ݺߣ
Submit Search
สเปรย์สมุนไพรปรับอากาศ
•
7 likes
•
33,990 views
Sutthida Chatsiriyinyong
Follow
1 of 35
Download now
Downloaded 109 times
More Related Content
สเปรย์สมุนไพรปรับอากาศ
1.
Herbal Conditioning Spray
2.
ประเภทโครงงาน โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน ชือผู้ทาโครงงาน 1.
นางสาวสุทธิดา ฉัตรศิริยิ่งยง เลขที่ 31 ่ 2. นางสาวกฤษณา จันทรา เลขที่ 42 ชั้น ม. 6 ห้อง 10 ชือที่ปรึกษา ่ ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ รหัสวิชา ง33202 ชือวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสาร 6 ่ ่ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพืนทีการศึกษามัธยมศึกษาเขต 34 ้ ่
3.
หลักการและทฤษฎี สเปรย์สมุนไพร ปรับอากาศ วิธีึϸȨȨาน ที่มาและความสาคัญของโครงงาน วัตถุประสงค์ของโครงงาน วิธีการทาสเปรย์สมุนไพร คลิปที่เกี่ยวข้อง แหล่งอ้างอิง ขอบเขตของการศึกษา ผลที่คาดว่าจะได้รับ
4.
ทีมาและความสาคัญของโครงงาน ่ ปัจจุบันนี้ สังคมของเรามักประสบปัญหากับมลภาวะทีมีกลิ่นไม่พึง ่ ประสงค์ เช่น
ภายในห้อง ในรถยนต์ โดยเฉพาะในเขตชุมชนเมือง ที่ ผู้คนอาศัยกันอย่างแออัด ซึ่งมีปัญหาขยะเน่าเสีย ส่งกลิ่นเหม็นให้กับ ชุมชน และโรงเรียน มีการใช้ห้องน้าร่วมกันของนักเรียนแล้วขาดความ รักษาความสะอาด ทาให้ห้องน้านักเรียนมีกลิ่นเหม็น ขาดความน่าใช้ ปัญหาเหล่านีทาให้ผู้คนหันมาซื้อสเปรย์ปรับอากาศ ตามท้องตลาดมาใช้ ้ ซึ่งจะมีราคาแพง และมีสารประกอบส่วนใหญ่จากสารเคมีทาให้เกิด อันตรายต่อสภาพแวดล้อม
5.
ทีมาและความสาคัญของโครงงาน (ต่อ) ่ คณะผูจัดทาจึงศึกษาสมุนไพรที่หาง่ายในท้องถิ่นและเป็นสมุนไพรที่มี ้ กลิ่นหอม คือ
ต้นตะไคร้ ซึ่งต้นตะไคร้มีสรรพคุณช่วยดับกลิ่นคาวหรือ กลิ่นเหม็นได้ แถมกลินของตะไคร้ยังสามารถช่วยไล่ยงและกาจัดยุงได้ ่ ุ เป็นอย่างดี ทาให้สเปรย์สมุนไพรปรับอากาศที่จะจัดทาขึ้น มีประโยชน์ 2 ต่อ และมีผลิตภัณฑ์ที่ราคาไม่แพง ต้นทุนต่าเพราะทามาจากสมุนไพร พื้นบ้าน
6.
ทีมาและความสาคัญของโครงงาน (ต่อ) ่ โดยสเปรย์สมุนไพรปรับอากาศได้ประยุกต์มาจากหลัก“เศรษฐกิจ พอเพียง”ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว ซึ่งโครงงานนี้ได้ประยุกต์ใช้ ่ั กับแนวคิด
คือ ความพอประมาณ การรูจักเลือกใช้สมุนไพรให้พอดีกับ ้ สัดส่วนที่จะทา ความมีเหตุผล การรู้จกเลือกใช้สมุนไพรพื้นบ้านที่มี ั สรรพคุณและประโยชน์ต่อผลิตภัณฑ์ การมีภมิคมกัน สามารถนามาใช้ ู ุ้ เอง ประหยัดค่าใช้จ่ายหรือนาไปขายเพื่อเพิ่มรายได้ให้แก่ครอบครัว
7.
วัตถุประสงค์ของโครงงาน • • • • เพื่อศึกษาวิธีการทาโครงงานคอมพิวเตอร์ เพื่อเรียนรู้การแปรรูปสมุนไพรในท้องถิ่นมาใช้ประโยชน์ได้ เพื่อเพิ่มคุณค่าสมุนไพรในท้องถิ่น ปรับอากาศให้สดชื่น ขจัดกลิ่นไม่พึงประสงค์ ในสถานที่ต่างๆ
8.
ขอบเขตของการศึกษา • สมุนไพรที่คณะผูจัดทาคัดเลือก ในการนามาทาสเปรย์สมุนไพรปรับ ้ อากาศ
คือ ต้นตะไคร้ • ระยะเวลาในการศึกษา เริ่มดาเนินการในระหว่าง การศึกษาภาคเรียน ที่ 2 ปีการศึกษา 2556 • ทดลองใช้สเปรย์สมุนไพรปรับอากาศ กับที่ที่มีกลิ่นเหม็น เช่น ห้องน้า
9.
หลักการและทฤษฎี
10.
ประโยชน์ของต้นตะไคร้ • • • • • การปลูกตะไคร้ร่วมกับผักชนิดอื่นๆจะช่วยป้องกันแมลงได้เป็นยังดี นามาใช้เป็นส่วนประกอบของสารระงับกลินต่างๆ ่ ต้นตะไคร้ชวยดับกลิ่นคาวหรือกลิ่นคาวของปลาได้เป็นอย่างดี ่ กลิ่นหอมของตะไคร้สามารถช่วยไล่ยงและกาจัดยุงได้เป็นอย่างดี ุ เป็นส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์จาพวกยากันยุงชนิดต่างๆ เช่น ยากันยุง ตะไคร้หอม
11.
ลักษณะทัวไปของต้นตะไคร้ ่ ชือวิทยาศาสตร์ Cymbopogon nardus
Rendle ่ ชือท้องถิน ตะไคร้แดง จะไคมะขูด ตะไคร้มะขูด ่ ่ ลักษณะพืช พืชล้มลุก มีเหง้า ลาต้นตั้งตรง สูง 2 เมตร ออกเป็นกอ ใบเกลี้ยง รูปยาวแคบ กว้าง 5-20 มม. ยาวได้ถึง 1 เมตร มีกลินหอม ่ ตรงรอยต่อระหว่างใบกับกาบ มีแผ่นรูปไข่ปลายตัดยื่นออกมา ยาว ประมาณ 2 มม. มีขนกาบหุมติดทน กาบล่างสุดเกยซ้อนกัน เมื่อแห้งจะ ้ ม้วนขึ้น ดอกออกเป็นช่อขนาดใหญ่ยาวได้ถง 80 ซม. ช่อดอกแยกเป็น ึ หลายแขนง แต่ละแขนงมีช่อย่อย 4-5 ช่อ ผลแห้งไม่แตก
12.
สารสาคัญที่พบในตะไคร้ พบน้ามันหอมระเหย (Volatile oil)
ในเหง้าและกาบใบ ซึ่ง ประกอบด้วยสารซิทราล (Citral) ยูจนอล (Eugenol) เจอรานิออล ี (Geraniol) ซิโทรเนลลอล (Citronellol) เมอร์ซีน (Myrcene) การบูร (Camphor) เป็นต้น
13.
เอทิลแอลกอฮอล์ เอทิลแอลกอฮอล์ (ethyl alcohol)
หรือเอทานอล (Ethanol) เป็น แอลกอฮอล์ชนิดหนึ่ง ได้จากการหมักพืชผลทางการเกษตร เช่น อ้อย มันสาปะหลัง ข้าวโพด แอลกอฮอล์ชนิดนีกินได้ นามาใช้ได้หลากหลาย ้ เช่น ใช้เป็นตัวทาละลายสี แลคเกอร์ และยา ใช้เช็ดทาความสะอาดแผล ใช้เป็นเครื่องดืมแอลกอฮอล์ ได้แก่ เหล้า ไวน์ และเบียร์ ใช้เป็นตัวกลาง ่ ในการถ่ายเทความร้อน ใช้ในการผลิตเครืองสาอาง ใช้เป็นน้ามัน ่ เชื้อเพลิง ใช้ตกตะกอนกรดนิวคลีอิกในงานอณูชีววิทยา (Molecular Biology) เป็นต้น
14.
เอทิลแอลกอฮอล์ • คุณลักษณะของเอทิลแอลกอฮอล์ เป็นของเหลวไม่มีสี
ระเหยได้ ไวไฟสูง สามารถละลายน้าได้ • ข้อมูลสาร ชื่อ : Ethyl alcohol สูตร : C2H5OH รูปโครงสร้าง Ethyl alcohol
15.
ข้อมูลความปลอดภัย การหายใจเข้าไปทาให้เกิดการระคายเคืองต่อระบบทางเดินหายใจ ทาให้เกิดอาการปวดศีรษะ เวียนศีรษะ ไอ
เซื่องซึม และเกิดโรคน้าท่วม ปอด การสัมผัสถูกผิวหนัง ทาให้เกิดการระคายเคือง แสบไหม้ ผืนแดง ่ สารนี้ดูดซึมผ่านผิวหนัง การกลืนหรือกินเข้าไป ทาให้เกิดการระคาย เคือง ทาให้เกิดอาการปวดศีรษะ และมีอาการเซื่อง การสัมผัสถูกตาทา ให้เกิดการระคายเคืองทาให้ตาแดง และปวดตา
16.
น้ามันหอมระเหย ยูคาลิปตัส วิธีกลั่น : Steam
Distillation ส่วนที่ใช้ : ใบ ( Leaves ) คุณสมบัติและประโยชน์ Ȩามันหอมระเหยยูคาลิปตัส มีคณสมบัติบรรเทาอาการหวัด ช่วย ุ ให้ หายใจโล่ง บรรเทาอาการคัดจมูก ช่วยให้รู้สึกสดชื่น ยังมีคุณสมบัติ ไล่ยุง และ แมลง ก่อนนาไปใช้กับผิวหนัง ต้องทาให้เจือจาง ก่อน มิฉะนั้นอาจทาให้ผิวหนังระคายเคืองได้
17.
การนาน้ามันหอมระเหย ยูคาลิปตัสไปใช้ 1. ต้องทาให้เจือจางเสมอ
เช่น ผสมน้ามันพื้นฐาน หยดลงในน้า หยด ผ่านผ้าเช็ดหน้า ผสมเอธิลแอลกอฮอล์ อัตราส่วนการใช้น้ามันหอม ระเหยยูคาลิปตัส หากใช้กับผิวหน้าไม่ควรเกิน 1 % ใช้กับผิวกายไม่ควร เกิน 3 % 2. ใช้เป็นสเปรย์ฉดในห้องนอนช่วยให้หายใจโล่งเหมาะสาหรับผู้ป่วยโรค ี หวัด หรือ ฉีดในที่ ๆ มียงชุม ป้องกันยุงกัด ุ
18.
วิธีึϸȨȨาน
19.
แนวทางการดาเนินงาน 1. 2. 3. 4. 5. 6. คิดหัวข้อโครงงาน ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล จัดทาโครงร่างงาน ปฏิบัติการสร้างโครงงาน ปรับปรุงทดสอบ การทาเอกสารรายงาน 7. ประเมินผลงาน 8. นาเสนอโครงงาน
20.
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ อุปกรณ์ 1. 2. 3. 4. หม้อ กระชอน ขวดสเปรย์ ที่ตวงน้า
21.
วัสดุและสารเคมี 1. ตะไคร้ 2. แอลกอฮอล์ 3.
Ȩามันหอมระเหยยูคาลิปตัส
22.
ลำดั บ ที่ ขั้นตอน 1 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้าง โครงงาน ผู้รับผิดชอบ สัปดำห์ที่ 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11
12 13 14 15 16 17 สุทธิดา กฤษณา สุทธิดา กฤษณา สุทธิดา กฤษณา สุทธิดา กฤษณา
23.
ลำดั บ ที่ ขั้นตอน 1 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผู้รับผิดชอบ สัปดำห์ที่ 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11
12 13 14 15 16 17 สุทธิดา กฤษณา สุทธิดา กฤษณา สุทธิดา กฤษณา สุทธิดา กฤษณา
24.
ระยะเวลาในการดาเนินงาน การศึกษาภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา
2556 สถานทีดาเนินการ ่ 119/1 หมู่ 5 ตาบลยางคราม อาเภอดอยหล่อ จังหวัดเชียงใหม่ งบประมาณ ขวดสเปรย์ 25 บาท แอลกอฮอล์ 45 บาท น้ามันหอมยูคาลิปตัส 20 บาท
25.
วิธการทาสเปรย์สมุนไพรปรับอากาศ ี 1. นาตะไคร้ มาหั่นเป็นชิ้นเล็กๆ(เพื่อให้สมุนไพรสามารถออกกลินได้เร็ว ่ กว่าการที่ต้มโดยไม่หั่น)
26.
2. ต้มแอลกอฮอล์แล้วนาตะไคร้ทหั่นแล้วลงไปต้ม ี่
27.
3. ทิ้งไว้ให้เย็นแล้วเติมȨามันหอมระเหยยูคาลิปตัสลงไป
28.
4. กรองกากสมุนไพรออก จากนั้นสามารถบรรจุลงขวดสเปรย์ได้ทันที
29.
5. ปรับปรุงชิ้นงาน ให้มีความสวยงาม
30.
ผลทีคาดว่าจะได้รับ ่ 1. สเปรย์สมุนไพรปรับอากาศ ที่จัดทา
สามารถปรับอากาศให้สดชื่น ดับ กลิ่นไม่พึงประสงค์ได้เป็นอย่างดี 2. สเปรย์สมุนไพรปรับอากาศ มีประโยชน์ข้างเคียง คือ สามารถช่วยไล่ ยุงได้ 3. ได้ผลิตภัณฑ์ทมีคณภาพ มีความสวยงาม น่าใช้ และง่ายต่อการพกพา ี่ ุ 4. สามารถนาความรู้ที่ได้จากการทาโครงงาน ไปปรับใช้ในการเรียน ระดับสูงได้
31.
คลิปวีดีโอทีเกี่ยวข้อง ่
33.
แหล่งอ้างอิง • ตะไคร้ สรรพคุณตะไคร้และประโยชน์ของตะไคร้
45 ประการ จาก : http://www.greenerald.com/ • โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สเปรย์สมุนไพรปรับอากาศ จาก : http://waruneee202.blogspot.com/ • ระบบการจัดการข้อมูลสารเคมี ChemTrack จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย . Ethyl alcohol. จาก: http://chemsafe.chula.ac.th/chemtrack/index.php?option=com_content&t ask=view&id=170&Itemid=1 • ตะไคร้ จาก: http://www.the-than.com/samonpai/sa_9.html • ตะไคร้ จาก: http://www.rspg.or.th/plants_data/herbs/herbs_12_2.htm • aromahub น้ามันหอมยูคาลิปตัส จาก: http://www.aromahub.com/articles/essential-oils/55-2010-03-11-04-42-07/2772013-04-01-13-15-33
34.
แหล่งอ้างอิง ขอขอบคุณคลิปวิดโอ จาก ี http://www.youtube.com/watch?v=69krUxyZqS8 http://www.youtube.com/watch?v=0GXv4vkfH74
Download