ݺߣ
Submit Search
โครงงาȨารปลูกผักพื้Ȩ้าน
•
0 likes
•
1,752 views
Natsarin Khakhai
Follow
1 of 18
Download now
Download to read offline
More Related Content
โครงงาȨารปลูกผักพื้Ȩ้าน
2.
คุณค่าทางโภชนาการของผักพื้นบ้านไทย แนวทางการกินผักพื้นบ้าน ฟักเขียว (winter melon)
3.
คุณค่าทางโภชนาการของผักพื้นบ้านไทย 1. แคลเซียม ฟอสฟอรัส
เป็นส่วนประกอบของกระดูกและฟัน ธาตุเหล็ก เป็นส่วนประกอบของเมล็ดแดง ที่เรียกว่าฮีโมโกลบิน ถ้าร่างกายได้รับธาตุเหล็กไม่เพียงพอจะทาให้เกิดภาวะโลหิตจาง ผักพื้นบ้านที่มธาตุเหล็กมากได้แก่ ขมิ้นขาว ใบกระเพรา กระถิน ชะพลู ี หน้าหลัก ถัดไป
4.
2. ต้านโรค ผักพื้นบ้านมีคุณสมบัติหลายประการที่เหมาะทั้งการป้องกัน ทั้งช่วยรักษาโรคความเสื่อมของร่างกาย
อุดมไปด้วยสารต้านอนุมูลอิสระ สีที่เขียวและรสที่ฝาดของผักพื้นบ้านจะมีสารต้าน อนุมูลอิสระมีทั้งเบต้าแคโรทีน และวิตามินซี เช่น ยอดแค แครอท ใบยอ ยอดและใบตาลึง ผักชีลาว ใบกระเจี๊ยบ ดอกขี้เหล็ก ผักหวาน ย้อนกลับ หน้าหลัก
5.
แนวทางการกินผักพื้นบ้าน ฤดูร้อน ควรรับประทานผักรสขม เย็น
และจืด เช่น ผักหนาม ขี้เหล็ก มะขาม ตาลึง ฤดูฝน ควรรับประทาน รสเผ็ดร้อน เช่น กระเจี๊ยบแดง หอมแดง แมงลัก ฤดูหนาว ควรรับประทานผัก รสขม ร้อน และเปรี้ยว เช่น ข่าอ่อน พริกไทย ผักแพว หน้าหลัก ถัดไป
6.
แนวทางบริโภคผักพื้นบ้านตามลักษณะสีผิวกายและโลหิต 1. คนผิวขาว โลหิตมีรสหวาน
ควรเลือกรับประทานผักพื้นบ้านรสเผ็ด ร้อน ขม 2. คนผิวขาวเหลือง โลหิตมีรสเปรี้ยว ควรเลือกรับประทานผักพื้นบ้านรสเค็ม 3. คนผิวคาแดง โลหิตรสเค็ม รับประทานผักพื้นบ้านได้ทุกรสยกเว้นรสเค็ม 4.คนผิวดา โลหิตมีรสเค็มจัด และเย็นจัด ควรเลือกรับประทานผักพื้นบ้านรส หวาน ย้อนกลับ หน้าหลัก
8.
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ การปลูกฟักเขียว คุณค่าทางโภชนาการ สรรพคุณทางยา ชื่อท้องถิ่น การเลือกฟักเขียว
9.
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ฟักเขียวเป็นพืชอายุสั้น ใบมีลักษณะเป็นหยักคล้ายฝ่ามือขอบใบแยก ออกเป็น 5–7
แฉก ใบหยาบใบกว้างประมาณ 5–15 เซนติเมตร มีขน ปกคลุม มีดอกสีเหลือง ดอกเพศเมียก้านดอกจะสั้นกว่าดอกเพศผู้ ผล มีลักษณะเป็นรูปกลมยาวกว้างประมาณ 20–30 เซนติเมตร ยาว 30–60 เซนติเมตร เปลือกแข็งสีเขียวเนื้อในสีขาว เนื้อแน่น ฉ่าน้า มี เมล็ดอยูภายในจานวนมากสีขาวออกเหลือง ่ หน้าหลัก
10.
การปลูกฟักเขียว ฟักเขียวขยายพันธุ์โดยใช้เมล็ด ปลูกได้ดีในดินร่วนปนทราย โดยการนา เมล็ดที่เตรียมไว้หยอดลงหลุมลึกประมาณ
3–5 เซนติเมตร ประมาณ 2–3 เมล็ด กลบหลุมและรดน้าสม่าเสมอทุกวัน โดยเฉพาะช่วงติดดอก และผล ในช่วงเวลา 15 วัน ก่อนการเก็บเกี่ยวควรหยุดการให้น้าเพื่อให้ ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพและเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ในช่วง 35–60 วัน หน้าหลัก
11.
คุณค่าทางโภชนาการ คนไทยมักนาผลฟักเขียวมาประกอบอาหารในประเภท ต้ม ผัด
แกง หรือนามาทาขนมหวาน เมนูของฟักเขียวที่รู้จักกันดี คือ แกงจืดฟักต้ม กับไก่ ฟักเชื่อม และยอดอ่อนลวกหรือต้มรับประทานทานคู่กับน้าพริก ฟักเขียวสามารถบริโภคได้ทั้งผลอ่อนและผลแก่ โดยผลอ่อนรสชาติ จะเข้มกว่าผลแก่ มีน้ามาก ส่วนเมล็ดอุดมไปด้วยน้ามันและโปรตีนโดย ทาให้สุกสามารถกินได้ แต่มีข้อควรระวังสาหรับคนที่มีปัญหาทางด้าน การขับถ่าย และมีอาการแน่นหน้าอก ไม่ควรรับประทาน หน้าหลัก ถัดไป
12.
ตารางคุณค่าทางโภชนาการของฟักต่อผลสด 100 กรัม(g.) พลังงาน
( Energy ) โปรตีน ( Protein ) 0.4 g ไขมัน ( Fat ) 0.2 g คาร์โบไฮเดรต ( Carbohydrate ) 3g ใยอาหาร( Fiber) 0.4 g แคลเซียม ( Calcium ) 19 mg ฟอสฟอรัส ( Phosphorus ) 19 mg ธาตุเหล็ก ( Iron ) 0.4 mg โซเดียม ( Sodium ) 6 mg โพแทสเซียม ( Potassium ) 111 mg วิตามินบี 1 ( Thiamin ) 4 mg วิตามินบี 2 ( Riboflavin ) ย้อนกลับ 13 cal. 0.11 mg ไนอะซิน ( Niacin ) 0.4 mg วิตามินซี ( Vitamin C ) หน้าหลัก 13 mg
13.
สรรพคุณทางยา ใบ – แก้ฟกช้า
แก้พิษผึ้งต่อย ช่วยรักษาบาดแผล แก้โรคบิด แก้ร้อนใน กระหายน้า แก้บวมอักเสบมีหนอง ผล – ขับปัสสาวะ ขับเสมหะ แก้ไอ แก้ธาตุพิการ แก้โลหิตเป็นพิษ บวม น้า หลอดลมอักเสบ เมล็ด – ลดไข้ แก้ริดสีดวงทวาร แก้โรคทางเดินปัสสาวะ แก้ไตอักเสบ บารุงผิว ละลายเสมหะ หน้าหลัก ถัดไป
14.
ราก – แก้ไข้
แก้กระหายน้า ถอนพิษ เถาสด – รสขมเย็น ใช้รักษาริดสีดวงทวาร มีไข้สูง เปลือก – บาบัดอาการบวมน้า ขับปัสสาวะ แก้ท้องเสีย แผลบวมอักเสบ มีหนอง ย้อนกลับ หน้าหลัก
15.
การเลือกฟักเขียว วิธีการเลือกฟักเขียว ควรเลือกฟักเขียวที่มีเนือแข็ง เพราะจะมีรสหวาน ้ และกรอบเมือนามาปรุงอาหาร
ลักษณะภายในของฟักเขียวที่ดีนั้นควร ่ จะมีขอบของเนื้อเป็นสีเขียวเข้มแล้วค่อย ๆ จางเป็นสีขาวจนถึงตรง กลาง ฟักเขียวสามารถเก็บรักษาได้นานเป็นเดือนหรือค่อนปีโดยมี แว็กซ์หรือขี้ผึ้งเคลือบภายนอก หน้าหลัก
16.
ชื่อท้องถิ่น ในประเทศไทยมีชอเรียกตามท้องถิ่นต่างกันไป เช่น ื่ ภาคเหนือ –
ฟักขี้หมู, ฟักจิง, มะฟักขม, มะฟักหม่น, มะฟักหม่นขม ภาคอีสาน – บักฟัง ภาคกลาง – ฟักขาว, ฟักเขียว, ฟักจีน, แฟง ภาคใต้ – ขี้พร้า แม่ฮ่องสอน – มะฟักหอม ชาวกะเหรียง/แม่ฮ่องสอน – ดีหมือ, ลุ่เค้ส่า ่ จีนแต้จิ๋ว – ตังกวย, ตี่จือ หน้าหลัก
17.
อ้างอิง ครูบ้านนอก ฟักช่วยย่อยอาหารบารุงร่างกาย ศูนย์สงเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดเชียงใหม่ (พืชสวน) ่ ข้อมูลพื้นฐาน
ฟักเขียว
18.
ผู้จัดทา นางสาวชนนิกานต์ บุญเฉลียว เลขที่ 20 นางสาวนัทศรินทร์ ค้าขาย เลขที่
35 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/3
Download