ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
โครงงาȨัฒȨรรมอาเซียน
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) วัฒนธรรมประเทศอาเซียน
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Culture of AEC
ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน 1. น.ส.วิลาสินี คาจันทร์ เลขที่ 39 ชั้น ม.6 ห้อง 3
2. น.ส.ศิรพักตร์ มั่นคง เลขที่ 43 ชั้น ม.6 ห้อง 3
ิ
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556

MENU
โครงงาȨัฒȨรรมอาเซียน
ผู้จัดทำ

บรรณานุกรม
ศิลปวัฒนธรรมและประเพณี
ของประเทศกัมพูชา

ถัดไป
หญิง : สวมเสื้อมีลายลูกไม้ที่คอและแขน อาจห่มสไบทับ และนุ่งผ้าทอมือ ที่
เรียกว่า ซัมปอต (Sampot) และคาดเข็มขัดทับ
ชาย : สวมเสื้อคอปิด แบบราชปะแตนที่ทาจากผ้าไหมหรือผ้าฝ้ายกับกางเกงขา
ยาว และสวมรองเท้าหนังแบบสากล
ระบาอัปสรา (Apsara Dance) เป็นการแสดงนาฏศิลป์ที่โดดเด่นของกัมพูชา ซึ่งถอดแบบการ
แต่งกายและท่าร่ายรามาจากภาพจาหลักรูปนางอัปสรที่ปราสาทนครวัด นางอัปสราตัวเอกองค์แรก คือ เจ้าหญิง
บุพผาเทวี พระราชธิดาในเจ้าสีหนุ เป็นระบาที่กาเนิดขึ้นเพื่อ เข้าฉากภาพยนตร์เกี่ยวกับนครวัดที่กากับโดย
Marchel Camus ชื่อเป็นภาษาฝรั่งเศสว่า L"Oiseau du Paradis ก็คือ The Bird of Paradise
เทศกาลน้า (Water festival) หรือ “บอน อม ตุก” (Bon Om Tuk) เทศกาลประจาปีที่ยิ่งใหญ่ของ
กัมพูชา จัดขึ้นในเดือนพฤศจิกายนเพื่อเป็นการแสดงความสานึกในพระคุณของ แม่น้าที่นาความอุดมสมบูรณ์ มา
ให้ โดยจะมีการแข่งเรือยาว แสดงพลุดอกไม้ไฟ การ แสดงขบวนเรือประดับไฟ เและขบวนพาเหรด บริเวณ
ทะเลสาบ "โตนเลสาบ" ที่จัดขึ้น ทุกปีตั้งแต่ วันขึ้น 14 ค่า 15 ค่า จนถึงแรม 1 ค่า เดือนพฤศจิกายน
โครงงาȨัฒȨรรมอาเซียน
ศิลปวัฒนธรรมและประเพณี
ของประเทศบรูไน

ถัดไป
หญิง : สวมเสื้อคลุมยาว ที่เรียกว่า "บาจูกูรง" ใส่กระโปรงมิดชิด และสวม "ฮิญาบ" ผ้า
คลุมศีรษะสาหรับหญิงอิสลาม
ชาย : สวมเสื้อแขนยาว คอปิด กางเกงขายาว มีผ้าพันรอบเอว และสวมหมวก หรือมีผ้า
พันศีรษะ
บรูไนมีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับมาเลเซีย และอินโดนีเซียเป็น
อย่างมาก มีวัฒนธรรม ภาษา การแต่งกายและการดารงชีวิตที่คล้ายกัน
วัฒนธรรมส่วนใหญ่ได้อิทธิพลมาจากศาสนาอิสลามเป็นหลัก เช่น สตรีชาว
บรูไนจะแต่งตัวมิดชิด และจะไม่ยื่นมือให้ผู้ชายจับมือทักทาย เป็นต้น
โครงงาȨัฒȨรรมอาเซียน
ศิลปวัฒนธรรมและประเพณี
ของประเทศฟิลิปปินส์

ถัดไป
หญิง : นุ่งกระโปรงยาว และสวมเสื้อแขนสั้น จับจีบยกตั้งขึ้นเหนือไหล่ คล้ายปีกผีเสื้อ เรียกว่า บาลินตาวัก
ชาย : ใส่กางเกงขายาว และสวมเสื้อที่เรียกว่าบารองตากาล๊อก (Barong Tagalog)
เทศกาลอาติ - อาติหาน (Ati-Atihan) : จัดขึ้นเพื่อราลึกและแสดงความเคารพต่อ "เอตาส (Aetas)"
ชนเผ่าแรกที่มาตั้งรกรากอยู่บนเกาะแห่งหนึ่งในฟิลิปปินส์ และราลึกถึงพระเยซูคริสต์ในวัยเด็ก โดยจะแต่งตัว
เลียนแบบชนเผ่าเอตาส แล้วออกมารา รื่นเริงบนท้องถนนในเมืองคาลิบู (Kalibu)
เทศกาลซินูล็อก (Sinulog) : งานนี้จะจัดขึ้นในวันอาทิตย์ที่ 3 ของเดือนมกราคมทุกปี เป็น
งานที่จัดขึ้นเพื่อราลึกถึงนักบุญซานโต นินอย (Santo Nino) โดยจะ จัดแสดงดนตรีและมีขบวนพาเหรด
แฟนซีทั่วเมืองเซบู
เทศกาลดินาญัง (Dinagyang) : งานนี้จัดขึนเพื่อราลึกถึงนักบุญซานโต นินอย (Santo Nino)
เช่นเดียวกันกับเทศกาลซินูล็อก แต่จะจัดขึ้นในสัปดาห์ที่ 4 ของเดือน มกราคมที่เมืองอิโลอิโย (Iloilo)
โครงงาȨัฒȨรรมอาเซียน
ศิลปวัฒนธรรมและประเพณี
ของประเทศพม่า

ถัดไป
หญิง : สวมเสื้อข้างในเป็นคอกลม เอวสั้น โดยมีเสื้อนอกแขนกระบอกยาว ซึ่งนิยมใช้ผ้าเนื้อบางลาย
ลูกไม้สีสดเข้ากับสีของ "ลองยี" หรือโสร่ง ที่ยาวจรดข้อเท้าที่ต้องเหน็บชายผ้าไว้ที่เอวให้แน่นโดยไม่ใช้เข็มขัด อาจ
มีผ้าบางคล้องไหล่และสวมรองเท้าแตะ
ชาย : สวมเสื้อคอกลม แขนสั้น ติดกระดุมป้ายมาดานข้างแบบจีนที่เรียกว่า "กุยตั๋ง" หรืออาจจะใส่
เสื้อตัวยาวถึงสะโพก ติดกระดุมตรงกลางที่เรียกว่า "กุยเฮง" นุ่งโสร่งลองยี และมีผ้าแพรสีขาวหรือสีชมพูโพก
ศีรษะ และสวมรองเท้าแตะ
ประเพณีปอยส่างลอง (Poy Sang Long): หรืองานบวชลูกแก้ว เป็นงานบวชเณรที่สืบทอดกันมา
นาน และชาวเมียนมาร์ให้ความสาคัญมาก เพราะถือเป็นบุญอันยิ่งใหญ่ของครอบครัว
งานไหว้พุทธเจดีย์ประจาปี : ซึ่งแต่ละที่มักนิยมจัดในเดือนหลังออกพรรษา ถือเป็นงานเฉลิมฉลอง
ที่สนุนสนานและได้ทาบุญสร้างกุศลด้วย
โครงงาȨัฒȨรรมอาเซียน
ศิลปวัฒนธรรมและประเพณี
ของประเทศเวียดนาม

ถัดไป
เทศกาลเต็ด (Tet) หรือ "เต็ดเหงียนดาน" (Tet Nguyen Dan) : หมายถึง เทศกาลรุ่งอรุณแรกของปี
ถือเป็นเทศกาลทางศาสนาที่สาคัญที่สุด โดยจะเริ่มต้นขึ้น 1 สัปดาห์ก่อนจะถึงวันขึ้นปีใหม่ ตามจันทรคติคือ อยู่
ระหว่างปลายเดือนมกราคมถึงต้นเดือนกุมภาพันธ์ ในวัน ขึ้น 15 ค่า ของวันที่ดวงอาทิตย์อยู่ไกลเส้นศูนย์สูตร
มากที่สุดในฤดูหนาวกับวันที่ กลางวันยาวเท่ากับกลางคืน (วิษุวัต) ในฤดูใบไม้ผลิเป็นการเฉลิมฉลองความเชื่อใน
เทพเจ้า ลัทธิเต๋า ขงจื๊อ และศาสนาพุทธ รวมทั้งเป็น การแสดงความเคารพต่อบรรพบุรุษด้วย
หญิง : สวมชุด "อ่าว หญ่าย" (Ao Dai) เป็นเสื้อคลุมยาวคอตั้ง กับกางเกงขายาว
ชาย : สวมชุดที่คล้ยกับผู้หญิง แต่มีกระดุมที่ตัวเสื้อ
เทศกาลฤดูใบไม้ร่วง : จัดขึ้นในวันขึ้น 15 ค่า เดือน 8 ของทุกปี ชาวบ้านจะประกวดทาขนมเปี๊ยะโก๋
ญวนหรือบันตรังทู และมีการจัดขบวนเชิดมังกร เพื่อแสดงความเคารพต่อพระจันทร์
โครงงาȨัฒȨรรมอาเซียน
ศิลปวัฒนธรรมและประเพณี
ของประเทศอินโดนีเซีย

ถัดไป
หญิง : สวมเสื้อ "คะบาย่า" เสื้อแขนยาว คอแหลม ผ่าหน้าอกเข้ารูปยาวปิดสะโพก ปักฉลุลายลูกไม้
เข้ากับผ้าโสร่งที่เป็นผ้าพื้นเมืองที่เรยกว่า "ปาเต๊ะ" หรือ "บาติก" โดยมีผ้าคล้องคอยาว และสวมรองเท้าแตะหรือ
ส้นสูงแบบสากล
ชาย : สวมเสื้อคอปิด สวมหมวกคล้ายหมวกหนีบ นุ่งกางเกงขายาว หรือโสร่งสีและลงดลายเข้ากับ
หมวกสวมรองเท้าแตะหรือรองเท้าหุ้มส้น หากเข้าพิธีสาคัญ จะเหน็บกริชด้วย ซึ่งวิธีแต่งกายจะแตกต่างกันไป
ตามแต่ละเกาะ
วายัง กูลิต (Wayang Kulit) : เป็นการแสดงเชิดหุ่นเงาที่เป็นเอกลักษณ์ของอินโดนีเซีย และถือเป็น
ศิลปะการแสดงที่งดงามและวิจิตรกว่าการ แสดงชนิดอื่น เพราะรวมศิลปะหลายชนิดไว้ด้วยกัน โดยฉบับดั้งเดิม
ใช้หุ่นเชิดที่ทาด้วยหนังสัตว์ นิยมใช้วงดนตรี พื้นบ้านบรรเลงขณะแสดง
ระบาบารอง (Barong Dance) : ละครพื้นเมืองดั้งเดิมของเกาะบาหลี มีการใช้หน้ากากและเชิดหุ่น
เป็นตัวละคร โดยมีการเล่นดนตรีสดประกอบการแสดง เป็นเรื่องราวของการต่อสู้กันของ บารอง คนครึ่งสิงห์ ซึ่ง
เป็นตัวแทนฝ่ยความดีกับรังดา พ่อมดหมอผีตัวแทนฝ่ายอธรรม โดยฝ่ายธรรมะจะได้รับชัยชนะในที่สุด
ผ้าบาติก (Batik) หรือ ผ้าปาเต๊ะ : เป็นผ้าพื้นเมืองของอินโดนีเซีย ที่มีวิธีการทาโดยใช้เทียนปิดส่วน
ที่ไม่ต้องการให้ติดสีและใช้วิธีการแต้มระบาย หรือ ย้อมในส่วนที่ต้องการให้ติดสี ผ้าบาติกนิยมใช้เป็นเครื่องแต่ง
กายของหนุ่มสาว โดยใช้เป็นผ้าโพกศีรษะชาย ผ้าคลุมศีรษะหญิง ผ้าทับกางเกงชาย และโสร่ง หรือผ่าที่ใช้นุ่งโดย
การพันรอบตัว ซึ่งส่วนที่เรียกว่า "ปาเต๊ะ" คือ ส่วนที่ต้องนุ่งให้ตรงกับสะโพก โดยมีลวดลายสีสัน ต่างไปจากส่วน
อื่นๆ ในผ้าผืนเดียวกันนั่นเอง
โครงงาȨัฒȨรรมอาเซียน
ศิลปวัฒนธรรมและประเพณี
ของประเทศสิงคโปร์

ถัดไป
หญิง : สวมเสื้อและผ้าถุงพิมพ์ลาย สีสันสดใส
ชาย : สวมสูทสากล
เทศกาลตรุษจีน (Chinese New Year) ในเดือนกุมภาพันธ์ ชาวสิงคโปร์เชื้อสายจีนจะจัดงานเซ่น
ไหว้เทพเจ้าและงานรื่นเริงสนุกสนานอื่นๆ โดยรัฐบาล ห้างร้าน และบริษัทต่างๆ จะหยุดทาการเป็นเวลา 2 วัน
แต่บางแห่ง อาจหยุดนานถึง 15 วัน
โครงงาȨัฒȨรรมอาเซียน
ศิลปวัฒนธรรมและประเพณี
ของประเทศมาเลเซีย

ถัดไป
หญิง : สวมเสื้อ "บาราจูกุง" ซึ่งเป็นเสื้อแขนยาว ที่มีขนาดตัวยาวถึงเข่า หรือเสื้อ "คะบาย่า" ซึ่งเป็น
เสื้อแขนยาวสีสันสดในและมีฉลุดอกไม้ ขนาดพอดีตัวปิดถึงสะโพก และนุ่งกับโสร่งที่มีลวดลายเข้ากับเสื้อ
บางครั้งมีผ้าคล้องคอ และสวมรองเท้าแตะ หรือร้องเท้าส้นสูงแบบสากล
ชาย : สวมเสื้อแขนยาวแบบคอปิดติดกระดุม และนุ่งกางเกงขายาวสีเดียวกับเสื้อ ที่เรียกว่าชุด "บาจู
มลายู" ซึ่งมีผ้าคาดทับเอว และสวมหมวกแบบมุสลิมี่เรียกว่า "ซอเกาะ" สวมรองเท้าหนังแบบสากล
การราซาบิน (Zapin) : เป็นการแสดงการฟ้อนราหมู่ ซึ่งเป็นศิลปะพื้นเมืองของชาวมาเลเซีย โดย
เป็นการฟ้อนราที่ได้รับอิทธพลมาจาก ดินแดนอาระเบีย โดยมีผู้แสดงเป็นหญิง ชาย จานวน 6 คู่ เต้นตามจังหวะ
ของกีตาร์แบบอาระเบีน และ กลอง เล็กสองหน้าที่บรรเลงจากช้าไปเร็ว
เทศกาลทาเดา คาอามาตัน (Tadau Kaamatan) : เป็นเทศกาลประจาปีในรัฐซาบาห์ จัดในช่วงสิ้น
เดือนพฤษภาคม ซึ่งเป็นช่วงสิ้นสุดของฤดูการเก็บเกี่ยวข้าวและเริ่มต้นฤดูกาลใหม่ โดยจะมีพิธีกรรมตามความ
เชื่อในการทาเกษตร และมีการแสดงระบาพื้นเมือง และขับร้องบทเพลงท้องถิ่นเพื่อเฉลิมฉลองอีกด้วย
โครงงาȨัฒȨรรมอาเซียน
ศิลปวัฒนธรรมและประเพณี
ของประเทศลาว

ถัดไป
หญิง : นุ่งผ้าซิ่นทอลาย ใส่เสื้อแขนยาว ทรงกระบอก และมีสไบเฉียงพาดไหล่
ชาย : นุ่งโจงกระเบน และสวมเสื้อชั้นนอก กระดุมเจ็ดเม็ด
ราวงบัดสลบ (Paslop Dance)
การตักบาตรข้าวเหนียว : ถือเป็นจุดเด่นของเมืองหลวงพระบาง ซึ่งโดยปกติแล้วนิยมใส่บาตรด้วย
ข้าวเหนียวเพียงอย่างเดียว เพราะเมื่อถึงเวลาฉัน ชาวบ้านจะยกสารับกับข้าวไปถวายที่วัด เรียกว่า "ถวายจังหัน"
โดยเวลาใส่บาตร จะนั่งคุกเข่าและผู้หญิงต้องนุ่งซิ่น ส่วนผู้ชายนุ่งกางเกงขายาว และมีผ้าพาดไหล่ไว้สาหรับเป็น
ผ้ากราบพระเหมือนกัน
โครงงาȨัฒȨรรมอาเซียน
ศิลปวัฒนธรรมและประเพณี
ของประเทศไทย

ถัดไป
หญิง : สวมชุดไทยจักรี ประกอบด้วยสไบเฉียง เปิดบ่าข้างขวา ชายสไบคลุมด้านซ้าย ทิ้งชาย
ด้านหลังยาวตามสมควร และนุ่งทับ ด้วยผ้าซิ่นไหมยก คาดเข็มขัด และสวมเครื่องประดับ
ชาย : สวมชุดพระราชทาน ตัวเสื้อเข้ารูปเล็กน้อย คอตั้ง ผ่าอกตลอด ติดกระดุม 5 เม็ด มีทั้งแขนสั้น
และแขนยาว โดยจะเป็นสีเรียบ หรือมีลวดลายก็ได้
การไหว้ : เป็นประเพณีการทักทายที่ถือเป็นเอกลักษณ์โดดเด่นของไทย โดยเป็นการแสดงถึงความมี
สัมมาคารวะ และให้เกียรติกันและกัน นอกจากการทักทายแล้ว การไหว้ยังสื่อถึงการขอบคุณ ขอโทษ หรือกล่าว
ลาด้วย
โขน : เป็นนาฏศิลป์เก่าแก่ของไทย มีลักษณะสาคัญที่ผู้แสดงต้องสวมหัวโขนทั้งหมด ยกเว้นตัวนาง
พระ และเทวดา ซึ่งแสดงโดยใช้ท่าราและท่าทางประกอบทานองเพลง ดาเนินเรื่องด้วยบทพากย์และบทเจรจา
เรื่องที่นิยม นามาแสดงโขนคือ รามเกียรติ์
เทศกาลสงกรานต์ (Songkran Festival) : ประเพณีเก่าแก่ ถือเป็นการเฉลิมฉลองวันขึ้นปีใหม่ของ
ไทยที่ยึดถือปฏิบัติกัน โดยจะมีการรดน้าขอพรผู้ใหญ่ สรงน้าพระ ทาบุญตักบาตร ปล่อยนกปล่อยปลา ขนทราย
เข้าวัด และก่อเจดีย์ทราย รวมทั้งมีการเล่นสาดน้า เพื่อความสนุกสนานด้วย
โครงงาȨัฒȨรรมอาเซียน
บรรณานุกรม
• 2557. อาเซียน (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.aseaninfo.com/index.html. 4 กุมภาพันธ์ 2557

More Related Content

โครงงาȨัฒȨรรมอาเซียน

  • 2. ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) วัฒนธรรมประเทศอาเซียน ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Culture of AEC ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน 1. น.ส.วิลาสินี คาจันทร์ เลขที่ 39 ชั้น ม.6 ห้อง 3 2. น.ส.ศิรพักตร์ มั่นคง เลขที่ 43 ชั้น ม.6 ห้อง 3 ิ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 MENU
  • 6. หญิง : สวมเสื้อมีลายลูกไม้ที่คอและแขน อาจห่มสไบทับ และนุ่งผ้าทอมือ ที่ เรียกว่า ซัมปอต (Sampot) และคาดเข็มขัดทับ ชาย : สวมเสื้อคอปิด แบบราชปะแตนที่ทาจากผ้าไหมหรือผ้าฝ้ายกับกางเกงขา ยาว และสวมรองเท้าหนังแบบสากล
  • 7. ระบาอัปสรา (Apsara Dance) เป็นการแสดงนาฏศิลป์ที่โดดเด่นของกัมพูชา ซึ่งถอดแบบการ แต่งกายและท่าร่ายรามาจากภาพจาหลักรูปนางอัปสรที่ปราสาทนครวัด นางอัปสราตัวเอกองค์แรก คือ เจ้าหญิง บุพผาเทวี พระราชธิดาในเจ้าสีหนุ เป็นระบาที่กาเนิดขึ้นเพื่อ เข้าฉากภาพยนตร์เกี่ยวกับนครวัดที่กากับโดย Marchel Camus ชื่อเป็นภาษาฝรั่งเศสว่า L"Oiseau du Paradis ก็คือ The Bird of Paradise
  • 8. เทศกาลน้า (Water festival) หรือ “บอน อม ตุก” (Bon Om Tuk) เทศกาลประจาปีที่ยิ่งใหญ่ของ กัมพูชา จัดขึ้นในเดือนพฤศจิกายนเพื่อเป็นการแสดงความสานึกในพระคุณของ แม่น้าที่นาความอุดมสมบูรณ์ มา ให้ โดยจะมีการแข่งเรือยาว แสดงพลุดอกไม้ไฟ การ แสดงขบวนเรือประดับไฟ เและขบวนพาเหรด บริเวณ ทะเลสาบ "โตนเลสาบ" ที่จัดขึ้น ทุกปีตั้งแต่ วันขึ้น 14 ค่า 15 ค่า จนถึงแรม 1 ค่า เดือนพฤศจิกายน
  • 11. หญิง : สวมเสื้อคลุมยาว ที่เรียกว่า "บาจูกูรง" ใส่กระโปรงมิดชิด และสวม "ฮิญาบ" ผ้า คลุมศีรษะสาหรับหญิงอิสลาม ชาย : สวมเสื้อแขนยาว คอปิด กางเกงขายาว มีผ้าพันรอบเอว และสวมหมวก หรือมีผ้า พันศีรษะ
  • 12. บรูไนมีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับมาเลเซีย และอินโดนีเซียเป็น อย่างมาก มีวัฒนธรรม ภาษา การแต่งกายและการดารงชีวิตที่คล้ายกัน วัฒนธรรมส่วนใหญ่ได้อิทธิพลมาจากศาสนาอิสลามเป็นหลัก เช่น สตรีชาว บรูไนจะแต่งตัวมิดชิด และจะไม่ยื่นมือให้ผู้ชายจับมือทักทาย เป็นต้น
  • 15. หญิง : นุ่งกระโปรงยาว และสวมเสื้อแขนสั้น จับจีบยกตั้งขึ้นเหนือไหล่ คล้ายปีกผีเสื้อ เรียกว่า บาลินตาวัก ชาย : ใส่กางเกงขายาว และสวมเสื้อที่เรียกว่าบารองตากาล๊อก (Barong Tagalog)
  • 16. เทศกาลอาติ - อาติหาน (Ati-Atihan) : จัดขึ้นเพื่อราลึกและแสดงความเคารพต่อ "เอตาส (Aetas)" ชนเผ่าแรกที่มาตั้งรกรากอยู่บนเกาะแห่งหนึ่งในฟิลิปปินส์ และราลึกถึงพระเยซูคริสต์ในวัยเด็ก โดยจะแต่งตัว เลียนแบบชนเผ่าเอตาส แล้วออกมารา รื่นเริงบนท้องถนนในเมืองคาลิบู (Kalibu)
  • 17. เทศกาลซินูล็อก (Sinulog) : งานนี้จะจัดขึ้นในวันอาทิตย์ที่ 3 ของเดือนมกราคมทุกปี เป็น งานที่จัดขึ้นเพื่อราลึกถึงนักบุญซานโต นินอย (Santo Nino) โดยจะ จัดแสดงดนตรีและมีขบวนพาเหรด แฟนซีทั่วเมืองเซบู
  • 18. เทศกาลดินาญัง (Dinagyang) : งานนี้จัดขึนเพื่อราลึกถึงนักบุญซานโต นินอย (Santo Nino) เช่นเดียวกันกับเทศกาลซินูล็อก แต่จะจัดขึ้นในสัปดาห์ที่ 4 ของเดือน มกราคมที่เมืองอิโลอิโย (Iloilo)
  • 21. หญิง : สวมเสื้อข้างในเป็นคอกลม เอวสั้น โดยมีเสื้อนอกแขนกระบอกยาว ซึ่งนิยมใช้ผ้าเนื้อบางลาย ลูกไม้สีสดเข้ากับสีของ "ลองยี" หรือโสร่ง ที่ยาวจรดข้อเท้าที่ต้องเหน็บชายผ้าไว้ที่เอวให้แน่นโดยไม่ใช้เข็มขัด อาจ มีผ้าบางคล้องไหล่และสวมรองเท้าแตะ ชาย : สวมเสื้อคอกลม แขนสั้น ติดกระดุมป้ายมาดานข้างแบบจีนที่เรียกว่า "กุยตั๋ง" หรืออาจจะใส่ เสื้อตัวยาวถึงสะโพก ติดกระดุมตรงกลางที่เรียกว่า "กุยเฮง" นุ่งโสร่งลองยี และมีผ้าแพรสีขาวหรือสีชมพูโพก ศีรษะ และสวมรองเท้าแตะ
  • 22. ประเพณีปอยส่างลอง (Poy Sang Long): หรืองานบวชลูกแก้ว เป็นงานบวชเณรที่สืบทอดกันมา นาน และชาวเมียนมาร์ให้ความสาคัญมาก เพราะถือเป็นบุญอันยิ่งใหญ่ของครอบครัว
  • 23. งานไหว้พุทธเจดีย์ประจาปี : ซึ่งแต่ละที่มักนิยมจัดในเดือนหลังออกพรรษา ถือเป็นงานเฉลิมฉลอง ที่สนุนสนานและได้ทาบุญสร้างกุศลด้วย
  • 26. เทศกาลเต็ด (Tet) หรือ "เต็ดเหงียนดาน" (Tet Nguyen Dan) : หมายถึง เทศกาลรุ่งอรุณแรกของปี ถือเป็นเทศกาลทางศาสนาที่สาคัญที่สุด โดยจะเริ่มต้นขึ้น 1 สัปดาห์ก่อนจะถึงวันขึ้นปีใหม่ ตามจันทรคติคือ อยู่ ระหว่างปลายเดือนมกราคมถึงต้นเดือนกุมภาพันธ์ ในวัน ขึ้น 15 ค่า ของวันที่ดวงอาทิตย์อยู่ไกลเส้นศูนย์สูตร มากที่สุดในฤดูหนาวกับวันที่ กลางวันยาวเท่ากับกลางคืน (วิษุวัต) ในฤดูใบไม้ผลิเป็นการเฉลิมฉลองความเชื่อใน เทพเจ้า ลัทธิเต๋า ขงจื๊อ และศาสนาพุทธ รวมทั้งเป็น การแสดงความเคารพต่อบรรพบุรุษด้วย
  • 27. หญิง : สวมชุด "อ่าว หญ่าย" (Ao Dai) เป็นเสื้อคลุมยาวคอตั้ง กับกางเกงขายาว ชาย : สวมชุดที่คล้ยกับผู้หญิง แต่มีกระดุมที่ตัวเสื้อ
  • 28. เทศกาลฤดูใบไม้ร่วง : จัดขึ้นในวันขึ้น 15 ค่า เดือน 8 ของทุกปี ชาวบ้านจะประกวดทาขนมเปี๊ยะโก๋ ญวนหรือบันตรังทู และมีการจัดขบวนเชิดมังกร เพื่อแสดงความเคารพต่อพระจันทร์
  • 31. หญิง : สวมเสื้อ "คะบาย่า" เสื้อแขนยาว คอแหลม ผ่าหน้าอกเข้ารูปยาวปิดสะโพก ปักฉลุลายลูกไม้ เข้ากับผ้าโสร่งที่เป็นผ้าพื้นเมืองที่เรยกว่า "ปาเต๊ะ" หรือ "บาติก" โดยมีผ้าคล้องคอยาว และสวมรองเท้าแตะหรือ ส้นสูงแบบสากล ชาย : สวมเสื้อคอปิด สวมหมวกคล้ายหมวกหนีบ นุ่งกางเกงขายาว หรือโสร่งสีและลงดลายเข้ากับ หมวกสวมรองเท้าแตะหรือรองเท้าหุ้มส้น หากเข้าพิธีสาคัญ จะเหน็บกริชด้วย ซึ่งวิธีแต่งกายจะแตกต่างกันไป ตามแต่ละเกาะ
  • 32. วายัง กูลิต (Wayang Kulit) : เป็นการแสดงเชิดหุ่นเงาที่เป็นเอกลักษณ์ของอินโดนีเซีย และถือเป็น ศิลปะการแสดงที่งดงามและวิจิตรกว่าการ แสดงชนิดอื่น เพราะรวมศิลปะหลายชนิดไว้ด้วยกัน โดยฉบับดั้งเดิม ใช้หุ่นเชิดที่ทาด้วยหนังสัตว์ นิยมใช้วงดนตรี พื้นบ้านบรรเลงขณะแสดง
  • 33. ระบาบารอง (Barong Dance) : ละครพื้นเมืองดั้งเดิมของเกาะบาหลี มีการใช้หน้ากากและเชิดหุ่น เป็นตัวละคร โดยมีการเล่นดนตรีสดประกอบการแสดง เป็นเรื่องราวของการต่อสู้กันของ บารอง คนครึ่งสิงห์ ซึ่ง เป็นตัวแทนฝ่ยความดีกับรังดา พ่อมดหมอผีตัวแทนฝ่ายอธรรม โดยฝ่ายธรรมะจะได้รับชัยชนะในที่สุด
  • 34. ผ้าบาติก (Batik) หรือ ผ้าปาเต๊ะ : เป็นผ้าพื้นเมืองของอินโดนีเซีย ที่มีวิธีการทาโดยใช้เทียนปิดส่วน ที่ไม่ต้องการให้ติดสีและใช้วิธีการแต้มระบาย หรือ ย้อมในส่วนที่ต้องการให้ติดสี ผ้าบาติกนิยมใช้เป็นเครื่องแต่ง กายของหนุ่มสาว โดยใช้เป็นผ้าโพกศีรษะชาย ผ้าคลุมศีรษะหญิง ผ้าทับกางเกงชาย และโสร่ง หรือผ่าที่ใช้นุ่งโดย การพันรอบตัว ซึ่งส่วนที่เรียกว่า "ปาเต๊ะ" คือ ส่วนที่ต้องนุ่งให้ตรงกับสะโพก โดยมีลวดลายสีสัน ต่างไปจากส่วน อื่นๆ ในผ้าผืนเดียวกันนั่นเอง
  • 37. หญิง : สวมเสื้อและผ้าถุงพิมพ์ลาย สีสันสดใส ชาย : สวมสูทสากล
  • 38. เทศกาลตรุษจีน (Chinese New Year) ในเดือนกุมภาพันธ์ ชาวสิงคโปร์เชื้อสายจีนจะจัดงานเซ่น ไหว้เทพเจ้าและงานรื่นเริงสนุกสนานอื่นๆ โดยรัฐบาล ห้างร้าน และบริษัทต่างๆ จะหยุดทาการเป็นเวลา 2 วัน แต่บางแห่ง อาจหยุดนานถึง 15 วัน
  • 41. หญิง : สวมเสื้อ "บาราจูกุง" ซึ่งเป็นเสื้อแขนยาว ที่มีขนาดตัวยาวถึงเข่า หรือเสื้อ "คะบาย่า" ซึ่งเป็น เสื้อแขนยาวสีสันสดในและมีฉลุดอกไม้ ขนาดพอดีตัวปิดถึงสะโพก และนุ่งกับโสร่งที่มีลวดลายเข้ากับเสื้อ บางครั้งมีผ้าคล้องคอ และสวมรองเท้าแตะ หรือร้องเท้าส้นสูงแบบสากล ชาย : สวมเสื้อแขนยาวแบบคอปิดติดกระดุม และนุ่งกางเกงขายาวสีเดียวกับเสื้อ ที่เรียกว่าชุด "บาจู มลายู" ซึ่งมีผ้าคาดทับเอว และสวมหมวกแบบมุสลิมี่เรียกว่า "ซอเกาะ" สวมรองเท้าหนังแบบสากล
  • 42. การราซาบิน (Zapin) : เป็นการแสดงการฟ้อนราหมู่ ซึ่งเป็นศิลปะพื้นเมืองของชาวมาเลเซีย โดย เป็นการฟ้อนราที่ได้รับอิทธพลมาจาก ดินแดนอาระเบีย โดยมีผู้แสดงเป็นหญิง ชาย จานวน 6 คู่ เต้นตามจังหวะ ของกีตาร์แบบอาระเบีน และ กลอง เล็กสองหน้าที่บรรเลงจากช้าไปเร็ว
  • 43. เทศกาลทาเดา คาอามาตัน (Tadau Kaamatan) : เป็นเทศกาลประจาปีในรัฐซาบาห์ จัดในช่วงสิ้น เดือนพฤษภาคม ซึ่งเป็นช่วงสิ้นสุดของฤดูการเก็บเกี่ยวข้าวและเริ่มต้นฤดูกาลใหม่ โดยจะมีพิธีกรรมตามความ เชื่อในการทาเกษตร และมีการแสดงระบาพื้นเมือง และขับร้องบทเพลงท้องถิ่นเพื่อเฉลิมฉลองอีกด้วย
  • 46. หญิง : นุ่งผ้าซิ่นทอลาย ใส่เสื้อแขนยาว ทรงกระบอก และมีสไบเฉียงพาดไหล่ ชาย : นุ่งโจงกระเบน และสวมเสื้อชั้นนอก กระดุมเจ็ดเม็ด
  • 48. การตักบาตรข้าวเหนียว : ถือเป็นจุดเด่นของเมืองหลวงพระบาง ซึ่งโดยปกติแล้วนิยมใส่บาตรด้วย ข้าวเหนียวเพียงอย่างเดียว เพราะเมื่อถึงเวลาฉัน ชาวบ้านจะยกสารับกับข้าวไปถวายที่วัด เรียกว่า "ถวายจังหัน" โดยเวลาใส่บาตร จะนั่งคุกเข่าและผู้หญิงต้องนุ่งซิ่น ส่วนผู้ชายนุ่งกางเกงขายาว และมีผ้าพาดไหล่ไว้สาหรับเป็น ผ้ากราบพระเหมือนกัน
  • 51. หญิง : สวมชุดไทยจักรี ประกอบด้วยสไบเฉียง เปิดบ่าข้างขวา ชายสไบคลุมด้านซ้าย ทิ้งชาย ด้านหลังยาวตามสมควร และนุ่งทับ ด้วยผ้าซิ่นไหมยก คาดเข็มขัด และสวมเครื่องประดับ ชาย : สวมชุดพระราชทาน ตัวเสื้อเข้ารูปเล็กน้อย คอตั้ง ผ่าอกตลอด ติดกระดุม 5 เม็ด มีทั้งแขนสั้น และแขนยาว โดยจะเป็นสีเรียบ หรือมีลวดลายก็ได้
  • 52. การไหว้ : เป็นประเพณีการทักทายที่ถือเป็นเอกลักษณ์โดดเด่นของไทย โดยเป็นการแสดงถึงความมี สัมมาคารวะ และให้เกียรติกันและกัน นอกจากการทักทายแล้ว การไหว้ยังสื่อถึงการขอบคุณ ขอโทษ หรือกล่าว ลาด้วย
  • 53. โขน : เป็นนาฏศิลป์เก่าแก่ของไทย มีลักษณะสาคัญที่ผู้แสดงต้องสวมหัวโขนทั้งหมด ยกเว้นตัวนาง พระ และเทวดา ซึ่งแสดงโดยใช้ท่าราและท่าทางประกอบทานองเพลง ดาเนินเรื่องด้วยบทพากย์และบทเจรจา เรื่องที่นิยม นามาแสดงโขนคือ รามเกียรติ์
  • 54. เทศกาลสงกรานต์ (Songkran Festival) : ประเพณีเก่าแก่ ถือเป็นการเฉลิมฉลองวันขึ้นปีใหม่ของ ไทยที่ยึดถือปฏิบัติกัน โดยจะมีการรดน้าขอพรผู้ใหญ่ สรงน้าพระ ทาบุญตักบาตร ปล่อยนกปล่อยปลา ขนทราย เข้าวัด และก่อเจดีย์ทราย รวมทั้งมีการเล่นสาดน้า เพื่อความสนุกสนานด้วย
  • 56. บรรณานุกรม • 2557. อาเซียน (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.aseaninfo.com/index.html. 4 กุมภาพันธ์ 2557