ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
กลยุทธการบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทย : กรณีศึกษากลุ่มจังหวัดภาคเหนือ
ตอนล่าง กลุ่มที่ 2
โดย ดร.วราภรณ์ ทรัพย์รวงทอง
คานา
ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ มีลักษณะภูมิประเทศ และ
ภูมิอากาศที่เหมาะสมต่อการเพาะปลูก ร้อยละ 80 ของครัวเรือนเกษตรทาการเพาะปลูกข้าว มี
ปริมาณการผลิตข้าวเปลือกร้อยละ 4 ของผลผลิตโลก และส่งออกเป็นอันดับ 1 ของโลก ประเทศ
ไทยเป็นประเทศผู้ส่งออกข้าวรายใหญ่แต่ประชากรที่ประกอบอาชีพทางการเกษตรของ
ไทยส่วนใหญ่ยังยากจนมีรายได้ต่ากว่าประชากรที่ประกอบอาชีพอื่นๆ มาตั้งแต่อดีต
จนถึงปัจจุบัน เนื่องจากการเพาะปลูกต้องพึ่งพิงธรรมชาติประกอบกับระบบเศรษฐกิจแบบทุน
นิยมที่หลั่งไหลเข้ามาซ้าเติมให้เกิดความทุกข์ยาก การดาเนินนโยบายเพื่อแก้ปัญหาเรื่องข้าว
ที่ผ่านมา ส่วนใหญ่เป็นการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าและในระยะสั้นเท่านั้น ไม่ได้เป็นการแก้ไขปัญหา
ที่เกิดขึ้นอย่างถาวรและยั่งยืน ตลอดจนทาให้กลไกตลาดบิดเบือน
เพื่อให้การแก้ไขปัญหาข้าวเป็นไปอย่างเป็นระบบ เพื่อสร้างความเข้มแข็งของระบบ
การผลิต การตลาด การค้าข้าวอย่างยั่งยืน เพื่อให้เกษตรกรได้รับประโยชน์สูงสุดและมีฐานะ
ความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น จึงได้มีการดาเนินการศึกษาเรื่องกลยุทธการบริหารจัดการข้าวเพื่อ
เกษตรกรไทย : กรณีศึกษากลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง กลุ่มที่ 2 เพื่อเป็นแนวทางในการกาหนด
ปรับปรุง กลยุทธการบริหารจัดการข้าวให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมและบริบทของเกษตรกรใน
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง กลุ่มที่ 2 ต่อไป
2
วิธีการวิจัย
1. ขอบเขตเนื้อหา
1) วิเคราะห์การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทยในกลุ่มจังหวัดภาคเหนือ
ตอนล่าง กลุ่มที่ 2
2) วิเคราะห์กลยุทธ์การบริหารจัดการข้าวในพื้นที่กลุ่มจังหวัดภาคเหนือ
ตอนล่าง กลุ่มที่ 2
3) วิเคราะห์ปัญหาด้านการบริหารจัดการข้าวและกลยุทธ์การบริหารจัดการข้าว
เพื่อเกษตรกรไทยในกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง กลุ่มที่ 2
4) พัฒนาแนวทางการบริหารจัดการและกลยุทธ์ที่เหมาะสมในการบริหารจัดการ
ข้าวภายใต้สภาวะแวดล้อมและบริบทของเกษตรกรไทยในกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง กลุ่มที่ 2
2. ขอบเขตพื้นที่
ในการวิจัยในครั้งนี้ผู้วิจัยทาการศึกษาเฉพาะพื้นที่กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง
กลุ่มที่ 2 ประกอบด้วย จังหวัดกาแพงเพชร นครสวรรค์ พิจิตร และอุทัยธานี รวม 4 จังหวัด
3. ขอบเขตผู้ให้ข้อมูลสาคัญ
ผู้วิจัยได้กาหนดผู้ให้ข้อมูลคนสาคัญที่เป็นบุคคลซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบ หรือภารกิจ
ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทยในกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง กลุ่มที่ 2
ประกอบด้วย ผู้บริหารระดับสูง และระดับผู้ปฏิบัติโดยตรง และผู้ประกอบการในแต่ละด้าน ของ
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง กลุ่มที่ 2 ดังนี้
1) ด้านการผลิต ได้แก่ เกษตรจังหวัด กรมส่งเสริมการเกษตร (กลุ่มงานข้าว)
และเกษตรกรในจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง กลุ่มที่ 2
2) ด้านการตลาดและการแปรรูปข้าว ได้แก่ การค้าภายในจังหวัด พาณิชย์
จังหวัดผู้จัดการตลาดกลางข้าวและพืชไร่ ผู้จัดการโรงสี ผู้ส่งออกข้าวสาร และพ่อค้าข้าว ใน
จังหวัดภาคเหนือตอนล่าง กลุ่มที่ 2
3
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
1. การวิเคราะห์เอกสาร ผู้วิจัยวิเคราะห์เอกสาร โดยศึกษาจากเอกสารที่เป็นหลักฐานในการ
ดาเนินงานตามโครงการต่างๆ โดยดูลาดับการดาเนินงานตามโครงการ และความสอดคล้องของ
โครงการกับแผนปฏิบัติราชการ ยุทธศาสตร์ นโยบาย รายงานผลการดาเนินงาน
2. การสัมภาษณ์เชิงลึก ผู้วิจัยทาการสัมภาษณ์เชิงลึกโดยการสร้างความเป็นกันเองกับผู้รับการ
สัมภาษณ์ที่เป็น ผู้ประกอบการโรงสี ผู้ประกอบการตลาดกลางข้าวและพืชไร่ ผู้ส่งออกข้าว สาหรับ
ผู้รับการสัมภาษณ์ที่เป็นหัวหน้าส่วนราชการนั้น ผู้วิจัยได้ชี้แจงวัตถุประสงค์ของการสัมภาษณ์ และ
ขออนุญาตบันทึกเสียงการสัมภาษณ์เพื่อรักษาเวลาในการบันทึกข้อมูล โดยผู้วิจัยได้กาหนด
ประเด็นการขอสัมภาษณ์ ดังนี้
1)นโยบายการบริหารจัดการข้าวของรัฐ
2)ด้านปัจจัยการผลิต
3)ด้านอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องและสนับสนุน
4)ด้านความต้องการ (การตลาด)
5)ด้านกลยุทธโครงสร้างและการแข่งขัน
3. การสนทนากลุ่ม ผู้วิจัยทาการสนทนากลุ่มกับพาณิชย์จังหวัด เกษตรจังหวัด เกษตรอาเภอ
ผู้ประกอบการโรงสี กลุ่มเกษตรกรจังหวัดกาแพงเพชร นครสวรรค์ พิจิตรและอุทัยธานี และบุคคล
อื่นๆ ที่มีบริบทเกี่ยวข้องกับงานวิจัย โดยผู้วิจัยได้กาหนดประเด็นในการสนทนากลุ่ม ดังนี้
1) จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และข้อจากัด ในการบริหารจัดการข้าวในกลุ่มจังหวัด
ภาคเหนือตอนล่าง กลุ่มที่ 2
2) ยุทธศาสตร์มาตรการอันเป็นรูปธรรมที่เหมาะสมกับสภาวะแวดล้อมและบริบท
ของเกษตรไทยในกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง กลุ่มที่ 2
ผลการวิจัย
ผู้วิจัยขอนาเสนอแนวทางกลยุทธ์ที่เหมาะสมในการบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทยใน
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง กลุ่มที่ 2 ตามกรอบแนวคิดของการวิจัย ประกอบด้วย
1.กลยุทธ์โครงสร้างและการแข่งขัน แนวโน้มความต้องการ กฎระเบียบ
และปัจจัยแวดล้อม ของข้าวไทย
โครงสร้างตลาดข้าวของไทย มีลักษณะการแข่งขัน ความซับซ้อนในการแข่งขัน
4
และกฎระเบียบและปัจจัยแวดล้อมต่างๆ ถือได้ว่าโครงสร้างตลาด สภาวะการแข่งขันและแนวโน้ม
ความต้องการข้าวของไทย เป็นการตลาดแบบกึ่งแข่งขันแบบกึ่งผูกขาด ( monopolistic
competition) และสภาวะการแข่งขันในปัจจุบันยังไม่รุนแรงนักนอกจากนี้การแข่งขันระหว่างผู้
ส่งออกของไทยเองด้วยกันค่อนข้างรุนแรงขึ้น มีการขายตัดราคากันเอง เนื่องจากจานวนผู้ส่งออกที่
เพิ่มมากขึ้น และมีการแข่งด้านราคามากกว่าการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ โดยรวมแล้วแนวโน้มการ
แข่งขันในอนาคตจะมีความรุนแรงขึ้น
แนวโน้มความต้องการข้าวไทย ในอนาคตยังคงจะมีเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากการ
เพิ่มขึ้นของประชากรของโลก ปัจจัยแวดล้อมที่มีผลต่อการส่งออกข้าวของไทยประกอบด้วยการ
ขยายตัวของประชากร และรายได้ของผู้บริโภค ประกอบกับกลุ่มจังหวัดได้ดาเนินการการ
ประชาสัมพันธ์ การแนะนา และการตกลงความร่วมมือซื้อขายสินค้าอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้อัตรา
การแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศและกฎระเบียบและปัจจัยในประเทศที่สนับสนุน อาทิ การ
คุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญาที่คุ้มครองพันธุ์ข้าวของไทยล้วนมีส่วนส่งเสริมให้มีความต้องการ
สูงขึ้น
2.เงื่อนไขด้านความต้องการ
ด้านความต้องการของตลาด ราคา ชนิดข้าว พบว่าต้องมีการยกระดับมาตรฐาน
ข้าวโดยกาหนดมาตรฐานข้าวทั้งในด้านคุณภาพและราคา ส่งเสริมการบริโภคข้าวที่เพาะปลูกตาม
วิธีการเกษตรอินทรีย์ เพื่อเป็นการสร้างความมั่นใจให้กับเกษตรกรผู้ปลูกข้าวเกษตรอินทรีย์ อันเป็น
การประชาสัมพันธ์ข้าวของกลุ่มจังหวัด ในลักษณะเกื้อหนุนซึ่งกันและกัน อันจะส่งเสริมให้
เกษตรกรหันมาเพาะปลูกข้าวด้วยวิธีการดังกล่าวมากขึ้นและผลประโยชน์จะตกกับทุกภาคส่วน
การประชาสัมพันธ์ข้าวทางอ้อม อาทิ การเสริฟข้าวไทยเป็นอาหารบนเครื่องบิน
การเสริฟอาหารในระหว่างที่นักท่องเที่ยวพานักอยู่ในประเทศไทย รวมทั้งการขอความร่วมมือ
บริษัทท่องเที่ยวบรรจุรายการให้นักท่องเที่ยวได้มีโอกาสท่องเที่ยววิถีชีวิต การทานา การเก็บเกี่ยว
การแปรรูปข้าว อันจะทาให้นักท่องเที่ยวได้เกิดความเข้าใจ และประทับใจ ในข้าวไทยมากขึ้น และ
มีแนวโน้มที่จะบริโภคอาหารไทยในร้านอาหารไทยในต่างประเทศมากขึ้น
ส่งเสริมการพัฒนาการบรรจุภัณฑ์ที่สอดคล้องกับความต้องการแต่ละประเทศ
และความต้องการของผู้บริโภคในแต่ละกลุ่มเป้าหมาย การส่งมอบสินค้า ได้มาตรฐานและการลด
ต้นทุนเพื่อรองรับการแข่งขันรวมถึงการส่งมอบและการลดต้นทุนการขนส่งตามนโยบาย ฮับและ
สโปก (Hub and Spokes) ซึ่งเป็นจุดแข็งของกลุ่มภาคเหนือตอนล่าง กลุ่มที่ 2
5
3. เงื่อนไขด้านปัจจัยการผลิต
ปัญหาที่มีความสาคัญที่ควรได้รับการแก้ไขในลาดับแรกๆ ก็คือการคัดเลือกพันธุ์ที่
ใช้เพาะปลูกไม่ให้มีพันธุ์ปน สนับสนุนให้ใช้ปุ๋ยชีวภาพ และสารชีวภาพในการจากัดแมลง รวมทั้ง
การนาภูมิปัญญามาปรับใช้การเพาะปลูก นักวิชาการและนักวิจัยด้านพันธุ์ข้าวควรให้ความรู้
เผยแพร่ถ่ายทอดผลการวิจัยให้กับเกษตรกรด้านคุณสมบัติ และคุณลักษณะเฉพาะของพันธุ์แต่ละ
ชนิดเพื่อที่เกษตรกรจะได้นาพันธุ์ข้าวแต่ละชนิดไปใช้ให้เหมาะสมกับสภาพดิน น้า อากาศในแต่ละ
ช่วงการผลิตนั้นๆ
ส่งเสริมและพัฒนาการผลิตข้าวปลอดภัยในระยะปรับเปลี่ยนไปสู่การผลิตข้าว
เกษตรอินทรีย์ (Organic Rice) แบบยั่งยืนตามลาดับ โดยคานึงถึงความปลอดภัยของเกษตรกร
ผู้บริโภค รองรับการแข่งขันเสรีทางการค้าของโลกที่มีความรุนแรงที่มีแนวโน้มการกีดกันทางการค้า
ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาพันธุ์ข้าวที่เหมาะสมกับดินที่พื้นที่กลุ่มจังหวัดและนอก
กลุ่มจังหวัดที่มีผลผลิตต่อไร่สูง และสอดคล้องกับความต้องการผู้บริโภคทั้งในและต่างประเทศ
โดยความร่วมมือของสถาบันทางวิชาการ กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงกระเกษตรและสหกรณ์ และ
กระทรวงพาณิชย์ และกลุ่มเกษตรกรในกลุ่มจังหวัด
ส่งเสริมให้กลุ่มเกษตรกรมีการเรียนรู้แลกเปลี่ยนการผลิตข้าวในลักษณะการเรียนรู้
ช่วยเหลือ แบ่งปัน การช่วยเหลือแรงงาน ความคิด การพึ่งพาซึ่งกันและกัน อันเป็นการลดรายจ่าย
การรักสามัคคี การพึ่งตนเองซึ่งกันและกันในกลุ่ม รวมทั้งสนับสนุน ส่งเสริม แลกเปลี่ยนพัฒนาองค์
ความรู้กลุ่มเกษตรกรให้มีคุณภาพ คุณธรรม และรู้ทันการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์การผลิต
การตลาดของข้าวทั้งในประเทศ และต่างประเทศ
ส่งเสริมการรวมกลุ่มระดมทุน รูปแบบสหกรณ์ในการช่วยเหลือกันเรื่องทุนกู้ยืม ใน
กลุ่มชุมชน อาทิ กลุ่มเกษตรทานา โดยคิดดอกเบี้ยในราคาถูกกว่าการกู้ยืมจากธนาคาร จ่ายเงิน
คืนเป็นปันผลตามเรือนหุ้น
เร่งสนับสนุนพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจและเทคโนโลยี ประกอบด้วย
ระบบชลประทานให้เพียงพอกับการทานาปรัง และการขุดสระเก็บกักน้าไว้ใช้เมื่อยามจาเป็นใน
ฟาร์ม หรือส่วนรวมของกลุ่มเกษตรกรที่อยู่นอกเขตชลประทาน รวมทั้งสร้างถนน วางระบบไฟฟ้า
เพื่อให้เกิดความสะดวก และลดต้นทุนการเพาะปลูกข้าว
ส่งเสริมการคัดเลือกพันธุ์ข้าว และเพาะปลูกข้าวให้เกิดเอกลักษณ์ของแต่ละ
ชุมชนหรือจังหวัด
6
สนับสนุนพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานที่จาเป็นอาทิ ถนนสัญจรของเกษตรกรไป
ฟาร์มและจากฟาร์มสู่โรงสีและตลาดกลางข้าวและพืชไร่ ที่มีความสะดวก รวดเร็ว ลดการสูญเสีย
พลังงาน และค่าใช้จ่ายต้นทุนในการผลิตเพาะปลูกข้าว
ส่งเสริมเกษตรกรเพาะปลูกแบบผสมผสาน โดยจัดสรรพื้นที่ให้เหมาะสมกับการใช้
ประโยชน์ ตามแนวพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่ที่ยึดหลักทฤษฏีเศรษฐกิจพอเพียง
สถาบันการศึกษาควรถ่ายทอดเทคโนโลยีข้าว ทั้งหลักสูตรระยะสั้น และระยะยาว
รวมทั้งเป็นแหล่งการเรียนรู้ของเกษตรกร โดยการมีส่วนร่วมของภาคเอกชน ผู้ประกอบการโรงสี
และปราชญ์ชาวบ้านด้านเกษตรกรรม (ทานา) ร่วมจัดการเรียนการสอนทั้งภาคทฤษฏีและ
ภาคปฏิบัติ ที่เน้นการปฏิบัติจริง ทั้งนี้หลักสูตรควรสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม การทางานเป็นทีม
แบบมีส่วนร่วม เสริมความรักถิ่นฐานบ้านเกิด
เร่งส่งเสริมจัดระบบพื้นที่เพาะปลูกระบบโซนนิ่ง (Zoning) เพาะปลูกข้าวแต่ละ
ชนิดสายพันธุ์ ตามศักยภาพของดิน และพื้นที่ ตามหลักการเพาะปลูกที่เหมาะสม ( GAP) หากมี
การจัดระบบพื้นที่เพาะปลูก จะมีส่วนส่งเสริมเกษตรกรให้สามารถทาการเพาะปลูกได้อย่างมี
ประสิทธิภาพเนื่องจากภาครัฐจะระดมทรัพยากรเข้ามาในพื้นที่ได้อย่างถูกต้องไม่กระจัดกระจาย
รวมถึงการกาหนดนโยบายต่างๆ เช่น การพัฒนาที่ดิน ระบบชลประทาน ก่อตั้งกลุ่มสหกรณ์ /โรงสี
ชุมชน ตลอดจนการจัดหาเมล็ดพันธุ์ข้าวที่มีคุณภาพและเหมาะสมกับพื้นที่ได้อย่างเพียงพอ
4.อุตสาหกรรมเกี่ยวเนื่องและสนับสนุน
ควรส่งเสริมให้มีการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีในการสีข้าว การปรับปรุงคุณภาพ
ข้าว ส่งเสริมให้มีการผลิตเครื่องจักรและเครื่องมือที่เกี่ยวข้องเหล่านี้ภายในกลุ่มจังหวัดและ
ภายในประเทศ ซึ่งจะเป็นการส่งเสริมความได้เปรียบของกลุ่มจังหวัดและของประเทศลดการนาเข้า
เครื่องจักรจากต่างประเทศและประหยัดเงินตราของประเทศได้ด้วย
ควรส่งเสริมให้มีการลงทุนจากต่างประเทศหรือร่วมทุนกับต่างประเทศ ในขอบเขต
และศักยภาพที่เหมาะสม ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการผลิตและการแปรรูปข้าว เพื่อที่คนไทยหรือ
ผู้ประกอบการของไทยจะได้เรียนรู้เทคโนโลยีใหม่ๆ จากต่างประเทศในการแปรรูปข้าว เนื่องจาก
อุตสาหกรรมการแปรรูปข้าวของไทยยังมีน้อย และเทคโนโลยีภายในประเทศยังไม่ได้รับการพัฒนา
ในขั้นสูงมากนัก
สนับสนุนให้มีการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการเก็บเกี่ยวข้าว เทคโนโลยีภายหลัง
การเก็บเกี่ยว เทคโนโลยีการสีข้าว เทคโนโลยีการปรับปรุงข้าว พร้อมทั้งเครื่องมือในการตรวจสอบ
คุณภาพข้าวเปลือกและข้าวสาร ผ่านความร่วมมือระหว่างสถาบันการศึกษากับภาคเอกชน
7
S 2
สร้างมาตรฐาน
การแปรรูป
S 3
สร้างมาตรฐาน
การตลาด
S 1
สร้างมาตรฐาน
การผลิต
C
สร้างมาตรฐานวิชาชีพการ
จัดการข้าว
เนื่องจากปัจจุบันการสีข้าวของประเทศรวมทั้งของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง กลุ่มที่ 2
เนื่องจากเครื่องจักรที่นาเข้าจากต่างประเทศยังไม่เหมาะสมกับลักษณะเมล็ดข้าวไทยนัก
สนับสนุน ส่งเสริม และกาหนดมาตรการด้านมาตรฐานโรงงานแปรรูป เป็นไปตาม
มาตรฐานสากล 3 ด้าน คือ มาตรฐานด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยใน
โรงงาน (ISO 14000) มาตรฐานด้านระบบการจัดการสุขลักษณะที่ดีในการผลิตอาหาร ( GMP)
และมาตรฐานด้านระบบการวิเคราะห์อันตรายและจุดวิกฤตที่ต้องควบคุมในการผลิตอาหาร
(HACCP) เพื่อรองรับมาตรการการกีดกันทางการค้า และรองรับการเปิดเสรีทางการค้า
กลยุทธการ บริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทย ต้องอาศัยความพร้อมในด้าน
ต่างๆ เพื่อให้การบริหารจัดการข้าว เพื่อเกษตรกรไทย ในกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง กลุ่มที่ 2
สัมฤทธิ์ผลตามกรอบแนวคิดการบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทย โดยจะต้องมีการบูรณาการ
ภารกิจต่างๆ เพื่อให้การบริหารจัดการข้าวบรรลุผลสาเร็จ โดยผู้วิจัยขอนาเสนอกลยุทธที่ได้จากการ
เก็บรวบรวมข้อมูลในการทาวิจัยครั้งนี้ ตาม
โมเดลใหม่ (1C 3S 8D Model ) ดังนี้
ภาพที่ 1 1C 3S 8D Model
D 2
พัฒนาระบบเครือข่าย
การจัดการข้าว
D 3
พัฒนามาตรฐาน
คุณภาพของสถานที่
ผลิต (ไร่นา) แปรรูป
และบรรจุภัณฑ์
(โรงงาน)
D 4
พัฒนาระบบการให้
ความรู้ของผู้ที่เกี่ยวข้อง
D 5
พัฒนาหลักสูตรการ
ฝึกอบรมด้านการ
จัดการข้าว
D 6
พัฒนาระบบเครือข่าย
การจัดการข้าว
D 7
พัฒนาระบบงานวิจัย
และพัฒนานวัตกรรม
D 8
พัฒนาระบบ รูปแบบ
ของการติดตาม
ประเมินผล
D 1
พัฒนาศักยภาพผู้ที่
เกี่ยวข้อง
8
สรุป อภิปรายและข้อเสนอแนะ
1. การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทยในกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง กลุ่มที่ 2
เป็นการบริหารที่สอดรับกับการบริหารงานตามยุทธศาสตร์การพัฒนากลุ่มจังหวัดที่ตอบสนองนโยบายของ
รัฐบาลเพื่อรองรับการแข่งขันของประเทศ
2.กลยุทธ์การบริหารจัดการข้าวในพื้นที่กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง กลุ่มที่ 2
ด้านการผลิต มีพื้นที่การผลิตข้าวคุณภาพภายใต้หลักการเกษตรที่เหมาะสมผ่าน
การรับรองจากรมวิชาการเกษตรหรือสถาบันทางวิชาการที่เป็นกลาง ( Good Agricultural
Practice : GAP) ดาเนินการมาตั้งแต่ปี 2546 มีพื้นที่ดาเนินการจานวน 14,800 ไร่ และในปี พ.ศ.
2549 กลุ่มจังหวัดมีเป้าหมาย จานวน 30,000 ไร่ ซึ่งมีผลการดาเนินงาน เกินเป้าหมายที่วางแผนไว้
ทั้ง 2 ปีซึ่งการผลิตข้าว (GAP) เป็นกระบวนการที่เน้นหนักในการเรียนรู้และสร้างความเข้าใจให้กับ
เกษตรกรผู้ผลิต และพื้นที่ดาเนินการเป็นพื้นที่นาน้าฝน ควรดาเนินการให้ครอบคลุมทุกพื้นที่เพื่อให้
เกษ๖รกรได้รับมาตรฐานฟาร์มทุกฟาร์ม เป็นการยกมาตรฐานการผลิตข้าวของไทย และเป็นแก้ไข
ปัญหาการกีดกันทางการค้าข้าวของไทยในตลาดโลกที่ว่าด้วยสารพิษตกค้าง
ด้านการเพิ่มมูลค่า กลุ่มจังหวัดมีการดาเนินโครงการแปรรูปข้าว พัฒนาเทคโนโลยี
การแปรรูปผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ การสร้างเอกลักษณ์ และการสร้างตราสินค้าให้กับกลุ่ม
เกษตรกรที่เข้าไปร่วมโครงการข้าวคุณภาพภายใต้หลักการเกษตรที่เหมาะสม (GPA) และให้
ความรู้ด้านการตลาด และพัฒนาสินค้าให้ได้มาตรฐาน และสอดคล้องกับความต้องการของ
ตลาด เพื่อส่งเสริมและขยายฐานการตลาด
ด้านการตลาด มีการจัดระบบการค้าให้มีมาตรฐานและเป็นธรรม การค้าผ่าน
ระบบแบบหักบัญชี มีระบบการตรวจสอบคุณภาพข้าว และรับรองคุณภาพและมาตรฐานข้าว
จัดตั้งศูนย์กลางขนส่งข้าวและการส่งออกแบบเบ็ดเสร็จและทางกลุ่มจังหวัดควรจะขยายตลาดเป็น
การรวมการดาเนินการเป็นกลุ่มจังหวัดเพื่อเพิ่มอานาจการต่อรอง และการขายข้าวในราคา
เดียวกันในนามกลุ่มจังหวัด และควรสนับสนุนภาคเอกชนทาการตลาดข้าวแบบการจัดทาสัญญา
ข้อตกลงทางการค้า (Contract Farming) ที่สอดรับกับที่ทางกลุ่มดาเนินการผลิตข้าวผลิตข้าว
คุณภาพภายใต้หลักการเกษตรที่เหมาะสม ( Good Agricultural Practice : GAP) สามารถเพิ่ม
ศักยภาพการส่งออกของกลุ่มจังหวัด และที่สาคัญสามารถแก้ไขการกีดกันทางการค้าของประเทศ
คู่ค้าของไทย ด้วยมาตรการภาษี (Tariff Barrier) และมาตรการที่มิใช่ภาษี (Non-Tariff Barrier)
โดยเฉพาะการอ้างปัญหาด้านสุขอนามัยพืช (โรคพืชและแมลง)
9
ด้านการวิจัยและพัฒนา มีการวิจัยและพัฒนาพันธุ์ข้าว เครื่องกลการเกษตร การ
วิจัยและพัฒนาตลาดทั้งภายในและต่างประเทศ การวิจัยตรวจสอบคุณภาพอาหารและผลิตภัณฑ์
แปรรูปจากผลผลิตทางการเกษตร วิจัยและพัฒนาเครื่องผลิตปุ๋ยอัดเม็ด การดาเนินงานยังไม่
สามารถบรรลุเป้าหมาย กลุ่มจังหวัดควรวิจัยพัฒนาพันธุ์ข้าวที่เหมาะสมและเพิ่มผลผลิตที่เป็น
เอกลักษณ์ของกลุ่มจังหวัด ควรมีการวิจัยพัฒนาตลาดข้าวทั้งในประเทศ (กลุ่มจังหวัดอื่น) และ
ต่างประเทศ เพื่อเพิ่มศักยภาพทางการตลาดข้าวของกลุ่มจังหวัด ควรมีการวิจัยแปรรูปข้าวที่ผลิต
ในกลุ่มจังหวัดให้สามารถนามาเป็นวัตถุดิบในการผลิตอาหารแทนการใช้แป้งข้าวสาลี โดยเฉพาะ
การผลิตขนมพื้นเมือง อาทิ ขนมโมจิ ของจังหวัดนครสวรรค์ เป็นการลดการนาเข้าแป้งสาลีจาก
ต่างประเทศได้ นอกจากนี้ควรมียุทธศาสตร์ในการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพเพื่อการ
ปรับปรุงและอนุรักษ์พันธุ์ข้าว และการพัฒนาเครื่องจักรกลการเกษตร และการแปรรูปข้าว ที่
เหมาะสมกับพันธุ์ ฟาร์มขนาดเล็ก และการเพาะปลูกเชิงพาณิชย์
3. ปัญหาด้านการบริหารจัดการข้าวและกลยุทธ์การบริหารจัดการข้าวเพื่อ
เกษตรกรไทยในกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง กลุ่มที่ 2
4. การบริหารจัดการข้าวภายใต้สภาวะแวดล้อมและบริบทของเกษตรกรไทยใน
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง กลุ่มที่ 2มีความได้เปรียบในการแข่งขันสามารถกาหนดกลยุทธ ใน
การบริหารจัดการข้าวเพื่อให้เกษตรกรในกลุ่มจังหวัด มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นอย่างยั่งยืน ตาม
แนวทางการพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง โดยวิธีเกษตรแบบผสมผสานโดยต้องอาศัยความ
พร้อมและมีการบูรณาการภารกิจต่างๆ เพื่อให้การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทย ในกลุ่มจังหวัด
ภาคเหนือตอนล่าง กลุ่มที่ 2 บรรลุผลมีแนวทางการบริหารจัดการและกลยุทธ์ที่เหมาะสมในการ
บริหารจัดการ ตามโมเดล 1C 3S 8D Model
ข้อเสนอแนะ
1. ข้อเสนอแนะเพื่อการนาไปใช้
1) ควรมีการแต่งตั้ง คณะกรรมการทางานการจัดระเบียบสังคมจังหวัดนครสวรรค์
คณะกรรมการจัดระเบียบสังคมจังหวัดนครสวรรค์ และทีมปฏิบัติงานจัดระเบียบสังคมนครสวรรค์
10
อย่างต่อเนื่องทุกปี และให้คณะกรรมการดาเนินงานอย่างต่อเนื่อง มีการประชุมสรุปผลการ
ดาเนินงานเดือนละครั้ง โดยจัดให้มีวาระการประชุม บันทึกรายงานการประชุม เป็นหลักฐาน
2) รัฐบาลจัดตั้งหน่วยงานใหม่สังกัดกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย คือ
สานักงานจัดระเบียบสังคมจังหวัด / อาเภอ มาทาหน้าที่รับผิดชอบ ดูแลการจัดระเบียบสังคมใน
ระดับจังหวัดและอาเภอเป็นการเฉพาะ มีการกาหนดบทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ในหน่วยงาน
อย่างชัดเจน และควรมีการเชื่อมโยงกับหน่วยงานอื่น ๆ และสถานศึกษาเพื่อดูแลเยาวชนอย่าง
จริงจัง
3 ) สถานศึกษาแต่ละแห่งควรมีหัวหน้างานแนะแนวที่มีความรู้ ความเข้าใจ และ
เป็นนักให้คาปรึกษาที่มีความเชี่ยวชาญพิเศษ ประจาสถานศึกษา เพื่อดูแลงานด้านการแนะแนว
การให้คาปรึกษา และพัฒนาพฤติกรรมผู้เรียนได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
.4) สถานศึกษาแต่ละแห่งจัดส่งครู อาจารย์ที่เป็นหัวหน้างานแนะแนว หรือ
เจ้าหน้าที่งานแนะแนวเข้ารับการอบรมความรู้ และวิทยาการใหม่ ๆ จากสมาคมแนะแนวแห่ง
ประเทศไทย เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะใหม่ ๆ ตลอดจนนวัตกรรมที่เหมาะสมมาใช้ส่งเสริม
พัฒนาพฤติกรรมผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง สม่าเสมอ
5) สถานศึกษาควรจัดให้มีการนิเทศการเรียนการสอนอย่างจริงจังในทุกภาค
เรียน รวมทั้งจัดให้มีการประเมินการสอนโดยผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนได้สะท้อนภาพการสอนของครู
แต่ละคนได้นาผลการประเมินไปปรับปรุงการสอนให้ตรงตามความสนใจของผู้เรียน และทาให้เกิด
การบูรณาการความต้องการของผู้สอน และผู้เรียนเข้าด้วยกันอย่างเหมาะสม
6 ) ในการพัฒนาพฤติกรรมนักเรียนนักศึกษาอาชีวศึกษา ควรมีการระดม
ความคิดจากนักจิตวิทยา จิตแพทย์ ครูแนะแนวในการกาหนดมาตรฐาน วิธีการ ขั้นตอน กิจกรรม
ต่าง ๆ มาใช้ปฏิบัติในการพัฒนาพฤติกรรมผู้เรียน รวมทั้งขั้นตอนการปฏิบัติเพื่อแก้ไขพฤติกรรมที่
ไม่เหมาะสมแต่ละอย่างอย่างชัดเจน ตลอดจนส่งเสริมการทาการศึกษารายกรณี ( Case Study)
ให้แก่ ครู อาจารย์ที่ปรึกษาประจากลุ่มเรียนอย่างจริงจัง
2. ข้อเสนอแนะทางวิชาการ
1) การศึกษาวิจัยการบริหารจัดการข้าวเพื่อ ให้เกษตรกรมีความเป็นอยู่ที่ดีอย่าง
ยั่งยืนควรมีการนาแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการศึกษาวิจัย
11
2) ควรทาการศึกษาวิจัยการบริหารจัดการข้าวในกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง
กลุ่มที่ 2 ให้คลอบคลุมทุกพันธุ์ข้าวเนื่องจากความหลากหลายและข้าวแต่ละพันธุ์มีความเป็น
เอกลักษณ์และมีข้อจากัด
3) ทาการศึกษาวิจัย การบริหารจัดการผลิตผลทางการเกษตรอื่นเพื่อการแข่งขัน
ของเกษตรกรไทย เพื่อรองรับการทาข้อตกลงทางการค้าของไทยกับต่างประเทศ
บรรณานุกรม
ฉัตรทิพย์ นากสุภา. (2541). ทฤษฎีและแนวคิดเศรษฐกิจชุมชนชาวนา.
โครงการวิถีทรรศน์.กรุงเทพมหานคร.
ณัฐวุฒิ ภาษวรรณ. (2541).เกษตรทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชดาริจากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ
เพื่อเศรษฐกิจแบบพอเพียง .สานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 1 กรม
วิชาการเกษตร.
วิมลพรรณ ปีตธวัชชัย. (2548). ข้าวของพ่อ. กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์ดีเอ็มจี.
วุฒิ เอราวัณ. (2549). อุปสงค์ ราคาและยุทธศาสตร์การแข่งขันของข้าวหอมมะลิไทยใน
ตลาดโลก. ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิตทางสังคมศาสตร์ สาขาบริหารธุรกิจ.
มหาวิทยาลัยรามคาแหง.
Arthur C. Sturm.(2005). A key strategy to revenue growth: the right marketing
infrastructure: not all successful revenue strategies are focused externally.
Sometimes the strongest strategies are built from within Healthcare
Financial Management
Kotler . P. (1997). Marketing Management .New Jersey : Prentice - Hall. Inc.
_____. (1999). Marketing management – an Asian perspective. 2 nd edition. Singapore:
Prentice Hall.
Krugman, P. (1995). A Growing Wkorld Trade: Causes and Consequences. Mimeo:
Stanford University.
Lambert D. M., Stock J. R. and Ellram L. M. (1998). Fundamentals to Logistics
Management. USA. Mcgraw-Hill.

More Related Content

ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการྺ้าวเพื่อ๶กษตรกรไทย

  • 1. กลยุทธการบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทย : กรณีศึกษากลุ่มจังหวัดภาคเหนือ ตอนล่าง กลุ่มที่ 2 โดย ดร.วราภรณ์ ทรัพย์รวงทอง คานา ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ มีลักษณะภูมิประเทศ และ ภูมิอากาศที่เหมาะสมต่อการเพาะปลูก ร้อยละ 80 ของครัวเรือนเกษตรทาการเพาะปลูกข้าว มี ปริมาณการผลิตข้าวเปลือกร้อยละ 4 ของผลผลิตโลก และส่งออกเป็นอันดับ 1 ของโลก ประเทศ ไทยเป็นประเทศผู้ส่งออกข้าวรายใหญ่แต่ประชากรที่ประกอบอาชีพทางการเกษตรของ ไทยส่วนใหญ่ยังยากจนมีรายได้ต่ากว่าประชากรที่ประกอบอาชีพอื่นๆ มาตั้งแต่อดีต จนถึงปัจจุบัน เนื่องจากการเพาะปลูกต้องพึ่งพิงธรรมชาติประกอบกับระบบเศรษฐกิจแบบทุน นิยมที่หลั่งไหลเข้ามาซ้าเติมให้เกิดความทุกข์ยาก การดาเนินนโยบายเพื่อแก้ปัญหาเรื่องข้าว ที่ผ่านมา ส่วนใหญ่เป็นการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าและในระยะสั้นเท่านั้น ไม่ได้เป็นการแก้ไขปัญหา ที่เกิดขึ้นอย่างถาวรและยั่งยืน ตลอดจนทาให้กลไกตลาดบิดเบือน เพื่อให้การแก้ไขปัญหาข้าวเป็นไปอย่างเป็นระบบ เพื่อสร้างความเข้มแข็งของระบบ การผลิต การตลาด การค้าข้าวอย่างยั่งยืน เพื่อให้เกษตรกรได้รับประโยชน์สูงสุดและมีฐานะ ความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น จึงได้มีการดาเนินการศึกษาเรื่องกลยุทธการบริหารจัดการข้าวเพื่อ เกษตรกรไทย : กรณีศึกษากลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง กลุ่มที่ 2 เพื่อเป็นแนวทางในการกาหนด ปรับปรุง กลยุทธการบริหารจัดการข้าวให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมและบริบทของเกษตรกรใน กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง กลุ่มที่ 2 ต่อไป
  • 2. 2 วิธีการวิจัย 1. ขอบเขตเนื้อหา 1) วิเคราะห์การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทยในกลุ่มจังหวัดภาคเหนือ ตอนล่าง กลุ่มที่ 2 2) วิเคราะห์กลยุทธ์การบริหารจัดการข้าวในพื้นที่กลุ่มจังหวัดภาคเหนือ ตอนล่าง กลุ่มที่ 2 3) วิเคราะห์ปัญหาด้านการบริหารจัดการข้าวและกลยุทธ์การบริหารจัดการข้าว เพื่อเกษตรกรไทยในกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง กลุ่มที่ 2 4) พัฒนาแนวทางการบริหารจัดการและกลยุทธ์ที่เหมาะสมในการบริหารจัดการ ข้าวภายใต้สภาวะแวดล้อมและบริบทของเกษตรกรไทยในกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง กลุ่มที่ 2 2. ขอบเขตพื้นที่ ในการวิจัยในครั้งนี้ผู้วิจัยทาการศึกษาเฉพาะพื้นที่กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง กลุ่มที่ 2 ประกอบด้วย จังหวัดกาแพงเพชร นครสวรรค์ พิจิตร และอุทัยธานี รวม 4 จังหวัด 3. ขอบเขตผู้ให้ข้อมูลสาคัญ ผู้วิจัยได้กาหนดผู้ให้ข้อมูลคนสาคัญที่เป็นบุคคลซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบ หรือภารกิจ ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทยในกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง กลุ่มที่ 2 ประกอบด้วย ผู้บริหารระดับสูง และระดับผู้ปฏิบัติโดยตรง และผู้ประกอบการในแต่ละด้าน ของ กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง กลุ่มที่ 2 ดังนี้ 1) ด้านการผลิต ได้แก่ เกษตรจังหวัด กรมส่งเสริมการเกษตร (กลุ่มงานข้าว) และเกษตรกรในจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง กลุ่มที่ 2 2) ด้านการตลาดและการแปรรูปข้าว ได้แก่ การค้าภายในจังหวัด พาณิชย์ จังหวัดผู้จัดการตลาดกลางข้าวและพืชไร่ ผู้จัดการโรงสี ผู้ส่งออกข้าวสาร และพ่อค้าข้าว ใน จังหวัดภาคเหนือตอนล่าง กลุ่มที่ 2
  • 3. 3 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1. การวิเคราะห์เอกสาร ผู้วิจัยวิเคราะห์เอกสาร โดยศึกษาจากเอกสารที่เป็นหลักฐานในการ ดาเนินงานตามโครงการต่างๆ โดยดูลาดับการดาเนินงานตามโครงการ และความสอดคล้องของ โครงการกับแผนปฏิบัติราชการ ยุทธศาสตร์ นโยบาย รายงานผลการดาเนินงาน 2. การสัมภาษณ์เชิงลึก ผู้วิจัยทาการสัมภาษณ์เชิงลึกโดยการสร้างความเป็นกันเองกับผู้รับการ สัมภาษณ์ที่เป็น ผู้ประกอบการโรงสี ผู้ประกอบการตลาดกลางข้าวและพืชไร่ ผู้ส่งออกข้าว สาหรับ ผู้รับการสัมภาษณ์ที่เป็นหัวหน้าส่วนราชการนั้น ผู้วิจัยได้ชี้แจงวัตถุประสงค์ของการสัมภาษณ์ และ ขออนุญาตบันทึกเสียงการสัมภาษณ์เพื่อรักษาเวลาในการบันทึกข้อมูล โดยผู้วิจัยได้กาหนด ประเด็นการขอสัมภาษณ์ ดังนี้ 1)นโยบายการบริหารจัดการข้าวของรัฐ 2)ด้านปัจจัยการผลิต 3)ด้านอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องและสนับสนุน 4)ด้านความต้องการ (การตลาด) 5)ด้านกลยุทธโครงสร้างและการแข่งขัน 3. การสนทนากลุ่ม ผู้วิจัยทาการสนทนากลุ่มกับพาณิชย์จังหวัด เกษตรจังหวัด เกษตรอาเภอ ผู้ประกอบการโรงสี กลุ่มเกษตรกรจังหวัดกาแพงเพชร นครสวรรค์ พิจิตรและอุทัยธานี และบุคคล อื่นๆ ที่มีบริบทเกี่ยวข้องกับงานวิจัย โดยผู้วิจัยได้กาหนดประเด็นในการสนทนากลุ่ม ดังนี้ 1) จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และข้อจากัด ในการบริหารจัดการข้าวในกลุ่มจังหวัด ภาคเหนือตอนล่าง กลุ่มที่ 2 2) ยุทธศาสตร์มาตรการอันเป็นรูปธรรมที่เหมาะสมกับสภาวะแวดล้อมและบริบท ของเกษตรไทยในกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง กลุ่มที่ 2 ผลการวิจัย ผู้วิจัยขอนาเสนอแนวทางกลยุทธ์ที่เหมาะสมในการบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทยใน กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง กลุ่มที่ 2 ตามกรอบแนวคิดของการวิจัย ประกอบด้วย 1.กลยุทธ์โครงสร้างและการแข่งขัน แนวโน้มความต้องการ กฎระเบียบ และปัจจัยแวดล้อม ของข้าวไทย โครงสร้างตลาดข้าวของไทย มีลักษณะการแข่งขัน ความซับซ้อนในการแข่งขัน
  • 4. 4 และกฎระเบียบและปัจจัยแวดล้อมต่างๆ ถือได้ว่าโครงสร้างตลาด สภาวะการแข่งขันและแนวโน้ม ความต้องการข้าวของไทย เป็นการตลาดแบบกึ่งแข่งขันแบบกึ่งผูกขาด ( monopolistic competition) และสภาวะการแข่งขันในปัจจุบันยังไม่รุนแรงนักนอกจากนี้การแข่งขันระหว่างผู้ ส่งออกของไทยเองด้วยกันค่อนข้างรุนแรงขึ้น มีการขายตัดราคากันเอง เนื่องจากจานวนผู้ส่งออกที่ เพิ่มมากขึ้น และมีการแข่งด้านราคามากกว่าการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ โดยรวมแล้วแนวโน้มการ แข่งขันในอนาคตจะมีความรุนแรงขึ้น แนวโน้มความต้องการข้าวไทย ในอนาคตยังคงจะมีเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากการ เพิ่มขึ้นของประชากรของโลก ปัจจัยแวดล้อมที่มีผลต่อการส่งออกข้าวของไทยประกอบด้วยการ ขยายตัวของประชากร และรายได้ของผู้บริโภค ประกอบกับกลุ่มจังหวัดได้ดาเนินการการ ประชาสัมพันธ์ การแนะนา และการตกลงความร่วมมือซื้อขายสินค้าอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้อัตรา การแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศและกฎระเบียบและปัจจัยในประเทศที่สนับสนุน อาทิ การ คุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญาที่คุ้มครองพันธุ์ข้าวของไทยล้วนมีส่วนส่งเสริมให้มีความต้องการ สูงขึ้น 2.เงื่อนไขด้านความต้องการ ด้านความต้องการของตลาด ราคา ชนิดข้าว พบว่าต้องมีการยกระดับมาตรฐาน ข้าวโดยกาหนดมาตรฐานข้าวทั้งในด้านคุณภาพและราคา ส่งเสริมการบริโภคข้าวที่เพาะปลูกตาม วิธีการเกษตรอินทรีย์ เพื่อเป็นการสร้างความมั่นใจให้กับเกษตรกรผู้ปลูกข้าวเกษตรอินทรีย์ อันเป็น การประชาสัมพันธ์ข้าวของกลุ่มจังหวัด ในลักษณะเกื้อหนุนซึ่งกันและกัน อันจะส่งเสริมให้ เกษตรกรหันมาเพาะปลูกข้าวด้วยวิธีการดังกล่าวมากขึ้นและผลประโยชน์จะตกกับทุกภาคส่วน การประชาสัมพันธ์ข้าวทางอ้อม อาทิ การเสริฟข้าวไทยเป็นอาหารบนเครื่องบิน การเสริฟอาหารในระหว่างที่นักท่องเที่ยวพานักอยู่ในประเทศไทย รวมทั้งการขอความร่วมมือ บริษัทท่องเที่ยวบรรจุรายการให้นักท่องเที่ยวได้มีโอกาสท่องเที่ยววิถีชีวิต การทานา การเก็บเกี่ยว การแปรรูปข้าว อันจะทาให้นักท่องเที่ยวได้เกิดความเข้าใจ และประทับใจ ในข้าวไทยมากขึ้น และ มีแนวโน้มที่จะบริโภคอาหารไทยในร้านอาหารไทยในต่างประเทศมากขึ้น ส่งเสริมการพัฒนาการบรรจุภัณฑ์ที่สอดคล้องกับความต้องการแต่ละประเทศ และความต้องการของผู้บริโภคในแต่ละกลุ่มเป้าหมาย การส่งมอบสินค้า ได้มาตรฐานและการลด ต้นทุนเพื่อรองรับการแข่งขันรวมถึงการส่งมอบและการลดต้นทุนการขนส่งตามนโยบาย ฮับและ สโปก (Hub and Spokes) ซึ่งเป็นจุดแข็งของกลุ่มภาคเหนือตอนล่าง กลุ่มที่ 2
  • 5. 5 3. เงื่อนไขด้านปัจจัยการผลิต ปัญหาที่มีความสาคัญที่ควรได้รับการแก้ไขในลาดับแรกๆ ก็คือการคัดเลือกพันธุ์ที่ ใช้เพาะปลูกไม่ให้มีพันธุ์ปน สนับสนุนให้ใช้ปุ๋ยชีวภาพ และสารชีวภาพในการจากัดแมลง รวมทั้ง การนาภูมิปัญญามาปรับใช้การเพาะปลูก นักวิชาการและนักวิจัยด้านพันธุ์ข้าวควรให้ความรู้ เผยแพร่ถ่ายทอดผลการวิจัยให้กับเกษตรกรด้านคุณสมบัติ และคุณลักษณะเฉพาะของพันธุ์แต่ละ ชนิดเพื่อที่เกษตรกรจะได้นาพันธุ์ข้าวแต่ละชนิดไปใช้ให้เหมาะสมกับสภาพดิน น้า อากาศในแต่ละ ช่วงการผลิตนั้นๆ ส่งเสริมและพัฒนาการผลิตข้าวปลอดภัยในระยะปรับเปลี่ยนไปสู่การผลิตข้าว เกษตรอินทรีย์ (Organic Rice) แบบยั่งยืนตามลาดับ โดยคานึงถึงความปลอดภัยของเกษตรกร ผู้บริโภค รองรับการแข่งขันเสรีทางการค้าของโลกที่มีความรุนแรงที่มีแนวโน้มการกีดกันทางการค้า ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาพันธุ์ข้าวที่เหมาะสมกับดินที่พื้นที่กลุ่มจังหวัดและนอก กลุ่มจังหวัดที่มีผลผลิตต่อไร่สูง และสอดคล้องกับความต้องการผู้บริโภคทั้งในและต่างประเทศ โดยความร่วมมือของสถาบันทางวิชาการ กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงกระเกษตรและสหกรณ์ และ กระทรวงพาณิชย์ และกลุ่มเกษตรกรในกลุ่มจังหวัด ส่งเสริมให้กลุ่มเกษตรกรมีการเรียนรู้แลกเปลี่ยนการผลิตข้าวในลักษณะการเรียนรู้ ช่วยเหลือ แบ่งปัน การช่วยเหลือแรงงาน ความคิด การพึ่งพาซึ่งกันและกัน อันเป็นการลดรายจ่าย การรักสามัคคี การพึ่งตนเองซึ่งกันและกันในกลุ่ม รวมทั้งสนับสนุน ส่งเสริม แลกเปลี่ยนพัฒนาองค์ ความรู้กลุ่มเกษตรกรให้มีคุณภาพ คุณธรรม และรู้ทันการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์การผลิต การตลาดของข้าวทั้งในประเทศ และต่างประเทศ ส่งเสริมการรวมกลุ่มระดมทุน รูปแบบสหกรณ์ในการช่วยเหลือกันเรื่องทุนกู้ยืม ใน กลุ่มชุมชน อาทิ กลุ่มเกษตรทานา โดยคิดดอกเบี้ยในราคาถูกกว่าการกู้ยืมจากธนาคาร จ่ายเงิน คืนเป็นปันผลตามเรือนหุ้น เร่งสนับสนุนพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจและเทคโนโลยี ประกอบด้วย ระบบชลประทานให้เพียงพอกับการทานาปรัง และการขุดสระเก็บกักน้าไว้ใช้เมื่อยามจาเป็นใน ฟาร์ม หรือส่วนรวมของกลุ่มเกษตรกรที่อยู่นอกเขตชลประทาน รวมทั้งสร้างถนน วางระบบไฟฟ้า เพื่อให้เกิดความสะดวก และลดต้นทุนการเพาะปลูกข้าว ส่งเสริมการคัดเลือกพันธุ์ข้าว และเพาะปลูกข้าวให้เกิดเอกลักษณ์ของแต่ละ ชุมชนหรือจังหวัด
  • 6. 6 สนับสนุนพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานที่จาเป็นอาทิ ถนนสัญจรของเกษตรกรไป ฟาร์มและจากฟาร์มสู่โรงสีและตลาดกลางข้าวและพืชไร่ ที่มีความสะดวก รวดเร็ว ลดการสูญเสีย พลังงาน และค่าใช้จ่ายต้นทุนในการผลิตเพาะปลูกข้าว ส่งเสริมเกษตรกรเพาะปลูกแบบผสมผสาน โดยจัดสรรพื้นที่ให้เหมาะสมกับการใช้ ประโยชน์ ตามแนวพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่ที่ยึดหลักทฤษฏีเศรษฐกิจพอเพียง สถาบันการศึกษาควรถ่ายทอดเทคโนโลยีข้าว ทั้งหลักสูตรระยะสั้น และระยะยาว รวมทั้งเป็นแหล่งการเรียนรู้ของเกษตรกร โดยการมีส่วนร่วมของภาคเอกชน ผู้ประกอบการโรงสี และปราชญ์ชาวบ้านด้านเกษตรกรรม (ทานา) ร่วมจัดการเรียนการสอนทั้งภาคทฤษฏีและ ภาคปฏิบัติ ที่เน้นการปฏิบัติจริง ทั้งนี้หลักสูตรควรสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม การทางานเป็นทีม แบบมีส่วนร่วม เสริมความรักถิ่นฐานบ้านเกิด เร่งส่งเสริมจัดระบบพื้นที่เพาะปลูกระบบโซนนิ่ง (Zoning) เพาะปลูกข้าวแต่ละ ชนิดสายพันธุ์ ตามศักยภาพของดิน และพื้นที่ ตามหลักการเพาะปลูกที่เหมาะสม ( GAP) หากมี การจัดระบบพื้นที่เพาะปลูก จะมีส่วนส่งเสริมเกษตรกรให้สามารถทาการเพาะปลูกได้อย่างมี ประสิทธิภาพเนื่องจากภาครัฐจะระดมทรัพยากรเข้ามาในพื้นที่ได้อย่างถูกต้องไม่กระจัดกระจาย รวมถึงการกาหนดนโยบายต่างๆ เช่น การพัฒนาที่ดิน ระบบชลประทาน ก่อตั้งกลุ่มสหกรณ์ /โรงสี ชุมชน ตลอดจนการจัดหาเมล็ดพันธุ์ข้าวที่มีคุณภาพและเหมาะสมกับพื้นที่ได้อย่างเพียงพอ 4.อุตสาหกรรมเกี่ยวเนื่องและสนับสนุน ควรส่งเสริมให้มีการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีในการสีข้าว การปรับปรุงคุณภาพ ข้าว ส่งเสริมให้มีการผลิตเครื่องจักรและเครื่องมือที่เกี่ยวข้องเหล่านี้ภายในกลุ่มจังหวัดและ ภายในประเทศ ซึ่งจะเป็นการส่งเสริมความได้เปรียบของกลุ่มจังหวัดและของประเทศลดการนาเข้า เครื่องจักรจากต่างประเทศและประหยัดเงินตราของประเทศได้ด้วย ควรส่งเสริมให้มีการลงทุนจากต่างประเทศหรือร่วมทุนกับต่างประเทศ ในขอบเขต และศักยภาพที่เหมาะสม ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการผลิตและการแปรรูปข้าว เพื่อที่คนไทยหรือ ผู้ประกอบการของไทยจะได้เรียนรู้เทคโนโลยีใหม่ๆ จากต่างประเทศในการแปรรูปข้าว เนื่องจาก อุตสาหกรรมการแปรรูปข้าวของไทยยังมีน้อย และเทคโนโลยีภายในประเทศยังไม่ได้รับการพัฒนา ในขั้นสูงมากนัก สนับสนุนให้มีการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการเก็บเกี่ยวข้าว เทคโนโลยีภายหลัง การเก็บเกี่ยว เทคโนโลยีการสีข้าว เทคโนโลยีการปรับปรุงข้าว พร้อมทั้งเครื่องมือในการตรวจสอบ คุณภาพข้าวเปลือกและข้าวสาร ผ่านความร่วมมือระหว่างสถาบันการศึกษากับภาคเอกชน
  • 7. 7 S 2 สร้างมาตรฐาน การแปรรูป S 3 สร้างมาตรฐาน การตลาด S 1 สร้างมาตรฐาน การผลิต C สร้างมาตรฐานวิชาชีพการ จัดการข้าว เนื่องจากปัจจุบันการสีข้าวของประเทศรวมทั้งของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง กลุ่มที่ 2 เนื่องจากเครื่องจักรที่นาเข้าจากต่างประเทศยังไม่เหมาะสมกับลักษณะเมล็ดข้าวไทยนัก สนับสนุน ส่งเสริม และกาหนดมาตรการด้านมาตรฐานโรงงานแปรรูป เป็นไปตาม มาตรฐานสากล 3 ด้าน คือ มาตรฐานด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยใน โรงงาน (ISO 14000) มาตรฐานด้านระบบการจัดการสุขลักษณะที่ดีในการผลิตอาหาร ( GMP) และมาตรฐานด้านระบบการวิเคราะห์อันตรายและจุดวิกฤตที่ต้องควบคุมในการผลิตอาหาร (HACCP) เพื่อรองรับมาตรการการกีดกันทางการค้า และรองรับการเปิดเสรีทางการค้า กลยุทธการ บริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทย ต้องอาศัยความพร้อมในด้าน ต่างๆ เพื่อให้การบริหารจัดการข้าว เพื่อเกษตรกรไทย ในกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง กลุ่มที่ 2 สัมฤทธิ์ผลตามกรอบแนวคิดการบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทย โดยจะต้องมีการบูรณาการ ภารกิจต่างๆ เพื่อให้การบริหารจัดการข้าวบรรลุผลสาเร็จ โดยผู้วิจัยขอนาเสนอกลยุทธที่ได้จากการ เก็บรวบรวมข้อมูลในการทาวิจัยครั้งนี้ ตาม โมเดลใหม่ (1C 3S 8D Model ) ดังนี้ ภาพที่ 1 1C 3S 8D Model D 2 พัฒนาระบบเครือข่าย การจัดการข้าว D 3 พัฒนามาตรฐาน คุณภาพของสถานที่ ผลิต (ไร่นา) แปรรูป และบรรจุภัณฑ์ (โรงงาน) D 4 พัฒนาระบบการให้ ความรู้ของผู้ที่เกี่ยวข้อง D 5 พัฒนาหลักสูตรการ ฝึกอบรมด้านการ จัดการข้าว D 6 พัฒนาระบบเครือข่าย การจัดการข้าว D 7 พัฒนาระบบงานวิจัย และพัฒนานวัตกรรม D 8 พัฒนาระบบ รูปแบบ ของการติดตาม ประเมินผล D 1 พัฒนาศักยภาพผู้ที่ เกี่ยวข้อง
  • 8. 8 สรุป อภิปรายและข้อเสนอแนะ 1. การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทยในกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง กลุ่มที่ 2 เป็นการบริหารที่สอดรับกับการบริหารงานตามยุทธศาสตร์การพัฒนากลุ่มจังหวัดที่ตอบสนองนโยบายของ รัฐบาลเพื่อรองรับการแข่งขันของประเทศ 2.กลยุทธ์การบริหารจัดการข้าวในพื้นที่กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง กลุ่มที่ 2 ด้านการผลิต มีพื้นที่การผลิตข้าวคุณภาพภายใต้หลักการเกษตรที่เหมาะสมผ่าน การรับรองจากรมวิชาการเกษตรหรือสถาบันทางวิชาการที่เป็นกลาง ( Good Agricultural Practice : GAP) ดาเนินการมาตั้งแต่ปี 2546 มีพื้นที่ดาเนินการจานวน 14,800 ไร่ และในปี พ.ศ. 2549 กลุ่มจังหวัดมีเป้าหมาย จานวน 30,000 ไร่ ซึ่งมีผลการดาเนินงาน เกินเป้าหมายที่วางแผนไว้ ทั้ง 2 ปีซึ่งการผลิตข้าว (GAP) เป็นกระบวนการที่เน้นหนักในการเรียนรู้และสร้างความเข้าใจให้กับ เกษตรกรผู้ผลิต และพื้นที่ดาเนินการเป็นพื้นที่นาน้าฝน ควรดาเนินการให้ครอบคลุมทุกพื้นที่เพื่อให้ เกษ๖รกรได้รับมาตรฐานฟาร์มทุกฟาร์ม เป็นการยกมาตรฐานการผลิตข้าวของไทย และเป็นแก้ไข ปัญหาการกีดกันทางการค้าข้าวของไทยในตลาดโลกที่ว่าด้วยสารพิษตกค้าง ด้านการเพิ่มมูลค่า กลุ่มจังหวัดมีการดาเนินโครงการแปรรูปข้าว พัฒนาเทคโนโลยี การแปรรูปผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ การสร้างเอกลักษณ์ และการสร้างตราสินค้าให้กับกลุ่ม เกษตรกรที่เข้าไปร่วมโครงการข้าวคุณภาพภายใต้หลักการเกษตรที่เหมาะสม (GPA) และให้ ความรู้ด้านการตลาด และพัฒนาสินค้าให้ได้มาตรฐาน และสอดคล้องกับความต้องการของ ตลาด เพื่อส่งเสริมและขยายฐานการตลาด ด้านการตลาด มีการจัดระบบการค้าให้มีมาตรฐานและเป็นธรรม การค้าผ่าน ระบบแบบหักบัญชี มีระบบการตรวจสอบคุณภาพข้าว และรับรองคุณภาพและมาตรฐานข้าว จัดตั้งศูนย์กลางขนส่งข้าวและการส่งออกแบบเบ็ดเสร็จและทางกลุ่มจังหวัดควรจะขยายตลาดเป็น การรวมการดาเนินการเป็นกลุ่มจังหวัดเพื่อเพิ่มอานาจการต่อรอง และการขายข้าวในราคา เดียวกันในนามกลุ่มจังหวัด และควรสนับสนุนภาคเอกชนทาการตลาดข้าวแบบการจัดทาสัญญา ข้อตกลงทางการค้า (Contract Farming) ที่สอดรับกับที่ทางกลุ่มดาเนินการผลิตข้าวผลิตข้าว คุณภาพภายใต้หลักการเกษตรที่เหมาะสม ( Good Agricultural Practice : GAP) สามารถเพิ่ม ศักยภาพการส่งออกของกลุ่มจังหวัด และที่สาคัญสามารถแก้ไขการกีดกันทางการค้าของประเทศ คู่ค้าของไทย ด้วยมาตรการภาษี (Tariff Barrier) และมาตรการที่มิใช่ภาษี (Non-Tariff Barrier) โดยเฉพาะการอ้างปัญหาด้านสุขอนามัยพืช (โรคพืชและแมลง)
  • 9. 9 ด้านการวิจัยและพัฒนา มีการวิจัยและพัฒนาพันธุ์ข้าว เครื่องกลการเกษตร การ วิจัยและพัฒนาตลาดทั้งภายในและต่างประเทศ การวิจัยตรวจสอบคุณภาพอาหารและผลิตภัณฑ์ แปรรูปจากผลผลิตทางการเกษตร วิจัยและพัฒนาเครื่องผลิตปุ๋ยอัดเม็ด การดาเนินงานยังไม่ สามารถบรรลุเป้าหมาย กลุ่มจังหวัดควรวิจัยพัฒนาพันธุ์ข้าวที่เหมาะสมและเพิ่มผลผลิตที่เป็น เอกลักษณ์ของกลุ่มจังหวัด ควรมีการวิจัยพัฒนาตลาดข้าวทั้งในประเทศ (กลุ่มจังหวัดอื่น) และ ต่างประเทศ เพื่อเพิ่มศักยภาพทางการตลาดข้าวของกลุ่มจังหวัด ควรมีการวิจัยแปรรูปข้าวที่ผลิต ในกลุ่มจังหวัดให้สามารถนามาเป็นวัตถุดิบในการผลิตอาหารแทนการใช้แป้งข้าวสาลี โดยเฉพาะ การผลิตขนมพื้นเมือง อาทิ ขนมโมจิ ของจังหวัดนครสวรรค์ เป็นการลดการนาเข้าแป้งสาลีจาก ต่างประเทศได้ นอกจากนี้ควรมียุทธศาสตร์ในการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพเพื่อการ ปรับปรุงและอนุรักษ์พันธุ์ข้าว และการพัฒนาเครื่องจักรกลการเกษตร และการแปรรูปข้าว ที่ เหมาะสมกับพันธุ์ ฟาร์มขนาดเล็ก และการเพาะปลูกเชิงพาณิชย์ 3. ปัญหาด้านการบริหารจัดการข้าวและกลยุทธ์การบริหารจัดการข้าวเพื่อ เกษตรกรไทยในกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง กลุ่มที่ 2 4. การบริหารจัดการข้าวภายใต้สภาวะแวดล้อมและบริบทของเกษตรกรไทยใน กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง กลุ่มที่ 2มีความได้เปรียบในการแข่งขันสามารถกาหนดกลยุทธ ใน การบริหารจัดการข้าวเพื่อให้เกษตรกรในกลุ่มจังหวัด มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นอย่างยั่งยืน ตาม แนวทางการพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง โดยวิธีเกษตรแบบผสมผสานโดยต้องอาศัยความ พร้อมและมีการบูรณาการภารกิจต่างๆ เพื่อให้การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทย ในกลุ่มจังหวัด ภาคเหนือตอนล่าง กลุ่มที่ 2 บรรลุผลมีแนวทางการบริหารจัดการและกลยุทธ์ที่เหมาะสมในการ บริหารจัดการ ตามโมเดล 1C 3S 8D Model ข้อเสนอแนะ 1. ข้อเสนอแนะเพื่อการนาไปใช้ 1) ควรมีการแต่งตั้ง คณะกรรมการทางานการจัดระเบียบสังคมจังหวัดนครสวรรค์ คณะกรรมการจัดระเบียบสังคมจังหวัดนครสวรรค์ และทีมปฏิบัติงานจัดระเบียบสังคมนครสวรรค์
  • 10. 10 อย่างต่อเนื่องทุกปี และให้คณะกรรมการดาเนินงานอย่างต่อเนื่อง มีการประชุมสรุปผลการ ดาเนินงานเดือนละครั้ง โดยจัดให้มีวาระการประชุม บันทึกรายงานการประชุม เป็นหลักฐาน 2) รัฐบาลจัดตั้งหน่วยงานใหม่สังกัดกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย คือ สานักงานจัดระเบียบสังคมจังหวัด / อาเภอ มาทาหน้าที่รับผิดชอบ ดูแลการจัดระเบียบสังคมใน ระดับจังหวัดและอาเภอเป็นการเฉพาะ มีการกาหนดบทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ในหน่วยงาน อย่างชัดเจน และควรมีการเชื่อมโยงกับหน่วยงานอื่น ๆ และสถานศึกษาเพื่อดูแลเยาวชนอย่าง จริงจัง 3 ) สถานศึกษาแต่ละแห่งควรมีหัวหน้างานแนะแนวที่มีความรู้ ความเข้าใจ และ เป็นนักให้คาปรึกษาที่มีความเชี่ยวชาญพิเศษ ประจาสถานศึกษา เพื่อดูแลงานด้านการแนะแนว การให้คาปรึกษา และพัฒนาพฤติกรรมผู้เรียนได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ .4) สถานศึกษาแต่ละแห่งจัดส่งครู อาจารย์ที่เป็นหัวหน้างานแนะแนว หรือ เจ้าหน้าที่งานแนะแนวเข้ารับการอบรมความรู้ และวิทยาการใหม่ ๆ จากสมาคมแนะแนวแห่ง ประเทศไทย เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะใหม่ ๆ ตลอดจนนวัตกรรมที่เหมาะสมมาใช้ส่งเสริม พัฒนาพฤติกรรมผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง สม่าเสมอ 5) สถานศึกษาควรจัดให้มีการนิเทศการเรียนการสอนอย่างจริงจังในทุกภาค เรียน รวมทั้งจัดให้มีการประเมินการสอนโดยผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนได้สะท้อนภาพการสอนของครู แต่ละคนได้นาผลการประเมินไปปรับปรุงการสอนให้ตรงตามความสนใจของผู้เรียน และทาให้เกิด การบูรณาการความต้องการของผู้สอน และผู้เรียนเข้าด้วยกันอย่างเหมาะสม 6 ) ในการพัฒนาพฤติกรรมนักเรียนนักศึกษาอาชีวศึกษา ควรมีการระดม ความคิดจากนักจิตวิทยา จิตแพทย์ ครูแนะแนวในการกาหนดมาตรฐาน วิธีการ ขั้นตอน กิจกรรม ต่าง ๆ มาใช้ปฏิบัติในการพัฒนาพฤติกรรมผู้เรียน รวมทั้งขั้นตอนการปฏิบัติเพื่อแก้ไขพฤติกรรมที่ ไม่เหมาะสมแต่ละอย่างอย่างชัดเจน ตลอดจนส่งเสริมการทาการศึกษารายกรณี ( Case Study) ให้แก่ ครู อาจารย์ที่ปรึกษาประจากลุ่มเรียนอย่างจริงจัง 2. ข้อเสนอแนะทางวิชาการ 1) การศึกษาวิจัยการบริหารจัดการข้าวเพื่อ ให้เกษตรกรมีความเป็นอยู่ที่ดีอย่าง ยั่งยืนควรมีการนาแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการศึกษาวิจัย
  • 11. 11 2) ควรทาการศึกษาวิจัยการบริหารจัดการข้าวในกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง กลุ่มที่ 2 ให้คลอบคลุมทุกพันธุ์ข้าวเนื่องจากความหลากหลายและข้าวแต่ละพันธุ์มีความเป็น เอกลักษณ์และมีข้อจากัด 3) ทาการศึกษาวิจัย การบริหารจัดการผลิตผลทางการเกษตรอื่นเพื่อการแข่งขัน ของเกษตรกรไทย เพื่อรองรับการทาข้อตกลงทางการค้าของไทยกับต่างประเทศ บรรณานุกรม ฉัตรทิพย์ นากสุภา. (2541). ทฤษฎีและแนวคิดเศรษฐกิจชุมชนชาวนา. โครงการวิถีทรรศน์.กรุงเทพมหานคร. ณัฐวุฒิ ภาษวรรณ. (2541).เกษตรทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชดาริจากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ เพื่อเศรษฐกิจแบบพอเพียง .สานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 1 กรม วิชาการเกษตร. วิมลพรรณ ปีตธวัชชัย. (2548). ข้าวของพ่อ. กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์ดีเอ็มจี. วุฒิ เอราวัณ. (2549). อุปสงค์ ราคาและยุทธศาสตร์การแข่งขันของข้าวหอมมะลิไทยใน ตลาดโลก. ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิตทางสังคมศาสตร์ สาขาบริหารธุรกิจ. มหาวิทยาลัยรามคาแหง. Arthur C. Sturm.(2005). A key strategy to revenue growth: the right marketing infrastructure: not all successful revenue strategies are focused externally. Sometimes the strongest strategies are built from within Healthcare Financial Management Kotler . P. (1997). Marketing Management .New Jersey : Prentice - Hall. Inc. _____. (1999). Marketing management – an Asian perspective. 2 nd edition. Singapore: Prentice Hall. Krugman, P. (1995). A Growing Wkorld Trade: Causes and Consequences. Mimeo: Stanford University. Lambert D. M., Stock J. R. and Ellram L. M. (1998). Fundamentals to Logistics Management. USA. Mcgraw-Hill.