วิจัย ไทย
- 1. วิจัยในชั้นเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
วิชาภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
เรื่อง การพัฒนาการอ่านออกเสียงควบกลำ้า โดยใช้แบบฝึกการอ่านที่มีตัว
ร,ล,ว ควบกลำ้า
1. ความเป็นมา และความสำาคัญของปัญหา
ทักษะการอ่านภาษาไทย เป็นทักษะที่สำาคัญอย่างยิ่งที่นักเรียนจำาเป็น
ต้องอ่านให้ถูกต้อง และชัดเจน เพื่อให้เหมาะสมกับความเป็นคนไทย ซึ่งใช้
ภาษาไทยเป็นภาษาประจำาชาติ จากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชา
ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จำานวน 16 คน พบว่า มีนักเรียนจำานวน
10 คน มีปัญหาด้านการอ่านออกเสียงคำาที่มี ร,ล,ว ควบกลำ้า ทำาให้อ่านออก
เสียงไม่ถูกต้อง และไม่ชัดเจน ดังนั้น ผู้สอนจึงศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับคำาที่
มี ร,ล,ว ควบกลำ้า และคิดสร้างแบบฝึก คำาควบกลำ้า ร,ล,ว เพื่อพัฒนาการอ่าน
คำาควบกลำ้าของนักเรียนจำานวน 10 คน ที่มีปัญหาด้านการอ่านออกเสียงคำา
ควบกลำ้า โดยจะฝึกให้นักเรียนอ่านประจำาทุกวันในช่วง พักกลางวัน และนำา
กลับไปฝึกที่บ้าน
2. ลักษณะของปัญหา
นักเรียนอ่านออกเสียงคำาควบกลำ้าได้ไม่ถูกต้องและชัดเจน
3. วัตถุประสงค์
เพื่อให้นักเรียนสามารถอ่านออกเสียงคำาควบกลำ้าได้ถูกต้องและชัดเจน
4. ขอบเขตของการวิจัย
4.1 ประชากร
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ปีการศึกษา 2553 จำานวน 16
คน
กลุ่มตัวอย่าง
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ปีการศึกษา 2553 จำานวน 10
คน โดยวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาไทย เรื่อง คำาควบกลำ้า
4.2 ตัวแปรที่ศึกษา
4.2.1 ตัวแปรอิสระ
แบบฝึกคำาควบกลำ้า จำานวน 3 ชุด
4.2.2 ตัวแปรตาม
- 2. ความสามารถของนักเรียนในการอ่านออกเสียงคำาควบ
กลำ้าได้ถูกต้องและชัดเจน
5. ระยะเวลาที่ใช้ในการวิจัย
ระหว่างวันที่ 1 – 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2554
6. เนื้อหา
คำาควบกลำ้าในบทเรียน
7. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
แบบฝึกการอ่านออกเสียงคำาที่มีตัว ร, ล, ว ควบกลำ้า
- ชุดที่ 1 แบบฝึกการอ่านออกเสียงคำาที่มี ร. ควบกลำ้า
- ชุดที่ 2 แบบฝึกการอ่านออกเสียงคำาที่มี ล ควบกลำ้า
- ชุดที่ 3 แบบฝึกการอ่านออกเสียงคำาที่มี ว ควบกลำ้า
8. วิธีดำาเนินการวิจัย
8.1 การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
1. ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องเพื่อเป็นแนวทางในการสร้างแบบฝึก
การอ่านออกเสียงคำา ที่มี ร,ล,ว ควบกลำ้า
2. ดำาเนินการสร้างแบบฝึกการอ่านออกเสียงคำาควบกลำ้า
3. นำาแบบฝึกไปตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา
4. นำาแบบฝึกมาแก้ไข และปรับปรุงให้ถูกต้องและสมบูรณ์
5. นำาแบบฝึกมาใช้กับนักเรียนที่มีปัญหาด้านการอ่านออกเสียงคำา
ควบกลำ้า
8.2 วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล
1. นำาแบบทดสอบการอ่านคำาที่มี ร, ล, ว ควบกลำ้า ไปทดสอบกับ
กลุ่มตัวอย่าง เพื่อเก็บข้อมูลก่อนการพัฒนา
2. นำาแบบฝึกการอ่านคำาควบกลำ้าทั้ง 5 ชุด มาให้นักเรียนฝึกอ่าน
3. นำาแบบทดสอบการอ่านออกเสียงคำาที่มี ร, ล, ว ควบกลำ้ามา
ทดสอบกับกลุ่มตัวอย่างอีกครั้ง เพื่อเก็บข้อมูลหลังการพัฒนา
8.3 การวิเคราะห์ข้อมูล
นำาผลที่ได้จากการทดสอบการอ่านคำาที่มี ร,ล,ว ควบกลำ้า ก่อนการ
พัฒนา และหลังการพัฒนามาหาความเฉลี่ย และเปรียบเทียบการพัฒนา
โดยใช้แผนภูมิแท่ง
9. ประโยชน์ของการวิจัย
1.1 นักเรียนมีความสนใจและตั้งใจเรียนดีขึ้น
1.2 นักเรียนมีนิสัยรักการอ่าน
1.3 นักเรียนสามารถอ่านออกเสียงคำาควบกลำ้าได้ถูกต้องและชัดเจนยิ่ง
ขึ้น 10. สรุปผลการวิจัย
10. ข้อเสนอแนะ
- 8. ความรู้หลักเกณฑ์ทาง
ภาษา
เรื่อง คำาควบกลำ้า
อักษรควบ บางทีเรียกว่า คำาควบกลำ้า เป็นคำาที่มี
พยัญชนะต้นสองตัวเรียงกันประสมสระเดียวกัน
พยัญชนะตัวที่สองได้แก่ ร ล และ ว
คำาที่ใช้อักษรควบนี้เรียกว่า “อักษรควบ”
อักษรควบ มี ๒ พวก คือ อักษรควบแท้ กับอักษร
ควบไม่แท้ มีหลักการอ่านดังนี้
อักษรควบแท้ หรือคำาควบแท้ คือ คำาที่มี
พยัญชนะต้นตัวหน้า ควบหรือกลำ้ากับ ร, ล หรือ ว
แล้วออกเสียงพยัญชนะทั้งสองพร้อมกัน
ไม่ยากเลยสัก
นิด
จริง
…ไหมครับ
ไม่ยากเลยสัก
นิด
จริง
…ไหมครับ
- 9. อักษรควบไม่แท้ หรือคำาควบไม่แท้ คือ คำาที่มี
พยัญชนะตัวหน้าควบกับตัว ร แล้วไม่ออกเสียง
พยัญชนะต้น ทั้ง ๒ ตัวกลำ้ากัน
คำาที่มีคำาที่มี รร ควบกลำ้าควบกลำ้า
กริ้วโกรธ พร้อมเพรียง ขรุขระ
แข็งแกร่ง เคร่งครัด
ครุ่นคิด ปราบปราม
ไตร่ตรอง แพรวพราว
พรั่งพร้อม ครอบครัว
- 15. อักษรควบไม่แท้ที่อ่านออกเสียงพยัญชนะ
ต้น ตัวหน้าที่ควบ
ตัว ร เปลี่ยนเสียงเป็น ซ (ส่วนมากจะพบ
คำาที่ขึ้นต้นด้วย ทร)
เช่น
ทรวดทรง อ่านว่า ซวด – ทรง
ทรุดโทรม อ่านว่า ซุด – โซม
ทราย อ่านว่า ซาย
พุทรา อ่านว่า พุด – ซา
ทรัพย์ อ่านว่า ซับ
แทรก อ่านว่า แซก
ทราบ อ่านว่า ซาบ
อ่านออกเสียงคำาควบกลำ้าให้ถูกต้องชัดเจน
ตัวอย่าง
ทรุดโทรม อ่านว่า ซุด – โซม
- 22. แบบฝึกชุดที่ 1 คำำที่มี ร ควบกลำ้ำ
กระ กรำบ กรำด
กรง กรด เกรง
ไกร ขรุขระ ขรึม
ครับ ครัว ครก
ตรำ ตรอก แตร
ปรับ แปรง พริก พรวน พรุน
- 23. แบบฝึกชุดที่ 2 คำำที่มี ร ควบกลำ้ำ
มะกรูด ปลำกรำย กรำบพระ
ครีบปลำ หอยแครง โพรงไม้
แปรงฟัน เต่ำกระ กระต่ำย
ครอบครัว ตรำกตรำำ ตรงไป
รำตรี ปรบมือ พรวนดิน
พูดเพรำะ พริกเผ็ด เสือโคร่ง
เช้ำตรู่ ไตร่ตรอง
- 24. แบบฝึกชุดที่ 3 คำำที่มี ล ควบกลำ้ำ
กล้ำ กลิ่น กลุ่ม
กล่อง กล้อง ขลุ่ย
คล้ำย คล่อง คลำ้ำ
คลื่น ปล่อย ปล่อง
ปลื้ม เปลี่ยน พล่อย
พลั่ว พลั้ง พล่ำม
พลุ่ง โผล่
- 25. แบบฝึกชุดที่ 4 คำำที่มี ล ควบกลำ้ำ
ตีกลอง ทำงไกล กลมเกลียว
กลับบ้ำน ขลำดกลัว ลำำคลอง
คลำนเล่น ไกวเปล เปลวไฟ
ไม่กล้ำ ส่องกล้อง กลุ้มใจ
คล่องแคล่ว คล้ำยกัน คล้องจอง
พลั้งปำก ปล่องไฟ ปลื้มใจ
ปล่อยปลำ โผล่หน้ำ
- 26. แบบฝึกชุดที่ 5 คำำที่มี ว ควบกลำ้ำ
กวักมือ ถือขวำน ควันไฟ
แขวนเสื้อ มือขวำ แตงกวำ
ขวำงหน้ำ ไข่วห้ำง ล้มควำ่ำ
สูงกว่ำ ไขว้เขว ขวักไขว่
ไขว่คว้ำ ขวำงหน้ำ ควำนหำ
อ้อยควั่น มีดคว้ำน คว้ำไว้
เคว้งคว้ำง เขำกวำ