ݺߣ
Submit Search
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวตอร์
•
0 likes
•
269 views
Sirikanya Pota
Follow
1 of 5
Download now
Download to read offline
More Related Content
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวตอร์
1.
1 แบบเสนอโครงร่ างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33202
ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2556 ชื่อโครงงาน สะบายดีแดนลาว ชื่อผู้ทาโครงงาน 1 นางสาว สิริกัญญา โปทา เลขที่ 18 ชั้น ม.6 ห้อง 10 2 นางสาว จมรพรรณ วรวีระวงศ์ เลขที่ 25 ชั้น ม.6 ห้อง 10 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2.
2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1 นางสาว สิริกัญญา
โปทา เลขที่ 18 2 นางสาว จมรพรรณ วรวีระวงศ์ เลขที่ 25 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) สะบายดีแดนลาว ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Sabuydee Laos ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน 1. นางสาว สิริกัญญา โปทา 2. นางสาว จมรพรรณ วรวีระวงศ์ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ในปัจจุบันนี้สถานการณ์โลกเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ประเทศต่าง ๆ ให้ความสาคัญกับการรวมตัวกันใน ภูมิภาคเพื่อเพิ่มอานาจต่อรองและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันระหว่างประเทศ แต่ละประเทศมีวัฒนธรรม เศรษฐกิจ การเมือง ที่แตกต่างกัน ประชาคมอาเซียน คือ องค์กรระหว่างประเทศระดับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยมีวัตถุประสงค์ใน การจัดตั้งขึ้น เพื่อให้ประเทศสมาชิกอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข แก้ไขปัญหาภายในภูมิภาคโดยสันติวิธี และยึดมั่นในหลัก ความมั่นคงรอบด้าน สร้างความมั่นคง และมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ ประเทศลาวเป็นประเทศสมาชิกประเทศหนึ่งในประชาคมอาเซียน เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมและเป็น แนวทางในการปรับตัวรับมือกับการเปิดประเทศสู่การเป็นประชาคมอาเซียน คณะผู้จัดทาเล็งเห็นความสาคัญจึงสร้าง โครงงานนี้ขึ้นมา โดยการสร้างเว็บไซต์เกี่ยวกับประชาคมอาเซียนเพื่อเผยแพร่ความรู้ให้เยาวชนและบุคคลทั่วไปได้เข้าใจ และเห็นความสาคัญของประชาคมอาเซียน วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. เพื่อให้ความรู้แก่ผู้ที่สนใจเกี่ยวกับประเทศลาว 2. เพื่อให้เหมาะสมกับการพัฒนาสู่ประชาคมอาเซียน 3. เพื่อนาความรู้ที่ได้มาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันเกี่ยวกับประเทศลาว
3.
3 ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต
เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) โครงงานนี้จัดทาเพื่อเป็นสื่อประกอบการเรียนในรายวิชาสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม เพื่อให้เป็นสื่อการ เรียนรู้ก่อนที่จะเข้าไปในประเทศลาว หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) 1. ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับประเทศลาว 2. บทบาทในอาเซียน 3. ประชากร 4. ภาษาการแต่งกาย 5. วัฒนธรรมและประเพณี 6. สถานที่ท่องเที่ยว ประวัติศาสตร์ยุคแรกๆ ของลาว เชื่อว่าอยู่ภายใต้การครอบครองของอาณาจักรน่านเจ้ามีตานานโดยขุนบรม และขุนลอ มีลูกสืบหลานต่อๆ กันมา จนถึงรัชสมัยพระเจ้าฟ้างุ้มผู้รวบรวมอาณาจักรล้านช้างได้เป็นผลสาเร็จในช่วง สมัยพุทธศตวรรษที่ 19 และมีกษัตริย์ปกครองสืบทอดต่อกันมาหลายพระองค์ ที่สาคัญ เช่น พระเจ้าไชยเชษฐาธิราช พระองค์มีความสัมพันธไมตรีที่แนบแน่นกับกษัตริย์ไทย โดยเฉพาะในรัชสมัยสมเด็จ พระมหาจักรพรรดิ พระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราช รัชสมัยของพระองค์นับเป็นยุคทองของราชอาณาจักรล้านช้าง ภายหลังเมื่อ พระองค์สวรรคตแล้ว เชื้อพระวงศ์ลาวต่างก็แก่งแย่งราชสมบัติกัน จนอาณาจักรล้านช้างแตกแยกเป็น 3 ส่วน คือ อาณาจักรล้านช้างหลวงพระบาง อาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์และอาณาจักรล้านช้างจาปาศักดิ์ ต่าง เป็นอิสระไม่ขึ้นแก่กัน และเพื่อชิงความเป็นใหญ่ต่างก็ขอสวามิภักดิ์ต่อเมืองเพื่อนบ้านเช่นไทย พม่า เพื่อขอ กาลังมาสยบอาณาจักรลาวด้วยกัน ในลักษณะนี้ในที่สุดอาณาจักรลาวทั้ง 3 แห่งนี้จะตกเป็นเมืองขึนของ ้ อาณาจักรสยามในปี พ.ศ. 2321 ด้านบทบาทการเป็นประธานอาเซียน การเป็นสมาชิกอาเซียนนับเป็นภาระที่หนักและยิ่งใหญ่สาหรับประเทศลาว นับตั้งแต่เริ่มเปิดประเทศและมีความสัมพันธ์ทางการทูตกับประเทศต่างๆ ซึ่งลาวไม่เคยเข้าร่วมองค์กรระหว่างประเทศ มาก่อน การเข้าร่วมประชุมอาเซียนในปัญหานานาชาติจึงเป็นสิ่งที่ท้าทายสาหรับลาว หลังการเข้าร่วมเป็นสมาชิก อาเซียน ประเทศลาวในฐานะสมาชิกใหม่ ได้รับบทบาทสาคัญในเวทีอาเซียนโดยการเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมผู้นา อาเซียน ครั้งที่ 10 ณ กรุงเวียงจันทน์ ในวันที่ 29-30 พฤศจิกายน พ.ศ.2547 นับเป็นครั้งแรกของประเทศลาวที่ได้ทา หน้าที่ในการจัดการประชุมระดับนานาชาติ โดยประเทศลาวได้จัดสรรงบประมาณในการปรับปรุงถนนและการตกแต่ง ประดับประดาถนนสายหลักๆ อย่างสวยงาม เพื่อสร้างความประทับใจแก่ผู้เข้าร่วมประชุม แสดงถึงความเป็นหน้าตา ของประเทศลาวในฐานะเจ้าภาพจัดประชุมสุดยอดอาเซียน มีประชากรกว่า 6.8 ล้านคน ประกอบด้วยชนเชื้อชาติต่างๆ แบ่งเป็น 3 กลุ่มใหญ่ตามถิ่นที่อยู่อาศัย คือ ลาวลุ่ม คือ ลาวที่อาศัยอยู่ในเขตที่ราบ ได้แก่ คนเชื้อชาติลาว ภูไท ไทดา ไทลื้อ ฯลฯ ใช้ภาษาลาว หรือ ภาษาตระกูลภาษาไทเป็นภาษาหลัก ประชาชนกลุ่มนี้มีอยู่ร้อยละ68 และอาศัยกระจายอยู่ทั่วประเทศ ถือว่า เป็นกลุ่มชาวลาวที่มีจานวนมากที่สุดในประเทศ
4.
4 ลาวเทิง คือ
ชาวลาวที่อาศัยอยู่ในเขตที่ราบสูง เช่น ชาวบรู มะกอง งวน ตะโอย ตาเลียง ละเม็ด ละเวน กะตัง ฯลฯ ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ทางภาคใต้ของประเทศ ประชาชนกลุ่มนี้มีร้อยละ 22 ลาวสูง คือ ชาวลาวที่อาศัยอยู่ในเขตภูเขาสูง เช่น ชาวม้ง เย้า มูเซอ และชาวเขาเผ่าต่างๆ ส่วนมากอาศัยอยู่ ในเขตภาคเหนือของลาว ประชาชนกลุ่มนี้มีอยู่ร้อยละ 9 ภาษาหลักของชาวลาวคือภาษาลาว แม้จะมีภาษาของชนกลุ่มน้อยต่างๆอีกมาในประเทศลาว ภาษาลาวเป็น ภาษาที่มีการแสดงระดับความสุภาพในภาษา การแต่งกาย ผู้หญิง นุ่ง Patoi (มีลักษณะคล้ายผ้านุ่งของไทย) นิยมทาเป็นลายทาง ๆ เชิงผ้าเป็น สีแดงแก่ หรือ น้าตาลเข้ม ถ้าผ้านุ่งเป็นไหม เชิงก็จะเป็นไหมด้วย มักจะทอทองและเงินแทรกเข้าไป ไว้ผมเกล้ามวยประดับ ดอกไม้ ผู้ชาย นุ่ง Patoi เป็นการนุ่งโจงกระเบน สวมเสื้อชิ้น นอก กระดุมเจ็ดเม็ด ประเทศลาวมีวัฒนธรรมลาวที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาทที่ได้รับอิทธิพลจาก อินเดีย และได้รับอิทธิพลจากวัฒนธรรมจีนด้วย สามารถเห็นได้จากภาษา ศิลปะ วรรณคดี วิถีชีวิตของชาวลาวได้รับ อิทธิพลจากศาสนาพุทธมากทาให้ชาวลาวเป็นผู้มีความอดทนและยอมรับการเปลี่ยนแปลงได้ดี งานประเพณีต่างๆของชาวลาว นอกจากวิถีชีวิตความเป็นอยู่ และภาษาที่ไทย – ลาวมีความคล้ายคลึงกันแล้ว งาน ประเพณีต่างๆตลอดปีของลาวก็ดูไม่ต่างจากชาวไทยในภาคอีสานนัก เกือบทั้งหมดเป็นงานประเพณีที่เกี่ยวเนื่องกับ พุทธศาสนาเรียกกันว่า ฮีตสิบสิง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว หรือที่หลาย ๆ คนเรียกว่า ประเทศลาว หรือ สปป. ลาว เป็น ประเทศที่ถูกปิดล้อมด้วยผืนแผ่นดินและภูเขา แม้ว่าจะไม่มีอาณาเขตติดกับน้าทะเลเลย แต่ประเทศลาวก็อุดมไปด้วย ต้นไม้ ภูเขา ที่ยังคงความสมบูรณ์ทางธรรมชาติ นอกจากนี้ ยังมีสถานที่ท่องเที่ยวที่สะท้อนให้เห็นถึงความเป็นมาทาง ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมที่น่าสนใจ จนกลายเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ดึงดูดนักท่องเที่ยวชาวตะวันตก ยุโรป เอเชีย รวมถึงไทยได้เป็นอย่างดี วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1. ปรึกษาเพื่อเลือกหัวข้อในการทาโครงงาน 2. เลือกหัวข้อที่ต้องการทาโครงงาน 3. วางแผนขอบเขตของเนื้อหา 4. ศึกษาค้นคว้าเนื้อหาในแหล่งข้อมูลต่างๆ 5. วางโครงร่างโครงงาน 6. ดาเนินการจัดทาโครงงาน 7. ปรับปรุงโครงงาน 8. นาเสนอโครงงาน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1. หนังสือแนะนาเกี่ยวกับประเทศลาว 2. คอมพิวเตอร์
5.
5 งบประมาณ ไม่มีงบประมาณ ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 ขั้นตอน สัปดาห์ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 ผู้รับผิดชอบ 1 1 12 1 3 1 4 1 5 คิดหัวข้อโครงงาน ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล จัดทาโครงร่างงาน ปฏิบัติการสร้างโครงงาน ปรับปรุงทดสอบ การทาเอกสารรายงาน ประเมินผลงาน นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 1. ผู้สนใจมีความเข้าใจเกี่ยวกับประเทศลาว 2.
ใช้ความรู้เมื่อมีการเปิดประเทศเข้าสู่อาเซียน 3. ได้นาเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ได้อย่างมีคุณค่าและเกิดประโยชน์ สถานที่ดาเนินการ - โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ - บ้านของผู้จัดทาโครงงาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) http://th.wikipedia.org/wiki/ประวัติศาสตร์ลาว http://www.uasean.com/kerobow01/51 http://www.baanjomyut.com/library_2/history_of_costume/07_2.html 16 17
Download