การตั้งชื่อให้ป็Ȩิริมงคลแบบไทย
- 3. คือสิ่งที่มนุษย์ได้สร้างขึ้นเป็นคาต่างๆ เพื่อใช้
แทนคน สัตว์ สิ่งของ หรือสิ่งที่เป็นนามธรรมที่
สามารถสัมผัสหรือรู้สึกได้ เพื่อนามาเรียกหรือ
อ้างถึง การใช้ชื่อเรียกแทนบุคคลเป็นสิ่งที่ควรที่
ตั้งแต่เกิดหากไม่ได้เป็นคนเร่ร่อนตามกฎหมาย
แล้วบังคับให้ประชาชนทุกคนต้องมีชื่อตั้งแต่
เกิด ซึ่งชื่ออาจจะซ้ากันได้อารยชนมักจะตั้งชื่อ
คน สัตว์ สิ่งของ ด้วยความประสงค์ที่ว่า ต้องการ
ให้มันแทนสิ่งนั้นจริง ๆ หรืออาจกล่าวได้ว่าชื่อ
นั้นเป็นตัวตนที่แท้จริงของวัตถุที่บอกเล่า
เอกลักษณ์ต่าง ๆ ไว้เช่น ผม ขน เล็บ ฯลฯ
- 4. ในสมัยรัชกาลที่ ๖ และ ๗ ชื่อคนไทย
เริ่มยาวขึ้นเป็นสองพยางค์ ถือว่าเก๋
ทันสมัยกว่าคนรุ่นพ่อแม่ อย่างชื่อของ
ลูกๆแม่พลอยคือ ประพนธ์ ประพันธ์
ประพัทธ์ และประไพ นอกจากนี้ก็มีชื่อ
อย่างสมใจ วิมล ยุพา
- 5. ชื่อคนไทยวิวัฒนาการมาเรื่อยๆ ชื่อที่ทันสมัยในยุคหนึ่งก็
กลายเป็นล้าสมัยในอีกยุคหนึ่ง คงยากที่จะพบว่าหนูน้อย
ในปี ๒๐๐๐ (โดยเฉพาะคนกรุงเทพ) คนไหนคลอดออก
มาแล้วพ่อแม่จะให้ชื่อว่า ประพนธ์ หรือ สมใจ แต่ที่นิยม
กันมากการตั้งชื่อให้ถูกต้องตามหลัก หลักที่ว่านี้มีอยู่ ๒
หลัก คือตาม ตาราทักษาปกรณ์ และหลักตัวเลข แต่ใน
บทความนี้จะพูดถึงหลักทักษาปกรณ์เท่านั้น เพราะเป็น
หลักที่นิยมกันแพร่หลายมากที่สุด
ตาราทักษาปกรณ์ เรียกอีกอย่างว่า อัฏฐเคราะห์ มาจาก
อินเดีย เข้ามากับพุทธศาสนา เดิมนิยมใช้ตั้งฉายา
พระสงฆ์เมื่อบวช ตารานี้มีหลักอยู่ว่าการตั้งชื่อคนควรให้
สอดคล้องกับสิริมงคล ๗ อย่าง คือ อายุ เดช ศรี มูละ
อุตสาหะ มนตรี บริวาร และหลีกเลี่ยงข้อไม่ดี ๑ อย่างคือ
กาลกิณี โดยเอาตัวอักษรและวันเกิดเป็นหลักในการตั้ง
ชื่อ