ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
คอมโครงงาน
ผู้จัดทา
1.นางสาวภัคจิรา ราชวงค์คา เลขที่ 21 ชั้น ม.6 ห้อง 14
2.นางสาวชลบุษย์ ไชยศรี เลขที่ 23 ชั้น ม.6 ห้อง 14
เมนู
เจ้าฟ้า

ธรรมธิเบศร

ตานานการเห่เรือ

คุณค่าด้าน
วรรณศิลป์

เรือกระบวนเห่

คุณค่าด้านสังคม
เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร

• เจ้าฟ้ากรมขุนเสนาพิทักษ์ มีพระนามเดิมว่า เจ้าฟ้าธรรมธิเบศรไชยเชษฐ
สุริยวงศ์ หรือพระนามที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่า เจ้าฟ้าธรรมธิเบศรหรือ เจ้า
ฟ้ากุ้ง พระองค์ประสูติเมื่อ พ.ศ. 2248 ในแผ่นดินสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ท้ายสระซึ่งเป็นพระปิตุลา (ลุง) ของพระองค์ ทรงเป็นพระราชโอรสของ
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศประสูติแต่กรมหลวงอภัยนุชิต
• พระองค์ได้รับการสถาปนาที่กรมพระราชวัง
บวรสถานมงคล พระองค์มีพระปรีชา
สามารถหลายด้าน โดยเฉพาะด้าน
วรรณกรรมนั้น ทรงพระนิพนธ์วรรณกรรม
ไว้หลายเรื่อง เช่น กาพย์เห่เรือ นันโทปนันท
สูตรคาหลวง พระมาลัยคาหลวง เนื่องจาก
พระองค์ลักลอบเป็นชู้กับพระสนมของ
สมเด็จพระราชบิดาจึงต้องพระอาญาให้
เฆี่ยน เป็นเหตุให้พระองค์เสด็จสวรรคตใน
ที่สุด
เมนู
ตานานการเห่เรือ
• ตานานการเห่เรือ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดารงรา
ชานุภาพทรงสันนิษฐานว่า การเห่เรือของไทยน่าจะได้แบบอย่าง
มาจากประเทศอินเดีย แต่ประเทศอินเดียใช้เป็นมนตร์ในตารา
ไสยศาสตร์บูชาพระราม ส่วนของประเทศไทยใช้เห่บอกจังหวะ
ฝีพายพร้อมกัน เพื่อเป็นการผ่อนแรงในการพายและทาให้รู้สึก
เพลิดเพลิน
กาพย์เห่เรือ
• กาพย์เห่เรือเป็นกาพย์สาหรับฝีพายขับเห่ในกระบวนเรือเสด็จ ไม่นับว่า
ไปในงานพิธี
• ลำนำสำหรับเห่เรือมี 3 อย่ำง คือ
• 1. ช้าลวะเห่ เป็นเห่ช้า ใช้ตอนออกจากท่า ใช้พลพายในท่านกบิน
• 2. มูลเห่ เป็นเห่เร็ว ใช้เห่ต่อจากช้าสวะเห่ ใช้พายเมื่อเรือทวนกระแสน้า
• 3. สวะเห่ ใช้เห่เมื่อเรือเข้าเทียบท่าเมื่อถึงจุดหมาย ปลายทาง
• ลักษณะคาประพันธ์
แต่งโคลงสี่สุภาพก่อนแล้วจึงแต่งกาพย์ยานีเลียนแบบ และแต่ง
กาพย์ยานีพรรณนาเพิ่มเติม ซึ่งเรียกว่า กาพย์ห่อโคลง
วิธีแต่งกาพย์ห่อโคลง มีอยู่ 3 แบบ คือ
1. แต่งกาพย์ยานีก่อนแล้วแต่งโคลงสี่สุภาพเลียนแบบ
2. แต่งโคลงสี่สุภาพก่อนแล้วแต่งกาพย์ยานีเลียนแบบต่อมา
3. แต่งโคลงสี่สุภาพก่อนแล้วแต่งกาพย์ยานีเลียนแบบ และ
แต่งกาพย์ยานีพรรณนาเพิ่มเติม
• ประเภทของการเห่เรือ แบ่งได้เป็น ๒ ประเภท คือ
• เห่เรือหลวง เป็นการเห่เนื่องในงานพระราชพิธีในการเสด็จพระราช
ดาเนินโดยขบวนพยุหยาตราทางชลมารค เช่น ขบวนพยุหยาตราทาง
ชลมารคในคราวสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ครบ ๒๐๐ ปี
• เห่เรือเล่น เป็นการเห่เวลาเล่นเรือเที่ยวเตร่เพื่อความสนุกสนานรื่นเริง
และให้จังหวะฝีพายพายพร้อมกัน การเห่เรือในปัจจุบันนาเอาบทเห่เรือ
เล่นที่เจ้าฟ้าธรรมธิเบศรทรงพระนิพนธ์ไว้ ซึ่งใช้เห่เรือมาตั้งแต่รัชสมัย
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
•
•
•
•
•
•

เนื้อเรื่อง แบ่งออกเป็น 5 ตอน ซึ่งกล่าวพรรณนาถึง
1. กระบวนเรือ
2. พันธุ์ปลา
3. พันธุ์ไม้
4. พันธุ์นก
5. คร่าครวญราพึงราพันถึงนางคนที่รัก
เมนู
เรือกระบวนเห่
• เรือต้น (เรือกิ่ง)
• ๶รือชัย มีเจ้าพนักงานกระทุ้งเส้าให้สัญญาณ
• เรือเหล่าแสนยากร (เรือศีรษะสัตว์)
๶รือสมรรถชัย
๶รือไกรสรมุข
๶รือสุวรรณหงส์
๶รือชัย
๶รือครุฑยุดȨค
เรือนาคา อนันตนาคราช
๶รือม้า
๶รือคชสีห์
๶รือราชสีห์
๶รือมังกร
๶รือเลียงผา
เรืออินทรี

เมนู
คุณค่าด้านวรรณศิลป์
• ๑. เนื้อหา แบ่งออกเป็น ๕ ตอน คือ
๑.๑ การชมขบวนเรือในเวลาเช้า พรรณนาไว้อย่างละเอียด พิสดาร
๑.๒ การชมฝูงปลามีการอุปมาอุปไมยอย่างชัดเจน และกินใจอย่างยิ่ง
๑.๓ การชมพรรณนาดอกไม้ในเวลากลางวัน ให้ความรู้สึก และอารมณ์
ของผู้อ่านคล้อยตาม
๑.๔ การชมฝูงนกในเวลาเย็น อุปมาอุปไมยชัดเจน เด่นชัด
๑.๕ การคร่าครวญถึงนาง ในยามค่าคืน สร้างบรรยากาศเชิงอรรถรส
และวังเวง
• ๒. รูปแบบ
• ลักษณะคาประพันธ์ ใช้กาพย์ห่อโคลง คือ แต่งโคลงสี่สุภาพแล้วแต่ง
กาพย์เลียนแบบพรรณนาเพิ่มเติม
• ศิลปะการประพันธ์ทาให้เกิดภาพพจน์ ความรู้สึกทางสุนทรียะอันได้แก่
ความ ชื่นชมในสิ่งสวยงามตามธรรมชาติ ความไพเราะของดนตรี
ความรู้สึกซาบซึ้งและอารมณ์สะเทือนใจ

เมนู
คุณค่าด้านสังคม
• ๑. สะท้อนภาพชีวิตคนไทยด้านการคมนาคม แสดงการสัญจรทางน้าให้
เห็นว่าเมืองไทยมีแม่น้าลาคลองมาก
• ๒. แสดงถึงขนบธรรมเนียมประเพณี เช่น ประเพณีการแต่งกาย ผู้หญิง
ห่มผ้าสไบคลุมไหล่ เป็นต้น การไว้ทรงผม ผู้หญิงนิยมไว้ผมยาวประบ่า
แล้วเก็บไรที่ถอนผมออกเป็นวงกลม การบอกเวลา นิยมใช้กลอง ฆ้อง
เป็นเครื่องบอกเปลี่ยนเวลา
เมนู
ขอบคุณ
• http://writer.dekd.com/selalad/story/view.php?id=755137
• http://www.thaigoodview.com/node/87530
• http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%
B2%E0%B8%9E%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B9%80
%E0%B8%AB%E0%B9%88%E0%B9%80%E0%B8%A3%
E0%B8%B7%E0%B8%AD
เมนู

More Related Content

คอมโครงงาน