ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
1

แบบเสนอโครงร่ างโครงงาȨอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2556
ชื่อโครงงาน สเปรย์สมนไพรปรับอากาศ

ชื่อผู้ทาโครงงาน
1 ณิชากร สุขสนตรี เลขที่10 ชั้น ม.6 ห้อง 11
2 พงศ์ศิริ สุรยะวงค์ เลขที่14 ชั้น ม.6 ห้อง 11
ิ

ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขือนทอง มูลวรรณ์
่

ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556

โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2

ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงาȨอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม 2
1 ณิชากร. สุขสนตรี เลขที่10 ชั้น ม.6 ห้อง 11
2 พงศ์ศิริ. สุริยะวงค์ เลขที่14 ชั้น ม.6 ห้อง 11
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)สเปรย์สมุนไพรปรับอากาศ
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Herbal Conditioning Spray
ประเภทโครงงาน ประเภททดลอง
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1 ณิชากร สุขสนตรี เลขที่10 ชั้น ม.6 ห้อง 11
2 พงศ์ศิริ สุริยะวงค์ เลขที่14 ชั้น ม.6 ห้อง 11
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่อที่ปรึกษาร่วม ระยะเวลาดาเนินงาน 20 วัน
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
ปัจจุบันสภาวะแวดล้อมมีกลิ่นเป็นมลพิษต่อระบบหายใจหากเราซื้อน้ายาดับกลิ่นตามท้องตลาดมาใช้นั้น
จะมีราคาแพงซึ่งส่วนใหญ่จะผลิตจากสารเคมีทาให้เกิดอันตรายต่อสภาพแวดล้อมมากขึ้น คณะผู้จัดทาจึงศึกษา
สมุนไพรที่หาง่ายในท้องถิ่นและเป็นสมุนไพรที่มีกลิ่นหอม เช่น ใบเตย ผิวมะกูด ใบตะไคร้ มาทดลองสกัด
คลอโรฟิลล์เพื่อเปรียบเทียบปริมารที่เหมาะสมและชนิดของสมุนไพรที่สามารถกาจัดกลิ่นในสถานที่ต่าง ๆเช่น
ห้องน้า สถานที่ ที่มีกลิ่นอับ
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการกาจัดกลิ่นของสารสกัด ใบเตย ผิวมะกูด และใบตะไคร้หอม ในอัตราส่วนที่
แตกต่าง
2. เพื่อสารวจความคิดเห็นเกี่ยวกับความสามารถในการกาจัดกลิ่นของสารสกัดจากใบเตย ผิวมะกูดและใบตะไคร้
3. เพื่อเพิ่มคุณค่าของสมุนไพรในท้องถิ่น
4. เพือศึกษาเกี่ยวกับการทาเว็บเพจ
่
3

ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
1.
เพื่อศึกษาการทาสเปรย์ปรับอากาศสมุนไพร
2.
เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของสมุนไพรในการดับกลิ่นอับ
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
ผู้ทาโครงงานได้ศึกษาความรู้ในเรื่องต่างๆดังนี้
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
1.ต้นตะไคร้
ชื่อวิทยาศาสตร์ Cymbopogon nardus Rendle
วงศ์ POACEAE (GRAMINEAE)
ชื่อท้องถิ่น ตะไคร้แดง จะไคมะขูด ตะไคร้มะขูด
ลักษณะพืช พืชล้มลุก อายุหลายปี มีเหง้า ลาต้นตั้งตรง สูง 2 เมตร ออกเป็นกอ ใบเกลี้ยง รูปยาวแคบ กว้าง 520 มม. ยาวได้ถึง 1 เมตร มีกลิ่นหอม ตรงรอยต่อระหว่างใบกับกาบ มีแผ่นรูปไข่ปลายตัดยื่นออกมา ยาว
ประมาณ 2 มม. มีขนกาบหุ้มติดทน กาบล่างสุดเกยซ้อนกัน เมื่อแห้งจะม้วนขึ้น ดอกออกเป็นช่อขนาดใหญ่ยาว
ได้ถึง 80 ซม. มีใบประดับ ลักษณะคล้ายกาบ ยาวประมาณ 25 มม. รองรับอยู่ ช่อดอกแยกเป็นหลายแขนง แต่
ละแขนงมีช่อย่อย 4-5 ช่อ ผลแห้งไม่แตก ตะไคร้หอมมีลักษณะส่วนใหญ่คล้ายกับตะไคร้กอ ต่างกันที่กลิ่น ต้น
และใบยาวกว่าตะไคร้กอมาก แผ่นใบกว้างยาวและนิ่มกว่าเล็กน้อย
2.ต้นใบเตย
ชือวิทยาศาสตร์ pandans tectorins
่
ลักษณะ เป็นไม้กิ่งพุ่ม ก้านใบเดียว มีรางน้า มีสีนวล
3.ต้นมะกูด
ชื่อทางพฤกษศาสตร์ : Citrus Hystrix
วงศ์ : RUTACEAE
ชื่อที่เรียก : ในไทยทั่วไปเรียก มะกูด ภาคใต้เรียก ส้มมั่วผี ทางภาคอีสานเรียก
มะหูด ทางภาคกลางเรียก ส้มมะกรูด
ลักษณะ : ต้นมะกรูด เป็นไม้ยืนต้นขนาดย่อม ใบเขียวหนา มีคอดกิ่วที่กลางใบ
เป็นตอนๆ ดอกสีขาว เกสรมีสีเหลือง กลิ่นหอมเล็กน้อย ผลคล้ายผล
ส้มซ่า ผิวหนาเป็นร่องขรุขระทั้งลูก มีขั้วจุกสูง ตามต้นและกิ่งมีหนาม
ยาวเล็กน้อย น้าในลูกมีรสเปรี้ยว
การเจริญเติบโต : ปลูกได้ไม่ต้องเลือกดิน มีปลูกกันตามบ้านเรือกส
4.การปลูก
ใช้หน่อหรือเหง้าชอบขึ้นในดินร่วนซุย น้าไม่ขัง ชอบแดดมาก
ส่วนที่ใช้เป็นยา ใบและกาบใบ
สรรพคุณ ต้นแก้ริดสีดวงในปาก (คือปากแตกระแหง เป็น
ยาไทย แผลในปาก) สตรีมีครรภ์รับประทาน ทาให้แท้ง บีบรัดมดลูก ขับลมในลาใส้ แก้แน่น
4

ตะไคร้หอมได้ถูกนามาใช้ไล่แมลง อย่างแพร่หลายนานมาแล้ว โดยละลายน้ามันตะไคร้หอม 7 ส่วน ผสมใน
แอลกอฮอล์ (70%) 93 ส่วน ฉีดพ่นหรือตาใบสดหมักในแอลกอฮอล์ใน อัตราส่วน 1:1 ทาตรงขอบประตู ที่ปิด
เปิดเสมอ หรือชุบสาลีแขวนเอาไว้หน้าประตูเข้าออก หรือใช้ใบตะไคร้หอม มัดแล้วทุบให้ช้าวางใว้ตามมุมห้อง
หรือใต้เตียง
5.สรรพคุณ
รากแก้ปัสสวะแดง
ใบแก้ท้องเสีย
วนไร่นา
6 .พันธุ์ได้ด้วยการเพาะเมล็ด การตอนกิ่งก็ได้
ประโยชน์ : ใบนามาปรุงกับอาหารดับกลิ่นคาว น้าในผลใช้ในการย้อมผ้า ทาน้า
ยาสระผมได้
สรรพคุณ : ราก กระทุ้งพิษ ถอดพิษสาแดง แก้ลมจุกเสียด แก้พิษฝีภายใน แก้
เสมหะเป็นโทษ
ลูกมะกรูดนามามักดองทาเป็นยาดองเปรี้ยวเค็ม รับประทานเป็นยา
ฟอกล้างและบารุงโลหิต ลูกมะกรูดนี้ถ้าเอามาเผาไฟ ก่อนเผาคว้าน
เอาไส้ในออก แล้วเอามหาหิงคุ์ใส่ในกลางผล สุมไฟให้เกรียมจนกรอบ
บดเป็นผงละเอียด ละลายกับน้าผึ้งป้ายลิ้นเด็กที่คลอดใหม่ขับผายลม
ดีนัก แก้ปวดท้อง
ผิวของลูกมะกรูด ปรุงเป็นยาลม ขับลมในลาไส้ ขับระดู

วิธีดาเนินงาน
อุปกรณ์และสารเคมี
อุปกรณ์
5

1.
หม้อ
2.
กรวย
3.
ขวดสเปรย์
4.
ภาชนะตวง
วัสดุและสารเคมี
1.
ตะไคร้ 30 กรัม
2.
ใบมะกรูด 30 กรัม
3.
ใบเตย 30 กรัม
4.
. แอลกอฮอร์ 600 มิลลิลิตร (เจือจาง 70%)
วิธีการทดลอง
1. นาใบเตย ตะไคร้ ใบมะกรูดมาหั่นเป็นชิ้นเล็กๆ(เพื่อให้สมุนไพรสามารถออกกลิ่นได้เร็วกว่าการที่ต้มโดยไม่
หั่น)
2.ต้มแอลกอฮอร์แล้วนาสมุนไพรทั้ง 3 ชนิดลงไปต้ม
3. ทิ้งไว้ให้เย็นแล้วกรองกากสมุนไพรออก จากนั้นสามารถบรรจุลงขวดสเปรย์ได้ทันที
งบประมาณ
- 100 บาท

ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ

ขั้นตอน

สัปดาห์ที่

ผู้รับผิดชอบ
6

ที่
1

1

คิดหัวข้อโครงงาน

2

3

4

5

6

7

8

9

1
0

1
1

12

1
3

1
4

1
5



16

17

ณิชากร,พงศ์
ศิริ

2

ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล

 

ณิชากร,พงศ์
ศิริ

3

จัดทาโครงร่างงาน

 

ณิชากร,พงศ์
ศิริ

4

ปฏิบัติการสร้างโครงงาน

    

ณิชากร,พงศ์
ศิริ

5

ปรับปรุงทดสอบ

   

ณิชากร,พงศ์
ศิริ

6

การทาเอกสารรายงาน

 

ณิชากร,พงศ์
ศิริ

7

ประเมินผลงาน



ณิชากร,พงศ์
ศิริ

8

นาเสนอโครงงาน



ณิชากร,พงศ์
ศิริ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
1.
การเพิ่มคุณค่าให้กับสมุนไพรในท้องถิ่น
2.
การลดมลพิษให้กับสิ่งแวดล้อม
3.
การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นกับวิทยาศาสตร์ให้เกิดประโยชน์
สถานที่ดาเนินการ
บ้านของนางสาวณิชากร
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
วิทยาศาสตร์
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
http://www.youtube.com/watch?v=69krUxyZqS8

More Related Content

งาȨอมพ

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่ างโครงงาȨอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2556 ชื่อโครงงาน สเปรย์สมนไพรปรับอากาศ ชื่อผู้ทาโครงงาน 1 ณิชากร สุขสนตรี เลขที่10 ชั้น ม.6 ห้อง 11 2 พงศ์ศิริ สุรยะวงค์ เลขที่14 ชั้น ม.6 ห้อง 11 ิ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขือนทอง มูลวรรณ์ ่ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงาȨอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 2 1 ณิชากร. สุขสนตรี เลขที่10 ชั้น ม.6 ห้อง 11 2 พงศ์ศิริ. สุริยะวงค์ เลขที่14 ชั้น ม.6 ห้อง 11 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)สเปรย์สมุนไพรปรับอากาศ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Herbal Conditioning Spray ประเภทโครงงาน ประเภททดลอง ชื่อผู้ทาโครงงาน 1 ณิชากร สุขสนตรี เลขที่10 ชั้น ม.6 ห้อง 11 2 พงศ์ศิริ สุริยะวงค์ เลขที่14 ชั้น ม.6 ห้อง 11 ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่อที่ปรึกษาร่วม ระยะเวลาดาเนินงาน 20 วัน ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ปัจจุบันสภาวะแวดล้อมมีกลิ่นเป็นมลพิษต่อระบบหายใจหากเราซื้อน้ายาดับกลิ่นตามท้องตลาดมาใช้นั้น จะมีราคาแพงซึ่งส่วนใหญ่จะผลิตจากสารเคมีทาให้เกิดอันตรายต่อสภาพแวดล้อมมากขึ้น คณะผู้จัดทาจึงศึกษา สมุนไพรที่หาง่ายในท้องถิ่นและเป็นสมุนไพรที่มีกลิ่นหอม เช่น ใบเตย ผิวมะกูด ใบตะไคร้ มาทดลองสกัด คลอโรฟิลล์เพื่อเปรียบเทียบปริมารที่เหมาะสมและชนิดของสมุนไพรที่สามารถกาจัดกลิ่นในสถานที่ต่าง ๆเช่น ห้องน้า สถานที่ ที่มีกลิ่นอับ วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการกาจัดกลิ่นของสารสกัด ใบเตย ผิวมะกูด และใบตะไคร้หอม ในอัตราส่วนที่ แตกต่าง 2. เพื่อสารวจความคิดเห็นเกี่ยวกับความสามารถในการกาจัดกลิ่นของสารสกัดจากใบเตย ผิวมะกูดและใบตะไคร้ 3. เพื่อเพิ่มคุณค่าของสมุนไพรในท้องถิ่น 4. เพือศึกษาเกี่ยวกับการทาเว็บเพจ ่
  • 3. 3 ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) 1. เพื่อศึกษาการทาสเปรย์ปรับอากาศสมุนไพร 2. เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของสมุนไพรในการดับกลิ่นอับ หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) ผู้ทาโครงงานได้ศึกษาความรู้ในเรื่องต่างๆดังนี้ เอกสารที่เกี่ยวข้อง 1.ต้นตะไคร้ ชื่อวิทยาศาสตร์ Cymbopogon nardus Rendle วงศ์ POACEAE (GRAMINEAE) ชื่อท้องถิ่น ตะไคร้แดง จะไคมะขูด ตะไคร้มะขูด ลักษณะพืช พืชล้มลุก อายุหลายปี มีเหง้า ลาต้นตั้งตรง สูง 2 เมตร ออกเป็นกอ ใบเกลี้ยง รูปยาวแคบ กว้าง 520 มม. ยาวได้ถึง 1 เมตร มีกลิ่นหอม ตรงรอยต่อระหว่างใบกับกาบ มีแผ่นรูปไข่ปลายตัดยื่นออกมา ยาว ประมาณ 2 มม. มีขนกาบหุ้มติดทน กาบล่างสุดเกยซ้อนกัน เมื่อแห้งจะม้วนขึ้น ดอกออกเป็นช่อขนาดใหญ่ยาว ได้ถึง 80 ซม. มีใบประดับ ลักษณะคล้ายกาบ ยาวประมาณ 25 มม. รองรับอยู่ ช่อดอกแยกเป็นหลายแขนง แต่ ละแขนงมีช่อย่อย 4-5 ช่อ ผลแห้งไม่แตก ตะไคร้หอมมีลักษณะส่วนใหญ่คล้ายกับตะไคร้กอ ต่างกันที่กลิ่น ต้น และใบยาวกว่าตะไคร้กอมาก แผ่นใบกว้างยาวและนิ่มกว่าเล็กน้อย 2.ต้นใบเตย ชือวิทยาศาสตร์ pandans tectorins ่ ลักษณะ เป็นไม้กิ่งพุ่ม ก้านใบเดียว มีรางน้า มีสีนวล 3.ต้นมะกูด ชื่อทางพฤกษศาสตร์ : Citrus Hystrix วงศ์ : RUTACEAE ชื่อที่เรียก : ในไทยทั่วไปเรียก มะกูด ภาคใต้เรียก ส้มมั่วผี ทางภาคอีสานเรียก มะหูด ทางภาคกลางเรียก ส้มมะกรูด ลักษณะ : ต้นมะกรูด เป็นไม้ยืนต้นขนาดย่อม ใบเขียวหนา มีคอดกิ่วที่กลางใบ เป็นตอนๆ ดอกสีขาว เกสรมีสีเหลือง กลิ่นหอมเล็กน้อย ผลคล้ายผล ส้มซ่า ผิวหนาเป็นร่องขรุขระทั้งลูก มีขั้วจุกสูง ตามต้นและกิ่งมีหนาม ยาวเล็กน้อย น้าในลูกมีรสเปรี้ยว การเจริญเติบโต : ปลูกได้ไม่ต้องเลือกดิน มีปลูกกันตามบ้านเรือกส 4.การปลูก ใช้หน่อหรือเหง้าชอบขึ้นในดินร่วนซุย น้าไม่ขัง ชอบแดดมาก ส่วนที่ใช้เป็นยา ใบและกาบใบ สรรพคุณ ต้นแก้ริดสีดวงในปาก (คือปากแตกระแหง เป็น ยาไทย แผลในปาก) สตรีมีครรภ์รับประทาน ทาให้แท้ง บีบรัดมดลูก ขับลมในลาใส้ แก้แน่น
  • 4. 4 ตะไคร้หอมได้ถูกนามาใช้ไล่แมลง อย่างแพร่หลายนานมาแล้ว โดยละลายน้ามันตะไคร้หอม 7 ส่วน ผสมใน แอลกอฮอล์ (70%) 93 ส่วน ฉีดพ่นหรือตาใบสดหมักในแอลกอฮอล์ใน อัตราส่วน 1:1 ทาตรงขอบประตู ที่ปิด เปิดเสมอ หรือชุบสาลีแขวนเอาไว้หน้าประตูเข้าออก หรือใช้ใบตะไคร้หอม มัดแล้วทุบให้ช้าวางใว้ตามมุมห้อง หรือใต้เตียง 5.สรรพคุณ รากแก้ปัสสวะแดง ใบแก้ท้องเสีย วนไร่นา 6 .พันธุ์ได้ด้วยการเพาะเมล็ด การตอนกิ่งก็ได้ ประโยชน์ : ใบนามาปรุงกับอาหารดับกลิ่นคาว น้าในผลใช้ในการย้อมผ้า ทาน้า ยาสระผมได้ สรรพคุณ : ราก กระทุ้งพิษ ถอดพิษสาแดง แก้ลมจุกเสียด แก้พิษฝีภายใน แก้ เสมหะเป็นโทษ ลูกมะกรูดนามามักดองทาเป็นยาดองเปรี้ยวเค็ม รับประทานเป็นยา ฟอกล้างและบารุงโลหิต ลูกมะกรูดนี้ถ้าเอามาเผาไฟ ก่อนเผาคว้าน เอาไส้ในออก แล้วเอามหาหิงคุ์ใส่ในกลางผล สุมไฟให้เกรียมจนกรอบ บดเป็นผงละเอียด ละลายกับน้าผึ้งป้ายลิ้นเด็กที่คลอดใหม่ขับผายลม ดีนัก แก้ปวดท้อง ผิวของลูกมะกรูด ปรุงเป็นยาลม ขับลมในลาไส้ ขับระดู วิธีดาเนินงาน อุปกรณ์และสารเคมี อุปกรณ์
  • 5. 5 1. หม้อ 2. กรวย 3. ขวดสเปรย์ 4. ภาชนะตวง วัสดุและสารเคมี 1. ตะไคร้ 30 กรัม 2. ใบมะกรูด 30 กรัม 3. ใบเตย 30 กรัม 4. . แอลกอฮอร์ 600 มิลลิลิตร (เจือจาง 70%) วิธีการทดลอง 1. นาใบเตย ตะไคร้ ใบมะกรูดมาหั่นเป็นชิ้นเล็กๆ(เพื่อให้สมุนไพรสามารถออกกลิ่นได้เร็วกว่าการที่ต้มโดยไม่ หั่น) 2.ต้มแอลกอฮอร์แล้วนาสมุนไพรทั้ง 3 ชนิดลงไปต้ม 3. ทิ้งไว้ให้เย็นแล้วกรองกากสมุนไพรออก จากนั้นสามารถบรรจุลงขวดสเปรย์ได้ทันที งบประมาณ - 100 บาท ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
  • 6. 6 ที่ 1 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5  16 17 ณิชากร,พงศ์ ศิริ 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล   ณิชากร,พงศ์ ศิริ 3 จัดทาโครงร่างงาน   ณิชากร,พงศ์ ศิริ 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน      ณิชากร,พงศ์ ศิริ 5 ปรับปรุงทดสอบ     ณิชากร,พงศ์ ศิริ 6 การทาเอกสารรายงาน   ณิชากร,พงศ์ ศิริ 7 ประเมินผลงาน  ณิชากร,พงศ์ ศิริ 8 นาเสนอโครงงาน  ณิชากร,พงศ์ ศิริ ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 1. การเพิ่มคุณค่าให้กับสมุนไพรในท้องถิ่น 2. การลดมลพิษให้กับสิ่งแวดล้อม 3. การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นกับวิทยาศาสตร์ให้เกิดประโยชน์ สถานที่ดาเนินการ บ้านของนางสาวณิชากร กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง วิทยาศาสตร์ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) http://www.youtube.com/watch?v=69krUxyZqS8