ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
1
พฤติกรรมการเดินทางเชิงพื้นที่
และเวลาของนิสิตมหาวิทยาลัยนเรศวร
นายกฤตเมธ เพ็งกระจ่าง
นายชิงชัย หุมห้อง
นายโชติวัฒน์ น่วงบาง
ภาควิชาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร พิษณุโลก
การประชุมเชิงวิชาการนักศึกษาภูมิศาสตร์และภูมิสารสนเทศแห่งประเทศไทย
EXPLORING TRAVEL ACTIVITIES OVER SPACE AND
TIME IN NARESUAN UNIVERSITY
2
ความสาคัญและที่มาของปัญหา
• ปัญหาทางด้านการจราจร ในบางจุดของเส้นทาง
• ปัญหาทางึϹานความหนาแȨȨองการเึϸȨางในแต่ละช่วงเวลา
3
แนวคิดและทฤษฎี
+
4
เทคนิคและรูปแบบการนาเสนอ
• Space – Time Paths
• Space – Time Bundling
• Space – Time Density Surface
5
Space – Time Paths
6
Space – Time Bundling
Time
Geographical Space
7
Space – Time Density Surface
8
วัตถุประสงค์ของการศึกษา
• เพื่อศึกษาพฤติกรรมการเดินทางเชิงพื้นที่และเวลาของนิสิต
มหาวิทยาลัยนเรศวร
• เพื่ออธิบายสถานการณ์การทากิจกรรมของนิสิตด้วยมิติของ
เวลาที่สัมพันธ์กับพื้นที่
• เพื่อวิเคราะห์เปรียบเทียบลักษณะการเดินทาง การใช้ชีวิตกับ
ตัวแปรต่างๆ
9
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
• สามารถอธิบายสถานการณ์การทากิจกรรมของนิสิตด้วยมิติของ
เวลาที่สัมพันธ์กับพื้นที่
• ใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนการจัดการด้านการจราจร และการ
จัดตารางเวลาเรียน
• ใช้โปรแกรมประยุกต์สารสนเทศภูมิศาสตร์ใช้ในการวิเคราะห์และ
อธิบายถึงรูปแบบการเดินของแต่ละคน
10
ขั้นตอนการศึกษา
ศึกษาค้นคว้างานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
การเก็บรวบรวมข้อมูล
การนาเข้าข้อมูลในรูปแบบ GIS
การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรม GIS
จัดทาแบบจาลอง 3 มิติ
สรุปผลการศึกษา
11
ขอบเขตของการศึกษา
ในการศึกษาครั้งนี้ คณะผู้วิจัยได้กาหนดขอบเขตการศึกษาไว้ ดังนี้
• พื้นที่ที่ใช้ในการศึกษา คือ มหาวิทยาลัยนเรศวร และบริเวณของเขต
ตาบลท่าโพธิ์
• ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ นิสิตที่กาลังศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรี
ชั้นปีที่ 1 – ชั้นปีที่ 4
• ขอบเขตเวลา คือ เริ่มตั้งแต่ 08 : 00 – 24 : 00 น. ( กันยายน – ตุลาคม
พ.ศ. 2552)
12
เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา
• ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับผู้ให้สัมภาษณ์
- เพศ คณะ สาขาวิชา ระดับชั้นปี ชื่อหอพัก เป็นต้น
• ข้อมูลพฤติกรรมการเดินทางในแต่ละช่วงเวลา
1. แบบสัมภาษณ์ที่ผู้วิจัยได้สร้างขึ้น ประกอบด้วย 2 ส่วน ดังนี้
13
เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา
• Hardware
- Computer
- นาฬิกา
- กล้องถ่ายรูป
- สมุดบันทึกและปากกา
• Software
- โปรแกรมทางด้าน GIS
- โปรแกรมทางด้านการคานวณ
ทางสถิติ
2. เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล
14
พื้นที่ศึกษา
มหาวิทยาลัยนเรศวร ต.ท่าโพธิ์ อ.เมือง จ.พิษณุโลก
ภาพจาก : PointAsia
15
การวิเคราะห์ข้อมูล
รูปแบบการเดินทางของกลุ่มตัวอย่าง 52 ตัวอย่าง
08 : 00
10 : 00
12 : 00
14 : 00
16 : 00
18 : 00
20 : 00
22 : 00
24 : 00
Time
16
การวิเคราะห์ข้อมูล
08 : 00
10 : 00
12 : 00
14 : 00
16 : 00
18 : 00
20 : 00
22 : 00
24 : 00
Time
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้จักรยานยนต์ ในการเดินทาง
17
การวิเคราะห์ข้อมูล
08 : 00
10 : 00
12 : 00
14 : 00
16 : 00
18 : 00
20 : 00
22 : 00
24 : 00
Time
รูปแบบการเดินทางของกลุ่มตัวอย่าง ที่ใช้รถจักรยาน
18
การวิเคราะห์ข้อมูล
08 : 00
10 : 00
12 : 00
14 : 00
16 : 00
18 : 00
20 : 00
22 : 00
24 : 00
Time
รูปแบบการเดินทางของกลุ่มตัวอย่าง ที่ไม่มียานพาหนะ
19
การวิเคราะห์ข้อมูล
08 : 00
10 : 00
12 : 00
14 : 00
16 : 00
18 : 00
20 : 00
22 : 00
24 : 00
Time
รูปแบบการเดินทางจากกลุ่มตัวอย่าง นิสิตชั้นปีที่ 1
เดินทางเข้ามาเรียนในอาคารเรียนรวม ในช่วงเวลา 09:00 – 15:00 น.
20
การวิเคราะห์ข้อมูล
08 : 00
10 : 00
12 : 00
14 : 00
16 : 00
18 : 00
20 : 00
22 : 00
24 : 00
Time
รูปแบบการเดินทางจากกลุ่มตัวอย่าง นิสิตชั้นปีที่ 2
เดินทางเข้ามาเรียนในอาคารเรียนรวม ในช่วงเวลา 09:00 – 17:00 น.
และเดินทางเข้ามาเรียนที่คณะวิทยาศาสตร์ ในช่วงเวลา 08:00 – 16:00 น.
21
การวิเคราะห์ข้อมูล
รูปแบบการเดินทางจากกลุ่มตัวอย่าง นิสิตชั้นปีที่ 3
08 : 00
10 : 00
12 : 00
14 : 00
16 : 00
18 : 00
20 : 00
22 : 00
24 : 00
Time
22
การวิเคราะห์ข้อมูล
รูปแบบการเดินทางจากกลุ่มตัวอย่าง นิสิตชั้นปีที่ 4
08 : 00
10 : 00
12 : 00
14 : 00
16 : 00
18 : 00
20 : 00
22 : 00
24 : 00
Time
23
การวิเคราะห์ข้อมูล
แสดงความหนาแน่นของการเดินทางในแต่ละช่วงเวลา
น้อย
ปานกลาง
มาก
ความหนาแน่น
24
น้อย
ปานกลาง
มาก
ความหนาแน่น
25
การวิเคราะห์ข้อมูล
Space-time Density surface
ช่วงเวลา 08:00 น. ช่วงเวลา 09:00 น.
ช่วงเวลา 12:00 น.
ช่วงเวลา 08:00 น. ยังไม่มีการเดินทางเข้ามาใน
มหาวิทยาลัย แต่ช่วงเวลา 09:00 น. เริ่มมีการเดิน
ทางเข้ามาเรียนที่อาคารเรียนรวม จนถึงช่วงเวลา
12:00 น. ที่มีความหนาแน่นมาก เนื่องจากมีการ
เดินทางมาเรียนและรับประทานอาหารที่อาคาร
เรียนรวม
น้อย
ปานกลาง
มาก
ความหนาแน่น
หอพักใน
หอพักใน
บริเวณอาคารเรียนรวม
26
การวิเคราะห์ข้อมูล
ช่วงเวลา 21:00 น. ช่วงเวลา 23:00 น.
หอพักใน หอพักใน
หอสมุด
น้อย
ปานกลาง
มาก
ความหนาแน่น
ในช่วงเวลา 21:00 น. ที่บริเวณรอบข้าง
มหาวิทยาลัยมีความหนาแน่นสูงเนื่องจากมีการ
เดินทางออกมารับประทานอาหารและธุระส่วนตัว จึง
ทาให้เกิดปัญหาทางด้านจราจรติดขัด ส่วนในช่วง
เวลา 23:00 น. เป็นช่วงเวลาที่นิสิตกลับหอพัก แต่จะ
มีนิสิตบางส่วนที่เดินทางเข้ามาค้นคว้าข้อมูลและ
อ่านหนังสือภายในหอสมุด
27
การวิเคราะห์ข้อมูล
แสดงความหนาแน่นของรูปแบบการเดินทางทั้งหมด
QS
บริเวณอาคารเรียนรวม
น้อย
ปานกลาง
มาก
ความหนาแน่น
28
สรุป
• นิสิตชั้นปีที่ 1 เนื่องจากนิสิตส่วนใหญ่ไม่มียานพาหนะส่วนตัวที่ใช้ใน
การเดินทางทาให้มีรูปแบบการเดินทางไม่หลากหลาย ซึ่งช่วงเวลาเรียนก็
จะอาศัยการเดินทางด้วยรถไฟฟ
้ า และหลังเลิกเรียนก็จะมีการกระจุกตัว
อยู่บริเวณหอพักในมหาวิทยาลัย เพราะว่าบริเวณหน้าหอพักจะมีร้านค้า
ร้านอาหาร
• นิสิตชั้นปีที่ 2 , 3 และ 4 ส่วนใหญ่จะมียานพาหนะเป็นของตนเองและ
ช่วงเวลาเรียนส่วนใหญ่ก็จะแยกไปเรียนที่คณะของตนเองแต่ก็มีไปเรียน
ที่อาคารเรียนรวมบ้าง ในช่วงเวลาหลังเลิกเรียนก็จะมีรูปแบบการเดินทาง
ที่กระจายไปในพื้นที่หลากหลาย
29

More Related Content

พฤติกรรมการเึϸȨาง๶ชิงพื้Ȩี่และเวลาྺองȨสิตมหาวิทยาลัยȨรศวร