ݺߣ
Submit Search
ประเทศบร ไน
•
1 like
•
447 views
ลูกตาล ยิ้มเสมออ.
1 of 6
Download now
Download to read offline
More Related Content
ประเทศบร ไน
1.
ธงประเทศ ตราแผ่นดิน
2.
ลักษณะทางภูมิประเทศ บรูไนอยู่ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะบอร์เนียว ดิน แดนของบรูไนถูกแบ่งเป็น
2 ส่วน โดยมี พื้นที่ของรัฐซาราวักของมาเลเซียกั้นไว้เป็นภาคตะวันออก และตะวันตก แม้จะเป็นดินแดนเล็กๆแต่ก็ร่่ารวย ที่สุดแห่งหนึ่งในทวีปเอเชีย เนื่องจากมีทรัพยากรน้่ามันอยู่มาก ลักษณะภูมิประเทศประกอบด้วยที่ราบ ชายฝั่งทะเลและที่ราบ หุบเขาซึ่งเป็นดินตะกอนที่แม่น้่าพัดมาทับถม บริเวณที่อยู่ห่างจากชายฝั่งเข้าไป ภายในเกาะ ส่วนใหญ่เป็นเนินเขา ดินแดนทางภาคตะวันออกมีลักษณะขรุขระและสูงกว่าตะวันตก ภูมิอากาศ ในประเทศบรูไนเป็นภูมิอากาศเขตร้อน มีอุณหภูมิสูง ความชื้นสูง และ ฝนตกเกือบตลอดปี อุณหภูมิ ประมาณ 24 -32 องศาเซลเซียส พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นป่าไม้เขตร้อน อุดมด้วยน้่ามันและก๊าซธรรมชาติ
3.
บรูไนดารุสซาลาม (Negara Brunei
Darussalam) : ดอกซิมปอร์ ดอกไม้ประจ่าชาติบรูไน ก็คือ ดอกซิมปอร์ (Simpor) หรือที่รู้จักกันในชื่อ ดอกส้านชะวา (Dillenia) ดอกไม้ประจ่าท้องถิ่นบรูไน ที่มีกลีบขนาดใหญ่สีเหลือง หากบานเต็มที่แล้วกลีบดอกจะมีลักษณะคล้ายร่ม พบเห็นได้ตามแม่น้่าทั่วไปของบรูไน มีสรรพคุณช่วยรักษาบาดแผล หากใครแวะไปเยือนบรูไน จะพบเห็น ได้จากธนบัตรใบละ 1 ดอลลาร์ ของประเทศบรูไน และในงานศิลปะพื้นเมืองอีกด้วย
4.
ชุดประจ่าชาติของประเทศบรูไน ชุดประจ่าชาติของบรูไนคล้ายกับชุดประจ่าชาติของผู้ชายประเทศมาเลเซีย เรียกว่า บาจู
มลายู (Baju Melayu) ส่วนชุดของผู้หญิงเรียกว่า บาจูกุรุง (Baju Kurung) แต่ผู้หญิงบรูไนจะแต่งกายด้วยเสื้อผ้าที่มีสีสัน สดใส โดยมากมักจะเป็นเสื้อผ้าที่คลุมร่างกายตั้งแต่ศีรษะจรดเท้า ส่วนผู้ชายจะแต่งกายด้วยเสื้อแขนยาว ตัว เสื้อยาวถึงเข่า นุ่งกางเกงขายาวแล้วนุ่งโสร่ง เป็นการสะท้อนวัฒนธรรมสังคมแบบอนุรักษ์นิยม เพราะบรูไน เป็นประเทศมุสสิม จึงต้องแต่งกายมิดชิดและสุภาพเรียบร้อย บาจู มลายู และบาจูกุรุง – ประเทศบรูไน
5.
ภาษาที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร ภาษาราชการของบรูไนคือภาษามาเลย์ ซึ่งเป็นภาษาที่ชาวบรูไนใช้กัน
มาก เนื่องจากชาวบรูไนร้อยละ 66 มีเชื้อสายมาเลย์ อย่างไรก็ตาม ชาวบรูไนส่วนใหญ่สามารถพูดภาษาอังกฤษ ได้ และสามารถใช้ภาษาอังกฤษในการติดต่อธุรกิจได้เช่นกัน รวมไปถึงภาษาจีนซึง เป็นภาษาที่มีการใช้กันมาก เนื่องจากมีชาวบรูไนเชื้อสายจีนอยู่ถึงร้อยละ 11 การเรียนรู้ภาษามาเลย์จะช่วยสร้างความประทับใจให้คู่ เจรจา ชาวบรูไนได้ ชื่อภาษาท้องถิ่น – เนการาบรูไนดารุสซาลาม ค่าทักทาย - ซาลามัต ดาตัง
6.
อัมบูยัต(Ambuyat) มีลักษณะเด่นคือ เหนียวข้นคล้ายข้าวต้มหรือโจ๊ก ไม่มีรสชาติ
มีแป้งสาคูเป็นส่วนผสม หลัก วิธีทาน จะใช้แท่งไม้ไผ่ 2 ขาซึ่งเรียกว่า chandas ม้วนแป้งรอบ ๆ แล้วจุ่มในซอสผลไม้เปรี้ยวที่เรียกว่า cacahหรือ ซอสที่เรียกว่า cencalu ซึ่งท่าจากกะปิทานคู่กับเครื่องเคียงอีก 2-3 ชนิด เช่น เนื้อห่อใบตองย่าง เนื้อทอด เป็นต้น การรับประทานอัมบูยัตให้ได้รสชาติต้องทานร้อน ๆ และกลืน โดยไม่ต้องเคี้ยว
Download