ݺߣ
Submit Search
งาȨิจัยสร้างความมั่ȨจใȨาชีพกตร
•
0 likes
•
722 views
เอกชัย ยุทธชัยวรกุล
Follow
1 of 3
Download now
Download to read offline
More Related Content
งาȨิจัยสร้างความมั่ȨจใȨาชีพกตร
1.
อาชีวะเกษตร ... ทางเลือกทางรอดการเกษตรไทย
งานวิจัยเด่น สกว. ปี ๒๕๕๒ วันศุกร์ที่ 21 พฤษภาคม 2010 เวลา 07:00 น. อาชีวะเกษตร ... ทางเลือกทางรอดการเกษตรไทย ชื่อผลงาน : รูปแบบกระบวนการเรียนรู้เพื่อสร้าง ความเชื่อมั่นในการประกอบอาชีพด้านการเกษตร วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสิงห์บุรี งานวิจัยรูปแบบกระบวนการเรียนรู้เพื่อสร้าง ความเชื่อมั่นในการประกอบอาชีพด้านการเกษตร วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสิงห์บุรี เป็นบทเรียน สะท้อนสถานการณ์ที่ได้รับผลกระทบจากระบบ ความอ่อนแอของภาคเกษตรเชื่อมโยงสู่การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษาโดยพบว่าการจัดการเรียนการสอน เกี่ยวกับการเกษตรของวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสิงห์บุรีในช่วง 10 ปี ที่ผ่านมา มีจา นวนนักศึกษา ลดลงอย่างต่อเนื่อง ในขณะที่ผู้จบการศึกษาจานวนน้อยที่ประกอบอาชีพด้านการเกษตร ผู้จบการศึกษา ส่วนมากไม่ได้ประกอบอาชีพด้านการเกษตร แต่กลับไปทางานเป็นผู้ใช้แรงงานในโรงงานอุตสาหกรรม หรือประกอบอาชีพอื่น ๆ ที่ไม่จาเป็นต้องใช้ความรู้ด้านการเกษตรทาให้เกิดการสูญเปล่าทางการศึกษา ภายใต้กระบวนการวิจัยเพื่อท้องถิ่นซึ่งขั้นตอนการวิจัยจะมุ่งให้ความสาคัญกับการใช้ กระบวนการวิจัยเพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในงานวิจัย ซึ่งในโครงการนี้ประกอบด้วย หัวหน้าโครงการวิจัยซึ่งเป็นอาจารย์ (อาจารย์เอกชัย ยุทธชัยวรกุล) และนักเรียนกลุ่มหนึ่งที่เข้ามาเรียนใน สถานศึกษาแห่งนี้และเข้าร่วมเป็นนักวิจัย ด้วยกระบวนการวิจัยที่เน้นการปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมส่งผล ให้ได้ข้อค้นพบในเบื้องต้นจากการเก็บรวมรวมข้อมูลและสามารถนามาอธิบายและเกิดการเรียนรู้ร่วมกัน ของนักเรียนและอาจารย์ ให้เห็นเบื้องหลังปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นกับภาคการศึกษาเกษตรในปัจจุบันว่า 1. ค่านิยมของผู้ปกครองและสังคม ในเรื่องการทางานต้องมีเงินเดือนประจาจึงจะถือว่ามีความมั่นคง 2. มุมมอง ความเชื่อต่อการเรียนเกษตร ที่ว่าไม่ต้องใช้ความรู้ ทักษะ มากนัก เรียนง่าย ใคร ๆ ก็เรียนได้ คนที่เรียนเกษตรจึงถูกมองว่าเป็นคนไม่เอาถ่าน 3. ภาพลักษณ์อาชีพการเกษตรจากสื่อสารมวลชน ที่เสนอข่าวด้านลบในอาชีพเกษตร เช่น ราคาข้าวตกต่า เกษตรกรมีหนี้สิน เป็นต้น 4. หลักสูตรการจัดการเรียนการสอนสาขาวิชาชีพเกษตร ที่มีกระบวนการเรียนการสอนแบบแยกส่วน หลักสูตรมีรายวิชาที่ไม่ยืดหยุ่น ผู้เรียนไม่สามารถนาไปใช้ประกอบอาชีพได้จริง
2.
5. วิธีการสอนของครูที่ไม่สร้างความเชื่อมั่นแก่ผู้เรียนว่าสามารถนาไปประกอบอาชีพได้ กระบวนการดาเนินงานของทีมวิจัย ได้จัดเวทีเก็บรวบรวมข้อมูลควบคู่กับการสร้างการมีส่วนร่วมผ่านการ จัดเวที
หาเพื่อนมาร่วมทางานและการจัดเวทีเก็บข้อมูลตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันในเรื่องต่าง ๆ กับครู นักศึกษาในวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสิงห์บุรี ศิษย์เก่าทั้งที่ประกอบอาชีพเกษตรและไม่ได้ประกอบ อาชีพเกษตร ทาให้ทีมวิจัยพบว่าวิธีการเรียนรู้การสอนในอดีตนั้นเน้นการเรียนรู้จากการปฏิบัติ การลงงาน การปฏิบัติงานจริงในแปลงเกษตร จนเกิดทักษะการเรียนรู้ ความกล้าในการประกอบวิชาชีพที่มาจากการ ลองผิดลองถูก ซึ่งสอดคล้องกับข้อมูลของนักศึกษาในวิทยาลัยที่กล่าวว่า “ความไม่มั่นใจเกิดจากการไม่ได้ ลงมือทา” อย่างไรก็ตามภายใต้การดาเนินการวิจัยสิ่งสาคัญอีกประการหนึ่งที่ “งานวิจัยเพื่อท้องถิ่น” ให้ความสาคัญ อย่างยิ่ง คือ กลไกการหนุนเสริมกระบวนการพัฒนาทักษะนักวิจัยที่ต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะเป็น เงื่อนไขสาคัญประการหนึ่งที่ส่งผลให้โครงการบรรลุวัตถุประสงค์การวิจัย เช่น การพัฒนาทักษะการ ออกแบบการเรียนรู้ การตั้งคาถาม การจดบันทึก การจับประเด็น ฯลฯ ดังเสียงสะท้อนสาคัญจากการการ ทางานของ อาจารย์เอกชัย ยุทธชัยวรกุล หัวหน้าโครงการวิจัย ฯ ที่ชี้ให้เห็นจุดสาคัญในการเรียนรู้ ของทีม วิจัยว่าปัจจุบันเราเน้นการเรียนรู้ในห้องเรียนด้วยระบบการศึกษาที่เหมือนกันหมดทั้งประเทศ ประกอบด้วย การเรียนการสอนที่อ่อนการปฏิบัติ อัดเนื้อหาจากตาราให้ครบหลักสูตร ส่งผลให้ทักษะที่จาเป็นในการหา ความรู้ และสร้างการเรียนรู้ เช่น การตั้งคาถาม การจดบันทึก การจับประเด็น การนาเสนอ ฯลฯ จึงเป็นเรื่อง ไม่คุ้นเคย ทั้งครูและเด็กนักเรียนจึงต้องเริ่มเรียนรู้ใหม่พร้อมกัน เมื่อครูที่ต้องฝึก เด็กนักเรียนก็ต้องฝึก ให้ เด็กจดบันทึก ครูก็จดบันทึก กระบวนการนี้ทาให้เด็กหลายคนเห็นคุณค่าและความสาคัญของตัวเอง และ เห็นความมุ่งมั่นตั้งใจของครูในการพัฒนากระบวนการเรียนการสอน ซึ่งแม้หลักสูตรจะยังไม่ปรับแต่เขาก็ รับสิ่งที่เราตั้งใจให้อย่างเปิดใจ จากกระบวนการวิจัยเพื่อท้องถิ่นได้สร้างการเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของครูผู้สอน ที่เข้าใจ ปัจจัยและเงื่อนไขการเรียนรู้อย่างมีส่วนร่วม รวมถึงส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้เรียนในการ สร้างความเชื่อมั่นในวิชาชีพเกษตรที่จะสามารถเป็นอาชีพที่มั่นคงของตนเองได้ นักศึกษาเกิดทักษะในการ เรียนรู้ สามารถพัฒนาเพื่อสร้างแรงบันดาลใจในการที่จะไปประกอบอาชีพเกษตร เกิดทักษะการเป็นผู้นา และมีจิตอาสาในการพัฒนาชุมชน ที่สาคัญที่สุดทีมวิจัยทีเป็นนักศึกษาส่วนหนึ่ง วางเป้ าหมายในการ กลับไปประกอบอาชีพเกษตรในท้องถิ่น สามารถค้นหาความชัดเจนในเป้ าหมายชีวิตของตัวเอง ปรับ พฤติกรรม ปรับเปลี่ยนการดาเนินชีวิต
3.
หัวหน้าโครงการ / นักวิจัย หน่วยงานรับผิดชอบ
: อาจารย์เอกชัย ยุทธชัยวรกุล นักวิจัย 1. นางสาววารี คาเคน 2. นางสาวสุภา แซ่หาญ 3. นายวิลาศ ถาพรม 4. นายณัฐวุฒิ ด้วงทอง 5. นายหัฎฐะ ชาววิวัฒน์ 6. นายกรวุฒิ อู่ขุน 7. นางสาวพรทิพย์ หวานคา 8. นายวรวุฒิ แสนแก้ว 9. นายชลิต ตรีนิตย์ 10. นางสาวปาวีณา เผือกหอม 11. นางสาววรรณี ไชยศรี 12. นายเจนณรงค์ ล้อมกัน 13. นางสาวพิกุล มณีวงศ์ 14. นายนพรัตน์ แก้วสุข 15. นางสาวพรพิมล อิ๋นคา 16. นางสาวเพ็ญศรี บุญชื่น 17. นางสาวพัชรี สกุลวรภัทร 18. นางสาวจันทิมา กวีกิจสุชาดา 19. นายไพรัชช์ แดนกะไสย 20. นางสาวนุสรา ทองรอด โครงการที่เกี่ยวข้อง โครงการ รูปแบบกระบวนการเรียนรู้เพื่อสร้างความเชื่อมั่นในการประกอบอาชีพด้านการเกษตรวิทยาลัย เกษตรและเทคโนโลยีสิงห์บุรี
Download