ݺߣ
Submit Search
คุณธรรม ผู้ประเมิน
•
0 likes
•
340 views
Aum Soodtaling
Follow
1 of 3
Download now
Download to read offline
More Related Content
คุณธรรม ผู้ประเมิน
1.
คุณธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณครู จรรยาบรรณ หมายถึง มาตรฐานของความประพฤติ
และการใช้ ดลพินิจทางศีลธรรมที่วาด้ วยการกระ ุ ่ ท�ำของบุคคล บริ ษัท องค์กร ว่าถูกหรื อผิด สมควรหรื อไม่สมควรหรื อการศึกษาและวิธีการปฏิบตเกี่ยวกับการ ัิ ตัดสินใจภายในกรอบของมาตรฐานทางศีลธรรม หรื อการศึกษาว่ามีพฤติกรรมอะไรบ้ างที่ ถูก หรื อ ดี สมควร หรื อไม่สมควร ค�ำว่า”คุณธรรมจริ ยธรรม” นี ้ เป็ นค�ำที่คนส่วนใหญ่จะกล่าวควบคู่กนเสมอ จนท�ำให้ เข้ าใจผิดได้ ว่า ั ค�ำทังสองค�ำมีความหมายอย่างเดียวกันหรื อมีความหมายเหมือนกัน แท้ ที่จริ งแล้ วค�ำว่า “คุณธรรม” กับค�ำ ้ ว่า”จริ ยธรรม” เป็ นค�ำแยกออกได้ 2 ค�ำ และมีความหมายแตกต่างกันค�ำว่า “ คุณ” แปลว่า ความดี เป็ นค�ำที่ มีความหมายเป็ นทางนามธรรม ส่วนค�ำว่า “จริย” แปลว่า ความประพฤติกริยาที่ควรประพฤติเป็ นค�ำที่มีความ หมายทางรูปธรรม ดังนัน จึงควรทีผ้ บริหารจะต้ องท�ำความเข้ าใจเกี่ยวกับความหมายของค�ำสองค�ำนี ้ให้ ถองแท้ ้ ่ ู ่ ก่อน (ดร.ส�ำราญ ศรี ค�ำมูล 2543) พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 (2538 : 189) ให้ ความหมายว่า” คุณธรรม หมายถึง สภาพคุณงามความดี” จรรยาบรรณและคุณธรรมจริยธรรมนักประเมินคือการวัดประเมินผลด้ วยจิตใจที่ดงามเที่ยงตรงซือสัตย์ ี ่ โดยหลักคุณธรรมจริ ยธรรมประจ�ำใจในตัวบุคคลหลอมรวมสร้ างความดีจรรยาบรรณที่มีลกษณะเด่นออกมา ั ทางการกระท�ำการประเมินในวิชาชีพ ดร.พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทกษ์ (2556) ความหมาย จรรยาบรรณวิชาชีพครู คือ กฎแห่งความประพฤติสำหรับ ั � สมาชิกวิชาชีพครู ซึงองค์กรวิชาชีพครูเป็ นผู้ก�ำหนด และสมาชิกในวิชาชีพทุกคนต้ องถือปฏิบติโดยเคร่งครัด ่ ั หากมีการละเมิดจะมีการลงโทษ ความส�ำคัญ จรรยาบรรณวิชาชีพครู มีความส�ำคัญต่อวิชาชีพครูเช่นเดียวกับที่จรรยาบรรณวิชาชีพ มี ความส�ำคัญต่อวิชาชีพอื่น ๆ ซึงสรุปได้ ๓ ประการ คือ ่ bullet ๑. ปกปองการปฏิบตงานของสมาชิกในวิชาชีพ ้ ัิ bullet ๒. รักษามาตรฐานวิชาชีพ bullet ๓. พัฒนาวิชาชีพ ลักษณะของจรรยาบรรณวิชาชีพครู จรรยาบรรณวิชาชีพครู จะต้ องมีลกษณะ ๔ ประการ คือ ั bullet ๑. เป็ นค�ำมันสัญญาหรื อพันธะผูกพันต่อผู้เรี ยน (Commitment to the student) ่ bullet ๒. เป็ นค�ำมันสัญญาหรื อพันธะผูกพันต่อสังคม (Commitment to the society) ่ bullet ๓. เป็ นค�ำมันสัญญาหรื อพันธะผูกพันต่อวิชาชีพ (Commitment to the profession) ่ bullet ๔. เป็ นค�ำมันสัญญาหรือพันธะผูกพันต่อสถานปฏิบตงาน (Commitment to the employment ่ ัิ practice)
2.
จรรยาบรรณของผู้ประเมินคุณภาพการศึกษา 1. มีความซื่อสัตย์
ไม่แสวงหาผลประโยชน์จากการตรวจเยี่ยมและการประเมิน 2.ไม่น�ำความลับของข้ อมูลไปเปิ ดเผย 3. มีความอดกลัน และยืดหยุน ้ ่ 4. มีความยุติธรรม รายงานสิงที่ค้นพบตามหลักฐานที่ปรากฏ ่ 5. อุทิศเวลาอย่างเต็มที่ตามวัตถุประสงค์และขอบเขตของงานที่ได้ รับมอบหมาย จริ งๆแล้ วครูท�ำงานเกี่ยวกับการวัดผล (Measurement) จะต้ องมีจรรยาบรรณและคุณธรรมประจ�ำใจ อยู่แล้ วที่จะให้ คะแนนเด็กนักเรี ยน คือการก�ำหนดตัวเลขให้ กบวัตถุ สิ่งของ เหตุการณ์ ปรากฎการณ์ หรื อ ั พฤติกรรมต่าง ๆ วัดทางตรงและ วัดทางอ้ อม ก็จะต้ องเที่ยงตรงไม่ลำเอียงเที่ยงธรรม ใช้ วิจารณญาณของ � ครูผ้ ประเมินมาใช้ ในการตัดสินใจ เพื่อให้ ได้ ผลเป็ นอย่างใดอย่างหนึง เช่น เด็กชายแดงได้ คะแนนวิชาภาษา ู ่ ไทย 42 คะแนนซึงไม่ถง 50 คะแนนถือว่าสอบไม่ผาน แต่วาเด็กคนนี ้เป็ นคนดีก็เลยให้ ผาน ในมุมมองอีกมุม ่ ึ ่ ่ ่ นึงคือถ้ าเด็กคนนี ้เป็ นคนดีจริ งๆ (เห็นจากการสังเกตพฤติกรรม การกระท�ำ) แล้ วอยากให้ ผานก็นาจะท�ำได้ แต่ ่ ่ ่ เพือความเป็ นธรรมก็ต้องให้ คนอืนทีไม่ผาน ผ่านด้ วยเหมือนกันจึงจะมีความเทียงธรรม มุมมองนี ้น่าจะเรียกว่า ่ ่ ่ ่ ่ คุณธรรมจริ ยธรรมประจ�ำใจในตัวครูมากกว่า ซึงต่างจากคุณธรรมจริ ยธรรมของนักประเมิน ่ Sutithep Aj. (2555)ในการท�ำหน้ าที่ประเมินของผู้ประเมิน ประเด็นและสาระส�ำคัญที่ผ้ ประเมินจะต้ อง ู พิจารณา “ตัดสิน” เกี่ยวกับความเหมาะสมมากน้ อยเพียงใด พร้ อมทังให้ ข้อเสนอแนะในฐานะของ ผู้เชี่ยวชาญ ้ ผู้ชำนาญและผู้ทมประสบการณ์ เพือให้ ผ้ รับการประเมินหรือหน่วยงานองค์การทีรับการประเมิน ได้ นำข้ อชี ้แนะ � ี่ ี ่ ู ่ � ข้ อแนะน�ำและข้ อเสนอที่เหมาะสมสอดคล้ องกับบริ บทของตนเองของหน่วยงานและขององค์กรไปปรับปรุ ง พัฒนาให้ ดีขึ ้น ฉะนันผู้ประเมินจึงจ�ำเป็ นต้ องธ�ำรงรักษาและทรงไว้ ซงคุณธรรมจริ ยธรรมดังต่อไปนี ้ ้ ึ่ เป็ นผู้ที่มีความเที่ยงตรง ต้ องมีความรู้ ความสามารถ หรื อมีศกยภาพอย่างเพียงพอในการประเมินได้ ั ตรงกับเปาหมายและวัตถุประสงค์ มีความรู้และมีความรอบรู้วาจะต้ องประเมินอะไร ประเมินเพื่ออะไร และ ้ ่ จะใช้ วิธีการประเมินอย่างไร ตลอดจนสามารถให้ คณค่าหรื อก�ำหนดคุณค่าของผลการประเมินได้ อย่างเที่ยง ุ ตรง ผลการประเมินต้ องสามารถใช้ ในการอ้ างอิงได้ เป็ นผู้ที่สามารถก�ำหนดระบบการประเมิน ออกแบบการประเมินได้ อย่างครอบคลุมครบถ้ วนสมบูรณ์ เหมาะสม ตามคุณลักษณะของส่วนบุคคลของหน่วยงานและขององค์การที่จะท�ำการประเมิน โดยไม่ล�ำเอียง เลือกท�ำการประเมินเพียงคนใดคนหนึง หรื อเพียงหน่วยใดหน่วยหนึงเท่านัน ่ ่ ้ เป็ นผู้ที่มีความรู้ ความเข้ าใจ และสามารถประยุกต์ใช้ ศาสตร์ ทางการวัดและประเมินผลได้ อย่างมี ประสิทธิภาพ วัดตามหลักวิชาการ ก�ำหนดเกณฑ์และตัดสินใจอย่างยุติธรรม ปราศจากความล�ำเอียงต้ อง ด�ำเนินการด้ วยความบริ สทธิ์ใจ ตรงตามหลักฐานและข้ อมูลเชิงประจักษ์ ุ มีความซื่อสัตย์สจริ ต ไม่ใช้ หลักวิชาการวัดและประเมินผลไปในทางเสื่อมเสียและน�ำมาซึงความเสื่อม ุ ่ เสียในเกียรติภมิของนักประเมิน ไม่แปลงข้ อมูลข้ อเท็จจริ ง ไม่แก้ ข้อมูลข้ อเท็จจริ งไม่กระท�ำการใดๆ กับข้ อมูล ู ข้ อเท็จจริ งที่จะส่งผลให้ การประเมินผิดเพี ้ยนไปจากความเป็ นจริ งตามสภาพการณ์ มีความรับผิดชอบ ผู้ประเมินจะต้ องเป็ นผู้ที่มีความรับผิดชอบงานการวัดประเมินตามภารกิจและหน้ าที่ ที่ได้ รับมอบหมาย รับผิดชอบผลงานการวัดและประเมินด้ วยหลักคุณธรรม จริ ยธรรม ต้ องด�ำเนินการประเมิน
3.
ให้ บรรลุผลส�ำเร็ จตามเปาหมายของการวัดและประเมิน
และต้ องด�ำเนินการสอดคล้ องตามแผนการด�ำเนิน ้ การและแผนปฏิบตการที่ก�ำหนด ภายใต้ กฎระเบียบขององค์การ ัิ มีความละเอียดรอบคอบ เพือให้ ได้ ข้อมูลประกอบพิจารณาในการวัดและประเมินอย่างครบถ้ วนสมบูรณ์ ่ ผู้ประเมินต้ องเป็ นผู้ที่มีความละเอียดรอบคอบ พิจารณาเก็บรวบรวมข้ อมูลอย่างครบถ้ วนทุกมิตทกแง่ทกมุม ิ ุ ุ ในทุกระบบและทุกกระบวนการ เพื่อช่วยให้ ผลการวัดและประเมินมีความเที่ยงตรง มีความมานะพยายาม มีความอดทนหรือมีความวิริยะ อุตสาหะ ไม่ท้อถอย ในการวัดและประเมิน เพราะ การวัดและประเมินเป็ นงานที่ต้องใช้ ความละเอียดรอบคอบ อดทนทุมเทก�ำลังกายก�ำลังสติปัญญา ต้ องต่อสู้ ่ กับความเหนื่อยยาก เบื่อหน่ายและท้ อแท้ ฉะนันผู้ที่ท�ำหน้ าที่ในการวัดและประเมินจึงต้ องมีวิริยะ อุตสาหะ ้ มีความมานะพยายาม อดทน เพื่อให้ ได้ หลักฐานข้ อมูล ข้ อเท็จจริ ง ที่จะช่วยให้ การวัดและประเมินมีคณค่า ุ บรรลุตามวัตถุประสงค์และเปาหมาย ้ มีความรู้ มีความรอบรู้ รู้ เท่าทันในความก้ าวหน้ าและความเปลี่ยนแปลงของศาสตร์ ในการวัดและ ประเมิน รู้เท่าทันและมีความสามารถในการประยุกต์ใช้ ศาสตร์ ใหม่ๆ หรื อนวัตกรรมและเทคโนโลยีในการวัด และประเมินในยุคปั จจุบน ั “หัวใจการเป็ นครูคคือความเมตตาลูกศิษย์ทดี ท�ำได้ ไม่ดี แต่จะคอยช่วยส่งเสริมให้ ได้ ดี คือครูผ้ ประเสริฐ ี่ ู มีคณธรรรมประจ�ำใจ คือ เมตตา สิงนี ้จะเป็ นเครื่ องชี ้วัดว่าครูดีหรื อไม่ดี หากแต่ใช่วาจะท�ำให้ เที่ยงตรงอย่าง ุ ่ ่ เดียวแล้ วบอกว่านี ้แหละคือจรรยาบรรณการประเมินของครู” เอกการสารอ้ างอิง http://www.baanjomyut.com/library_3/extension-2/ethics/01.html (เข้ าถึง 2 ตุลาคม 2556) http://www.edu.chula.ac.th/knowledge/rule/adm-rule.htm (เข ้าถึง 2 ตุลาคม 2556) http://www.dld.go.th/feedingstandard/index.php/community-of-prac- tice/78-2010-07-10-23-59-28/282-2010-06-20-07-16-13 (เข้ าถึง 2 ตุลาคม 2556) www.rtna.ac.th/rtnaQA/download/Reference02.doc (เข้ าถึง 2 ตุลาคม 2556)
Download