กลางปี 2556 (1 กรกฎาคม)
อัตราเกิด (ต่อประชากรพันคน)
อัตราตาย (ต่อประชากรพันคน)
อัตราเพิ่มตามธรรมชาติ (ร้อยละ)
อัตราตายทารก (ต่อการเกิดมีชีพพันราย)
อัตราตายเด็ก (ต่อการเกิดมีชีพพันราย)
11.6
7.7
0.4
11.2
18.4
http://www.ipsr.mahidol.ac.th/ipsr-th/population_thai.html
47. - อัตราการเกิดตามธรรมชาติ (crude natality rate)
= จานวนประชากรที่เกิดทั้งหมดใน 1 ปี x 1,000
จานวนประชากรที่สารวจได้ทั้งหมดตอนกลางปี
รูปแบบอัตราการเกิด (ต่อประชากรพันคน)
48. - การเกิดสมบูรณ์ (maximum natality):
ไม่มีปัจจัยใดมาเป็นตัวขัดขวาง ยกเว้นสภาพทาง
สรีระวิทยา อัตราการเกิดมีค่าคงที่
- การเกิดจริง (ecological natality): มีปัจจัยต่าง ๆ ใน
ธรรมชาติมาเกี่ยวข้อง
ลักษณะการเกิด
50. การตายสมบรณ์ (minimum mortality): การหมด
อายุขัย (longevity) อัตราการตายมีค่าคงที่
การตายจริง (ecological mortality): เป็นการตายโดยมี
ปัจจัยต่าง ๆ ในธรรมชาติเกี่ยวข้อง
การตาย (mortality)
51. อัตราการตายตามธรรมชาติ (crude death rate)
: การลดจานวนสมาชิกในภาวะปกติในช่วงเวลาหนึ่ง
= จานวนประชากรที่ตายทั้งหมดใน 1ปี x 1,000
จานวนประชากรที่สารวจทั้งหมดตอนกลางปี (1 ก.ค.)
52. - อายุขัยทางสรีรวิทยา (physiological longevity)
: ความมีอายุยืนยาวในสภาพอาศัยที่เหมาะสมที่สุด
- อายุขัยทางนิเวศวิทยา (ecological longevity)
: ความมีอายุยืนยาวในสภาพจริงตามธรรมชาติ
อายุขัยของสิ่งมีชีวิต
55. - ปิรามิดแบบฐานกว้าง (broad base)
- ปิรามิดรูประฆัง (bell shaped)
- ปิรามิดรูปแจกัน (urn shaped)
การกระจายอายุประชากร (age distribution)
ชี้ให้เห็นถึงความสามารถในการสืบพันธุ์
แสดงแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงประชากรในชั่วรุ่น
นิยมเขียนในรูปปิ รามิดอายุ (age pyramid)
60. - S - shaped
- J - shaped
รูปแบบการเจริญเติบโต (growth pattern)
64. 1 Tokyo, Japan 27,956,000 2 Mexico City, Mexico 27,872,000 3 São Paulo, Brazil 22,558,000 4
Bombay, India 18,142,000 5 Shanghai, China 17,407,000 6 New York City, U.S.A. 16,645,000 7
Beijing, China 14,366,000 8 Lagos, Nigeria 13,480,000 9 Jakarta, Indonesia 13,380,000 10 Los
Angeles, U.S.A. 13,151,000 11 Seoul, Korea 12,949,000 12 Buenos Aires, Argentina 12,822,000
13 Calcutta, India 12,675,000 14 Manila, Philippines 12,582,000 15 Tianjin, China 12,508,000
www.mapsofworld.com
65. Where People Live on Planet Earth
Each day a different image or photograph of our fascinating universe is featured, along
with a brief explanation written by a professional astronomer. 2003 March 5
antwrp.gsfc.nasa.gov
68. - ได้ประโยชน์ (+)
- เสียประโยชน์ (-)
- ไม่ได้ไม่เสียประโยชน์ (0)
การอยู่ร่วมกันระหว่างสิ่งมีชีวิตต่างชนิดกัน
73. - การเกิดขี้ปลาวาฬ (red tide)
- สารระเหยจากต้นสนยับยั้งพืชล้มลุก
- การยับยั้งแบคทีเรียโดยราบางชนิด
Amensalism (- , 0)
- กาฝากบนต้นมะม่วง
- พยาธิใบไม้ในตับคน
Parasitism (- , +)