ݺߣ
Submit Search
ประวัติอาเซียน
•
0 likes
•
1,015 views
ไพบููลย์ หัดรัดชัย
Follow
1 of 9
Download now
Download to read offline
More Related Content
ประวัติอาเซียน
2.
ความเป็นมาของอาเซียน อาเซียนหรือสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Assciation of Southeast
Asian Nations หรือ ASEAN) ก่อตั้งขึ้นโดยปฏิญญา กรุงเทพ(The Bangkok Declaration ) เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2510โดยมี สมาชิกผู้ก่อตั้ง 5 ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออก-เฉียงใต้ ได้แก่ ไทย อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์และสิงคโปร์ได้ลงนามใน ‚ปฏิญญากรุงเทพฯ‛ (Bangkok Declaration) เพื่อจัดตั้งสมาคม ความร่วมมือกันในการเพิ่มอัตราการเจริญเติบโต ทางเศรษฐกิจ การพัฒนาสังคม การพัฒนาวัฒนธรรมในกลุ่มประเทศสมาชิก และการธารงรักษาสันติภาพและความ มั่นคง ในพื้นที่และเป็นการเปิดโอกาสให้คลายข้อพิพาทระหว่างประเทศสมาชิกอย่าง สันติของระดับภูมิภาคของประเทศต่างๆในเอเชีย ในเวลาต่อมาได้มีบูรไนดารุสซา ราม (เข้าเป็นสมาชิกตั้งแต่ 8 มกราคม 2527)สาธารณรัฐสังคมคมนิยมเวียดนาม (เข้าเป็นสมาชิกตั้งแต่ 28 กรกฎาคม 2538) สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (เข้าเป็นสมาชิกตั้งแต่ 23 กรกฎาคม 2540) สหภาพพม่า (เข้าเป็นสมาชิกตั้งแต่ 23 กรกฎาคม 2540) ราชอาณาจักรกัมพูชา (เข้าเป็นสมาชิกตั้งแต่ 30 เมษายน 2542) ตามลาดับทาให้อาเซียนมีสมาชิกครบ 10ประเทศ
3.
วัตถุประสงค์หลัก ปฏิญญากรุงเทพฯ ได้ระบุวัตถุประสงค์สาคัญ 7
ประการของ การจัดตั้งอาเซียน ได้แก่ 1. ส่งเสริมความร่วมมือและความช่วยเหลือซึ่งกันและกันในทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม เทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ และการบริหาร 2. ส่งเสริมสันติภาพและความมั่นคงส่วนภูมิภาค 3. เสริมสร้างความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจพัฒนาการทางวัฒนธรรมใน ภูมิภาค 4. ส่งเสริมให้ประชาชนในอาเซียนมีความเป็นอยู่และคุณภาพชีวิตที่ดี 5. ให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ในรูปของการฝึกอบรมและการวิจัย และ ส่งเสริมการศึกษาด้านเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 6. เพิ่มประสิทธิภาพของการเกษตรและอุตสาหกรรม การขยายการค้า ตลอดจนการปรับปรุงการขนส่งและการคมนาคม 7. เสริมสร้างความร่วมมืออาเซียนกับประเทศภายนอก องค์การ ความ ร่วมมือแห่งภูมิภาคอื่นๆ และองค์การระหว่างประเทศ
4.
หลักการพื้นฐานของความร่วมมืออาเซียน ประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ
ได้ยอมรับในการปฏิบติตามหลักการพืนฐาน ั ้ ในการดาเนินงานในเรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างกัน อันปรากฏอยู่ในกฎบัตรอาเซียนซึ่ง เป็นกฎหมายสูงสุดของอาเซียน ที่เพิ่งมีผลบังคับใช้เมื่อกลางเดือนธันวาคม 2551 และ สนธิสัญญาไมตรีและความร่วมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia หรือ TAC) ซึ่งประกอบด้วย -การเคารพซึ่งกันและกันในเอกราช อธิปไตย ความเท่าเทียม บูรณาการแห่งดินแดนและ เอกลักษณ์ประจาชาติของทุกชาติ - สิทธิของทุกรัฐในการดารงอยู่โดยปราศจากจากการแทรกแซง การโค่นล้มอธิปไตยหรือ การบีบบังคับจากภายนอก - หลักการไม่แทรกแซงกิจการภายในซึ่งกันและกัน - ระงับความแตกต่างหรือข้อพิพาทโดยสันติวิธี - การไม่ใช้การขูบังคับ หรือการใช้กาลัง ่ - ความร่วมมืออย่างมีประสิทธิภาพระหว่างประเทศสมาชิก
5.
การที่อาเซียนยึดมั่นในหลัก ‘ฉันทามติ‛ และ
‚การไม่แทรกแซงกิจการภายในซึ่ง กันและกัน’ หรือที่ผู้สังเกตการณ์อาเซียนเรียกว่า ‘วิถีทางของอาเซียน’ (ASEAN’s Way)ในทางหนึ่งนั้น ก็ถือเป็นผลดีเพราะเป็นปัจจัย ที่ทาให้ ประเทศสมาชิกอาเซียนซึ่งมีความแตกต่างกันเป็นอย่างมาก ในเรื่องระบบ การเมือง วัฒนธรรมและฐานะทางเศรษฐกิจ มีความ ‘สะดวกใจ’ ในการเข้าร่วม เป็นสมาชิก และดาเนินความร่วมมือในกรอบอาเซียน แต่ในอีกทางหนึ่ง‚ฉันทา มติและ ‚การไม่แทรกแซงกิจการภายในซึ่งกันและกัน‛ก็ได้รับการวิพากษ์วิจารณ์ ในหลายโอกาสว่า เป็นสาเหตุสาคัญที่ทาให้กระบวน การรวมตัวกันของอาเซียน เป็นไปอย่างล่าช้า รวมถึงทาให้อาเซียนขาดความน่าเชื่อถือ เนื่องจากถูกมองว่า กลไกที่มีอยู่ ของอาเซียน ล้มเหลว ในการจัดการกับปัญหา ของอาเซียนเองที่ เกิดขึ้นในประเทศสมาชิกใดประเทศสมาชิกหนึ่งได้ อย่างไรก็ดี การยึดถือฉันทา มติในกระบวนการตัดสินใจ ของอาเซียน ได้เริ่มมี ความยืดหยุ่นมากขึ้นหลังจากที่ กฎบัตรอาเซียน มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2551 เนื่องจาก กฎบัตร อาเซียนได้เปิดช่องให้ผู้นาประเทศสมาชิกอาเซียน พิจารณาหาข้อยุติในเรื่องที่ ประเทศสมาชิกไม่มีฉันทามติได้
6.
โครงสร้างของอาเซียน โครงสร้างของอาเซียนจะประกอบด้วยส่วนสาคัญ ดังนี้ สานักเลขาธิการอาเซียน (ASEAN
Secretariat) สานักเลขาธิการอาเซียนได้จัดตั้งขึ้นตามข้อตกลงที่ลงนามโดยรัฐมนตรี ต่างประเทศอาเซียน ในระหว่างการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 1 ในปี 2519 เพื่อทาหน้าที่ประสานงานและ ดาเนินงาน ตามโครงการและกิจกรรมต่าง ๆ ของสมาคมอาเซียน และเป็นศูนย์กลางในการติดต่อ ระหว่างสมาคมอาเซียน คณะกรรมการ ตลอดจนสถาบันต่าง ๆ และรัฐบาลของประเทศ สมาชิก สานักเลขาธิการอาเซียนตั้งอยู่ที่กรุงจาการ์ตาประเทศอินโดนีเซียโดยมีหัวหน้า สานักงานเรียกว่า ‚เลขาธิการอาเซียน‛ ซึ่งเมื่อเดือนกรกฎาคม 2545 ที่ประชุมรัฐมนตรี ต่างประเทศอาเซียน ครั้งที่ 35 ได้แต่งตั้งนาย Ong Keng Yong” ชาวสิงคโปร์ เป็นเลขาธิการอาเซียนคนใหม่แทนนาย Rodolfo C. Severino Jr. เลขาธิการ อาเซียนคนปัจจุบัน โดยจะมีวาระในการดารงตาแหน่ง 5 ปี (ตั้งแต่ 1 มกราคม 2546) และ มีรองเลขาธิการอาเซียนจานวน 2 คน (ปัจจุบันดารงตาแหน่งโดยชาว มาเลเซียและ เวียดนาม)
7.
สานักงานอาเซียนแห่งชาติ หรือกรมอาเซียน (ASEAN National
Secretariat) เป็นหน่วยงานในกระทรวงการต่างประเทศของประเทศ สมาชิก ซึ่งแต่ละประเทศได้จัดตั้งขึ้นเพื่อทาหน้าที่รับผิดชอบ ประสานงานเกี่ยวกับอาเซียนในประเทศนั้น ๆ และติดตามผลของ การดาเนินกิจกรรม/ความร่วมมือต่าง ๆ สาหรับประเทศไทยนั้น ได้มี การจัดตั้งกรมอาเซียนให้มีหน้าที่รับผิดชอบในการปฏิบัติงานด้าน อาเซียนดังกล่าว
8.
กฏบัตรอาเซียน เป็นร่างสนธิสัญญาที่ทาร่วมกันระหว่างประเทศสมาชิกในสมาคม ประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เพื่อเป็นเครื่องมือ ในการวางกรอบทาง กฎหมายและโครงสร้างองค์กรของสมาคม
ทั้งนี้เพกฎบัตรอาเซียน เป็นร่าง สนธิสัญญา ที่ทาร่วมกันระหว่างประเทศสมาชิกในสมาคมประชาชาติแห่งเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ เพื่อเป็นเครื่องมือในการวาง กรอบทาง กฎหมายและ โครงสร้างองค์กรของสมาคม ทั้งนี้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของอาเซียน ในการ ดาเนินการตามวัตถุประสงค์ และเป้าหมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งการขับเคลื่อน การรวมตัวเป็นประชาคมอาเซียน ภายในปี พ.ศ. 2558 ตามที่ผู้นาอาเซียน ได้ ตกลงกันไว้ตามกาหนดการ จะมีการจัดทาร่างกฎบัตรอาเซียนให้แล้วเสร็จ ภายในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2550 เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพของอาเซียนในการ ดาเนินการตามวัตถุประสงค์และเป้าหมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งการขับเคลื่อน การรวมตัว เป็นประชาคมอาเซียน ภายในปี พ.ศ. 2558 ตามที่ผู้นาอาเซียนได้ ตกลงกันไว้ตามกาหนดการ จะมีการจัดทาร่าง กฎบัตรอาเซียนให้แล้วเสร็จ ภายในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2550
9.
การประชุมสุดยอด อาเซียน (ASEAN SUMMIT)
Download