ݺߣ
Submit Search
พรรณผกา ยะตะนัง
•
Download as PPTX, PDF
•
0 likes
•
562 views
Phanpaka YataNang
Follow
ทดสอบปฏิบัติวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปในงานอาชีพ การฝากขาย
Read less
Read more
1 of 9
Download now
Download to read offline
More Related Content
พรรณผกา ยะตะนัง
1.
การฝากขาย
2.
การฝากขาย การฝากขาย คือ การที่เจ้าของสินค้า
ซึ่งเรียกว่า ผู้ฝากขาย (Consignor) ส่งสินค้า ไปยัง ผู้รับฝากขาย (Consignee) เพื่อให้ช่วยทาหน้าที่ขายสินค้าแทน โดยความ เสี่ยงและกรรมสิทธิ์ในสินค้านั้นยังคงเป็นของผู้ฝากขายจนกว่าผู้รับฝากขายจะขาย สินค้าที่รับฝากขายไปให้แก่ผู้ซื้อ ผู้ฝากขายจึงจะบันทึกเป็นรายการขายได้ อย่างไรก็ ตามสาหรับค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการฝากขาย โดยปกติผู้ฝากขายจะเป็น ผู้รับผิดชอบทั้งจานวน และเมื่อผู้รับฝากขายขายสินค้าได้ ก็มักจะได้รับค่าตอบแทน ในรูปของรายได้ค่านายหน้า วิธีการบันทึกบัญชีด้านผู้ฝากขายมี 2 วิธี คือ วิธีการบันทึกบัญชีเกี่ยวกับสินค้าฝาก ขายแยกไว้ต่างหากจากการขายปกติของกิจการ และวิธีการบันทึกบัญชีเกี่ยวกับ สินค้าฝากขายรวมกับการขายปกติของ กิจการซึ่งทั้ง 2 วิธีนี้ต้องคานึงถึงระบบบัญชีเกี่ยวกับสินค้าที่ใช้ด้วยว่าใช้ระบบใด วิธี บันทึกรายการสินค้ามี 2 ระบบ คือ ระบบการบันทึกบัญชีสินค้าแบบต่อเนื่อง และ ระบบการบันทึกบัญชีสินค้าเมื่อสิ้นงวด
3.
การบันทึกบัญชีสินค้าฝากขาย การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับการฝากขายในสมุดบัญชีของผู้ฝากขายจะขึ้นอยู่กับความ ต้องการที่จะแสดงรายการค่าขายสินค้า ฝากขาย ต้นทุนสินค้าฝากขายและค่าใช้จ่ายของสินค้าฝากขาย วิธีการบันทึกรายการบัญชีด้านผู้ฝากขาย มี
2 วิธี คือ วิธีที่ 1 บันทึกรายการบัญชีเกี่ยวกับสินค้าฝากขายแยกไว้ต่างหากจาก การขายปกติของกิจการ วิธีที่ 2 บันทึกรายการบัญชีเกี่ยวกับสินค้าฝากขายรวมกับการขายปกติ ของกิจการ การบันทึกรายการบัญชีเกี่ยวกับสินค้าฝากขายด้านผู้ฝากขายทั้ง 2 วิธี สามารถ บันทึกตามระบบบัญชีสินค้าแบบต่อเนื่อง ( Perpetual Inventory System ) หรือ ตามระบบบัญชีสินค้าเมื่อสิ้นงวด ( Periodic Inventory System ) ก็ย่อมได้
4.
ข้อแตกต่างขายสินค้ากับฝากขายสินค้า การฝากขายสินค้า (Consignments) กับการขายสินค้า
(Sales) มีข้อแตกต่างกัน ดังนี้ 1. กรรมสิทธิ์ในสินค้า การขายสินค้า กรรมสิทธิ์ในสินค้าจะโอนจากผู้ขายไปยังผู้ซื้อทันที ส่วนการฝากขายกรรมสิทธิ์ในสินค้ายังเป็นของผู้ฝากขาย มิได้โอนเป็นของผู้รับฝากขายจนกว่าผู้ฝาก ขายจะขายสินค้าได้จริงจึงจะโอนเปลี่ยนกรรมสิทธิ์ในสินค้าเป็นของผู้ซื้อ 2. รายได้หรือกาไรจากการฝากขาย การฝากขายไม่ใช่การขาย ดังนั้นจึงไม่มีรายได้ กาไร เกิดขึ้นจากการฝากขาย และยังไม่ต้องบันทึกรายการบัญชีจนกว่าผู้รับฝากขายจะขายสินค้าที่รับฝาก ขายนั้นได้จึงจะบันทึกรายการบัญชี 3. ลูกหนี้ กิจการเมื่อขายสินค้าเป็นเงินเชื่อจะบันทึกรายการบัญชีลูกหนี้ แต่ผู้รับฝากขายไม่ใช่ ลูกหนี้ ถือเป็นตัวแทน (Agent) 4. สินค้าที่ส่งไปฝากขาย การฝากขายสินค้า กรรมสิทธิ์ในสินค้ายังคงเป็นของผู้ฝากขายที่ส่ง สินค้าไปฝากขาย ในวันสิ้นงวดบัญชีหากมีสินค้าที่ส่งไปฝากขายคงเหลือ ผู้ฝากขายจะต้องบันทึก สินค้าคงเหลือดึงกล่าวรวมเป็นสินค้าคงเหลือของผู้ฝากขาย โดยไม่ถือเป็นสินค้าคงเหลือของผู้รับฝาก ขาย
5.
5. การคืนสินค้า การขายสินค้าจะมีการรับคืนสินค้าเมื่อสินค้าที่ขายไปชารุดหรือเสียหาย หรือไม่ตรงตามตัวอย่างที่ซื้อ
แต่ในการรับฝากขายสินค้า ผู้รับฝากขายมีสิทธิ์ที่จะขอคืนสินค้าได้ทุกเมื่อ ถ้าไม่ประสงค์จะทาหน้าที่เป็นตัวแทนในการขายต่อไป 6. การดูแลสินค้า ผู้รับฝากขายต้องดูแลรักษาสินค้าที่รับฝากขายให้ปลอดภัย และจะมีการ บันทึกความจาสาหรับสินค้าที่รับฝากขาย ( Memorandum ) 7.การรับชาระค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นตั้งแต่วันที่ผู้ฝากขายส่งสินค้าไปให้ผู้รับฝากขาย จนถึงวันที่ขายสินค้านั้นได้ ผู้ฝากขายจะต้องรับผิดชอบ ผู้รับฝากขายมีสิทธิ์คิดค่าใช้จ่ายที่ได้จ่ายไป เกี่ยวกับที่รับฝากขายคืนจากผู้ฝากขาย 8. การชาระหนี้ ถ้าผู้รับฝากขายกลายเป็นบุคคลล้มละลายและไม่สามารถชาระหนี้ได้ ผู้ฝาก ขายสามารถเรียกสินค้าที่ฝากขายคืนมาโดยไม่ต้องคอยรับส่วนแบ่งชาระหนี้เหมือนกับเจ้าหนี้รายอื่น ๆ
6.
สัญญาในการฝากขาย การดาเนินการฝากขายควรมีการทาสัญญาไว้เป็นลายลักษณ์อักษรเพื่อความเข้าใจที่ถูกต้อง ตรงกันทั้งผู้ฝากขายและผู้รับฝากขาย และเพื่อป้องกันปัญหาความขัดแย้งในภายหลัง ข้อความที่ ควรแสดงในสัญญาฝากขายควรมีดังต่อไปนี้ 1.
ระยะเวลาที่ยอมให้ผู้รับฝากขายขายสินค้าเป็นเงินเชื่อได้ 2. การกาหนดอัตราผลตอบแทนที่ผู้รับฝากขายจะได้รับเมื่อขายสินค้าได้ 3. ราคาและเงื่อนไขในการขาย 4. รายงานการขายที่ผู้รับฝากขายต้องทาส่งให้ผู้ฝากขายได้ทราบข้อมูลการดาเนินงานต่าง ๆ ในการ รับฝากขาย 5. รายการและจานวนเงินค่าใช้จ่ายของผู้รับฝากขายซึ่งผู้ฝากขายจะชดใช้ให้ 6. การเก็บรักษาและการแยกสินค้าที่ฝากขาย และเงินค่าขายสินค้าฝากขายจากสินทรัพย์ของผู้รับ ฝากขาย 7. ค่าตอบแทน ค่านายหน้า หรือกาไรที่ผู้รับฝากขายจะได้รับ
7.
ประโยชน์ของการฝากขาย ประโยชน์ของการฝากขายสามารถแบ่งได้เป็น 2 ด้าน
คือ ด้านผู้ฝากขาย และด้านผู้รับฝาก ขาย 1. ประโยชน์ของการฝากขายสินค้าด้านผู้ฝากขาย 1.1 เป็นการลดความเสี่ยงเกี่ยวกับการขายเชื่อและการเรียกเก็บเงินไม่ได้ ถ้าเปรียบเทียบระหว่าง การขายเชื่อกับการฝากขาย การขายเชื่อมีความเสี่ยงในการเก็บเงินลูกหนี้ไม่ได้ แต่การฝากขาย กรรมสิทธิ์ในสินค้ายังเป็นของผู้ฝากขาย ผู้รับฝากขายทาหน้าที่เป็นตัวแทนขายเท่านั้น ไม่ใช่ ลูกหนี้ 1.2 เป็นการขยายตลาดสินค้าให้กว้างขึ้นโดยไม่ต้องลงทุนตั้งสถานที่จาหน่ายสินค้า 1.3 ผู้ฝากขายได้ตัวแทนจาหน่ายสินค้าซึ่งอาจจะมีความชานาญในการขายสินค้าประเภทนั้นๆ โดยเฉพาะได้ดีกว่า ตนเอง 1.4 เป็นการขยายตลาดสินค้าซึ่งเป็นช่องทางการจาหน่ายสินค้าอีกวิธีหนึ่งสาหรับสินค้าชนิดใหม่ สินค้าที่มีราคาขึ้นลงอย่างรวดเร็วและสินค้าต้นทุนสูง
8.
สิทธิและหน้าที่ของผู้ฝากขาย สิทธิของผู้ฝากขาย 1. มีกรรมสิทธิ์ในสินค้าฝากขายที่ยังจาหน่ายไม่ได้ 2. มีสิทธิจะเรียกร้องให้ผู้รับฝากขายจัดทารายงานการขายสินค้าฝากขายแสดงให้ทราบ 3.
มีสิทธิเรียกร้องให้ผู้รับฝากขายที่ล้มละลายหรือเลิกกิจการต้องทาการชาระบัญชี ผู้ฝากขายมี สิทธิเรียกร้องให้ ผู้รับฝากขายส่งคืนสินค้าและเงินที่คงค้างมาให้โดยไม่ต้องรอให้ชาระหนี้ บุคคลภายนอกก่อน หน้าที่ของผู้ฝากขาย 1. ผู้ฝากขายมีหน้าที่จะต้องปฏิบัติตามสัญญาที่ทาไว้กับผู้รับฝากขาย 2. ในกรณีผู้ฝากขายไม่ได้ทาสัญญาไว้เป็นลายลักษณ์อักษรจะต้องปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วย ตัวแทน ( Agent )
Download