ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
โครงงาȨระึϸษสา
โครงงาȨระึϸษสา
โครงงาȨระึϸษสา
โครงงาȨระึϸษสา
โครงงาȨระึϸษสา
• กระดาษสา มีมานาน 20 กว่าปีแล้วโดยสมัยก่อนนั้นไม่ได้ทากันอย่างแพร่เหมือน
สมัยนี้ จะทากันเฉพาะเมื่อต้องการเขียนยันต์ ทาไส้เทียนและทาตุงของเชียงใหม่
เท่านั้น ตั้งแต่นั้นมาก็ได้มีการพัฒนาการทากระดาษสาจากที่เคยทาสีขาวก็คิดหาวิธีทา
เป็นหลายๆสี และมีลวดลายมากยิ่งขึ้น ซึ่งปรากฏว่าได้รับความสนใจจากคนไทยและ
ต่างประเทศเป็นอย่างมาก ทาให้ท่านมีกาลังใจที่จะผลิตงานศิลปะ กระดาษสามาก
ยิ่งขึ้น แปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆเช่น สมุดโน้ต ถุงกระดาษ ดอกไม้ ฯลฯ และยังได้
เผยแพร่กระทากระดาษสาไปยังหมู่บ้านอื่น ๆ และสอนวิธีการทากระดาษสาให้เพื่อเป็น
การอนุรักษ์ศิลปะของไทยอีกด้วย ที่ยึดหลักการประกอบอาชีพในการทากระดาษสา สืบ
ทอดจากบรรพบุรุษของบ้านต้นเปา ซึ่งเป็นแหล่งผลิตกระดาษสาดั่งเดิมของ
เชียงใหม่ โดยในอดีตการทากระดาษสานั้นเพื่อนาไปใช้ในการผลิตร่มและพัด โดย
แหล่งผลิตร่มและพัดอยู่ที่บ้านบ่อสร้าง อาเภอสันกาแพง จังหวัดเชียงใหม่ นอกจากนี้
ยังใช้ในการทาไส้เทียน ทาตุงและทาโคมลอย ซึ่งกระดาษสายังไม่เป็นที่ต้องการของ
ท้องตลาดมากนัก
•

สมุนไพรเตยหอมนั้นคนไทยคุ้นเคยกันมานาน เนื่องจากอดีตนิยม
นาเตยหอมมาประกอบอาหารและขนมหวาน เช่น ไก่อบห่อใบเตย ใช้แต่ง
กลิ่นเวลาหุงข้าวเจ้าและข้าวเหนียว หรือนาไปแต่งกลิ่นและสีของ
ขนม เช่น วุ้นกะทิ ขนมชั้น ขนมเปียกปูน ขนมลอดช่อง ขนมขี้หนู
ฯลฯ เตยหอมมีชื่อเรียกตามท้องถิ่นว่า ปาแนะวองิง หวานข้าวไหม้ ปาเน
ถือจิ ปาหนัน พั้งลั้ง
ในปัจจุบันมีสิ่งประดิษฐ์มากมายเกิดขึ้นในโลกของเรา โดยเฉพาะเทคโนโลยี
ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น คอมพิวเตอร์ จักรยานยนต์ โทรศัพท์มือถือ โทรทัศน์ เป็น
ต้น ทาให้สังคมของคนไทยนั้นเปลี่ยนไปกลายเป็นยุคไอทียุคทันสมัยขึ้นมา
อย่างรวดเร็ว แน่นอนว่ายิ่งมีสิ่งประดิษฐ์มากขึน ย่อมต้องมีคนต้องการมากขึ้น
้
และผลที่ตามมาก็คือใช้ทรัพยากรมากขึ้น ทาให้สภาพแวดล้อมแย่ลง ทั้งหมดนี้
เป็นเพราะเรานั่นลืมวัฒนธรรมเก่าๆสมัยก่อน คานึงถึงแต่ตัวเองโดยที่ไม่ได้
รักษาเก็บเอาไว้ ดังนั้นกลุ่มของข้าพเจ้าจึงได้ทาเรื่อง การทากระดาษสา เป็น
กระดาษที่หมู่บ้านบ่อสร้าง จังหวัดเชียงใหม่ นิยมทาและเป็นหมู่บ้านหนึ่งที่ยัง
อนุรักษ์วัฒนธรรมสมัยก่อน
• 1. เพื่อผู้อ่านและผู้ทาโครงงานนี้ได้รับความรู้เกี่ยวกับกระดาษสา ประวัติ
ความเป็นมาของกระดาษสา
• 2. เพื่อให้ผู้อ่านและผู้ทาโครงงานนี้ได้รู้วิธีการทากระดาษสา องค์ประกอบ
ในการทากระดาษสา
• 3. เพื่อให้ผู้อ่านและผู้ทาโครงงานได้รู้ถึงวัฒนธรรมของหมู่บ้านบ่อสร้าง ซึ่ง
เป็นที่นิยมทาร่มแบบภาคเหนือ และทากระดาษสา
• 4. เพื่อให้ผู้อ่านและผู้ทาโครงงานสามารถนาความรู้เหล่านี้ไปเผยแพร่แก่
บุคคลอื่นได้
• 5. เพื่อให้ผู้อ่านและผู้ทาโครงงานสามารถใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์และ
สามารถเป็นรายได้แก่ตนเอง
• โครงงาȨระึϸษสานี้จัดทากระดาษสาจากวัสดุ
ธรรมชาติ คือ ใบ๶ตยหอม
วัสดุและอุปกรณ์มีดังนี้
1. มีด
2. กระดาษหนังสือพิมพ์
3. กรรไกร
4. กระดาษโรเนียว
5. เครื่องปั่น
6. กระดาษกล่อง
7. ปลั๊กไฟ
8. ตะแกรงไนล่อน ( เฟรม )
9. อ่างน้า
10. กะละมัง
11. กะละมัง
12. สีโปสเตอร์
13. สีย้อมผ้า
14. ผ้าขาวบาง
15. สีผสมอาหาร
16. กระชอน
17. หม้อ
18. เตาไฟ
19. เครื่องชัง
่
20. พืชที่ใช้ ได้แก่ ใบ๶ตยหอม
• คัดเลือกเปลือกปอสาที่อ่อนและแก่แยกจากกัน นาไปแช่น้า
ประมาณ 3 ชั่วโมงขึ้นไป แต่ไม่ควรเกิน 24 ชั่วโมง การแช่น้าจะช่วยให้
เปลือกปอสาอ่อนตัว จากนั้นนาไปใส่ภาชนะต้ม ใส่โซดาไฟ หรือน้าด่าง
จากขี้เถ้า เพื่อช่วยให้โครงสร้างของเปลือกปอสาเปื่อย และแยกจากกันเร็ว
ขึ้น ถ้าต้มปอสาอ่อนใช้โซดาไฟน้อย ต้มเปลือกแก่ต้องใช้มากขึ้น การต้มแต่
ละครั้งใช้โซดาไฟ ประมาณ 10-15% ของน้าหนัก ถ้าใช้มากไปจะทาให้เยื่อ
ถูกทาลายมากในระหว่างต้ม ต้มนานประมาณ 2 - 3 ชั่วโมง เมื่อต้มเสร็จ
แล้วนาปอสาล้างน้าจนหมดด่าง
การทาให้เป็นเยื่อ มี 2 วิธี ได้แก่
2.1 การทุบด้วยมือ
2.2 การใช้เครื่องตีเยื่อ
การทุบด้วยมือต้องใช้เวลานาน ปาสาหนัก 2 กก. ใช้เวลาทุบนาน
ประมาณ 5 ชั่วโมง ส่วนการใช้เครื่องตีเยื่อใช้เวลาประมาณ 35 Ȩทีจากนั้นนาไป
ฟอกเยื่อกระดาษสาทั่วไปฟอกไม่ขาวนักแต่ถ้าต้องการให้กระดาษสาสีขาวมาก ๆ ก็ใช้
ผงฟอกสีเข้าช่วย ได้แก่ Sodium hypo chloride หรือ
Calciumhypo chloride ประมาณ 1 : 10 โดยน้าหนักผสมในเครื่องตีเยื่อ ฟอก
นานประมาณ 35 Ȩที ถ้าไม่มีเครื่องตีเยื่อ ก็ใช้น้ายาฟอกเข้มข้น 15 กรัมต่อ
น้า 1 ลิตร แช่เยื่อลงในน้ายาฟอกนานประมาณ 12 ชั่วโมง นาเยื่อไปล้างน้าจน
หมดกลิ่นน้ายาแล้ว จะนาเยื่อไปย้อมสีตามต้องการ จากนั้นนาเยื่อเตรียมไว้สาหรับ
ทาแผ่นกระดาษต่อไป
• นาเยื่อปอสาใส่ในอ่างหรือภาชนะที่เหมาะสม ใส่น้าให้มีระดับพอเหมาะแล้วใช้ไม้
พายคนเยื่อในอ่างน้าให้ทั่ว เพื่อให้เยื่อลอยตัวและกระจายออกจากกันอย่าง
สม่าเสมอ จากนั้นนาแม่พิมพ์สาหรับทาแผ่นกระดาษมาช้อนเยื่อต่อไปซึ่งมีการทา
แผ่นได้ 2 วิธีคือ
3.1 แบบตัก ใช้แม่พิมพ์ซึ่งมีลักษณะเป็นตะแกรงไนล่อนขนาด
กว้าง 50 ซม. ยาว 60 ซม. ( ขนาดตะแกรงขึ้นอยู่กับขนาดกระดาษที่ต้องการ
) ช้อนตักเยื่อเข้าหาตัวยกตะแกรงขึ้นตรง ๆ แล้วเทน้าออกไปทางด้านหน้า
โดยเร็ว จะช่วยให้กระดาษมีความสม่าเสมอ
3.2 แบบแตะ มักใช้ตะแกรงที่ทาจากผ้าใยบัวหรือผ้ามุ้ง ซึ่งมีเนื้อ
ละเอียดและใช้วิธีชั่งน้าหนักของเยื่อ เป็นตัวกาหนดความหนาของ
แผ่นกระดาษ นาเยื่อใส่ในอ่างน้าใช้มือแตะเกลี่ยกระจายเยื่อบนแม่พิมพ์ให้
สม่าเสมอ
• นาตะแกรงไปตากแดดประมาณ 1 - 3 ชั่วโมง กระดาษสาจะแห้งติดกันเป็นแผ่น จึงลอกกระดาษสา
ออกจากแม่พิมพ์ เปลือกปอสาหนัก 1 กก. สามารถทากระดาษสาได้ประมาณ 10 แผ่น และกระดาษสาที่
ได้สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้หลายอย่าง มีการตัดแปลงมาใช้ทาสิ่งของต่าง ๆ มากขึ้น แต่เดิมส่วน
ใหญ่ใช้ทาร่ม ว่าว กระดาษห่อของ กระดาษแบบเสื้อ กระดาษที่ใช้เขียนพุทธประวัติ คัมภีร์ ฯลฯ เป็น
ต้น ปัจจุบันนามาใช้อย่างกว้างขวาง เช่น สมุดจดที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ กระดาษเขียนจดหมายพร้อม
ซองบัตรอวยพรต่าง ๆ ดอกไม้ประดิษฐ์ โคมไฟ กระดาษเช็ดมือ กระดาษชาระใช้ซับเลือด กระดาษห่อ
เครื่องมือและอุปกรณ์ทางการแพทย์ ก่อนนาไปฆ่าเชื้อโรค ฯลฯ ทาให้กระดาษสาเป็นที่รู้จักและได้รับ
ความนิยมอย่างกว้างขวางมากขึ้นในปัจจุบันวิธีการทากระดาษสา ดังนี้
4.1 เพียงนาเปลือกต้นปอสามาแช่น้าทิ้งไว้ราว 6 – 8 ชั่วโมง จากนั้นนาเปลือกที่แช่น้าไปต้ม
รวมกับขี้เถ้าหรือโซดาไฟอีก 4 - 6 ชั่วโมง จนกระทั่งเปื่อยยุ่ยดีแล้ว นาไปแช่คลอรีน 6 - 8 ชั่วโมง
• 4.2 ปอสาที่ผ่านขบวนการต้มแล้วนามาทุบด้วยค้อนไม้ให้เส้นใยเปื่อยยุ่ยยิ่งขึ้น
4.3 เมื่อปอสาเปื่อยยุ่ยดีแล้วนาไปแช่น้าในถังซีเมนต์ขนาดใหญ่เพื่อใช้ตะแกรงตัก
4.4 พักตะแกรงไว้เพื่อให้สะเด็ดน้า ในขั้นตอนนี้อาจทาลวดลายเพิ่มโดยการนา
ดอกไม้ ใบไม้ไปแซมลงในกระดาษ
4.5 นาตะแกรงกระดาษสาไปตากแดดจนแห้งสนิท 1 ตะแกรง จะได้กระดาษ 1 แผ่น
4.6 เมื่อแห้งดีแล้วลอกกระดาษสาออกจากตะแกรงทีละแผ่น
โครงงาȨระึϸษสา
นาใบ๶ตยหอมจานวน 1,000 กรัม มาล้างน้าให้สะอาด จากนั้น
นาใบ๶ตยหอมมาหั่นเป็นชิ้นเล็กๆยาวประมาณ 2-3 เซนติเมตร
นาใบ๶ตยหอมที่หั่นแล้วมาปั่นให้ละเอียดจนเกิดใย ซึ่งใช้เวลา
ในการปั่นประมาณ 3 Ȩที
นาใบ๶ตยหอมที่ปั่นแล้วมาผสมกับกระดาษโรเนียวที่เตรียมไว้
ในอัตราส่วน 200 : 50 ( ใบเตย 200 กรัม กระดาษโรเนียว
50 กรัม ) จากนั้นก็นาไปปั่นต่อประมาณ 5 Ȩที
เมื่อปั่นเสร็จแล้วนาส่วนผสมที่ได้ไปใส่ตระแกรงไนล่อน
ขนาดกว้าง 30 เซนติเมตร ยาว 45 เซนติเมตร ( ขนาด
ตระแกรงขึ้นอยู่กับกระดาษที่ต้องการ )
จากนั้นนาไปร่อนในอ่างน้าเพื่อให้เยื่อลอยตัวและ
กระจายตัวออกจากกันอย่างสม่าเสมอ
นาตะแกรงไนล่อนไปตากแดดประมาณ 1 วัน กระดาษสาจะแห้ง
ติดกันเป็นแผ่นจึงลอกกระึϸษสาออกจากตะแกรงไȨ่อน
ลอกกระึϸษสาออกจากตะแกรงไȨ่อน
กระดาษสาใบ๶ตย
แนวทางการดาเนินงาน
1. ศึกษาวิธีการทากระดาษใยธรรมชาติจากอินเตอร์เน็ต
2. ศึกษาการใช้ส่วนผสมจากใบพืชโดยเรียนรู้ประโยชน์ของพืชชนิด
ต่างๆจาก(ภูมิปัญญาชาวบ้าน)และเอกสารประกอบ
3. ออกแบบการทดลอง โดยใช้ใบพืชเป็นส่วนผสม
4. สรุปผลการทดลอง ประเมินผลจัดทาโครงงาน เขียนรายงาน
ลาดับ
ที่

ขั้นตอน

สัปดาห์ที่

ผู้รับผิดชอบ

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16

1

คิดหัวข้อโครงงาน

2

ศึกษาและค้นคว้า
ข้อมูล
จัดทาโครงร่างงาน

3
4
5
6

ปฏิบัติการสร้าง
โครงงาน
ปรับปรุงทดสอบ

7

การทา
เอกสารรายงาน
ประเมินผลงาน

8

นาเสนอโครงงาน

h
h

h
h

h
h
h
h ^

17
โครงงาȨระึϸษสา
• กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
• กลุ่มสาระการเรียนรูศิลปะ
้
• ได้รับความรู้เกี่ยวกับกระดาษสา
• ได้รู้วิธีการทากระดาษสาที่ถูกต้อง
• ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
• ทาเป็นรายได้ส่วนตัวได้
• นาความรู้ไปเผยแพร่แก่รุ่นต่อๆไป
โครงงาȨระึϸษสา

More Related Content

โครงงาȨระึϸษสา

  • 6. • กระดาษสา มีมานาน 20 กว่าปีแล้วโดยสมัยก่อนนั้นไม่ได้ทากันอย่างแพร่เหมือน สมัยนี้ จะทากันเฉพาะเมื่อต้องการเขียนยันต์ ทาไส้เทียนและทาตุงของเชียงใหม่ เท่านั้น ตั้งแต่นั้นมาก็ได้มีการพัฒนาการทากระดาษสาจากที่เคยทาสีขาวก็คิดหาวิธีทา เป็นหลายๆสี และมีลวดลายมากยิ่งขึ้น ซึ่งปรากฏว่าได้รับความสนใจจากคนไทยและ ต่างประเทศเป็นอย่างมาก ทาให้ท่านมีกาลังใจที่จะผลิตงานศิลปะ กระดาษสามาก ยิ่งขึ้น แปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆเช่น สมุดโน้ต ถุงกระดาษ ดอกไม้ ฯลฯ และยังได้ เผยแพร่กระทากระดาษสาไปยังหมู่บ้านอื่น ๆ และสอนวิธีการทากระดาษสาให้เพื่อเป็น การอนุรักษ์ศิลปะของไทยอีกด้วย ที่ยึดหลักการประกอบอาชีพในการทากระดาษสา สืบ ทอดจากบรรพบุรุษของบ้านต้นเปา ซึ่งเป็นแหล่งผลิตกระดาษสาดั่งเดิมของ เชียงใหม่ โดยในอดีตการทากระดาษสานั้นเพื่อนาไปใช้ในการผลิตร่มและพัด โดย แหล่งผลิตร่มและพัดอยู่ที่บ้านบ่อสร้าง อาเภอสันกาแพง จังหวัดเชียงใหม่ นอกจากนี้ ยังใช้ในการทาไส้เทียน ทาตุงและทาโคมลอย ซึ่งกระดาษสายังไม่เป็นที่ต้องการของ ท้องตลาดมากนัก
  • 7. • สมุนไพรเตยหอมนั้นคนไทยคุ้นเคยกันมานาน เนื่องจากอดีตนิยม นาเตยหอมมาประกอบอาหารและขนมหวาน เช่น ไก่อบห่อใบเตย ใช้แต่ง กลิ่นเวลาหุงข้าวเจ้าและข้าวเหนียว หรือนาไปแต่งกลิ่นและสีของ ขนม เช่น วุ้นกะทิ ขนมชั้น ขนมเปียกปูน ขนมลอดช่อง ขนมขี้หนู ฯลฯ เตยหอมมีชื่อเรียกตามท้องถิ่นว่า ปาแนะวองิง หวานข้าวไหม้ ปาเน ถือจิ ปาหนัน พั้งลั้ง
  • 8. ในปัจจุบันมีสิ่งประดิษฐ์มากมายเกิดขึ้นในโลกของเรา โดยเฉพาะเทคโนโลยี ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น คอมพิวเตอร์ จักรยานยนต์ โทรศัพท์มือถือ โทรทัศน์ เป็น ต้น ทาให้สังคมของคนไทยนั้นเปลี่ยนไปกลายเป็นยุคไอทียุคทันสมัยขึ้นมา อย่างรวดเร็ว แน่นอนว่ายิ่งมีสิ่งประดิษฐ์มากขึน ย่อมต้องมีคนต้องการมากขึ้น ้ และผลที่ตามมาก็คือใช้ทรัพยากรมากขึ้น ทาให้สภาพแวดล้อมแย่ลง ทั้งหมดนี้ เป็นเพราะเรานั่นลืมวัฒนธรรมเก่าๆสมัยก่อน คานึงถึงแต่ตัวเองโดยที่ไม่ได้ รักษาเก็บเอาไว้ ดังนั้นกลุ่มของข้าพเจ้าจึงได้ทาเรื่อง การทากระดาษสา เป็น กระดาษที่หมู่บ้านบ่อสร้าง จังหวัดเชียงใหม่ นิยมทาและเป็นหมู่บ้านหนึ่งที่ยัง อนุรักษ์วัฒนธรรมสมัยก่อน
  • 9. • 1. เพื่อผู้อ่านและผู้ทาโครงงานนี้ได้รับความรู้เกี่ยวกับกระดาษสา ประวัติ ความเป็นมาของกระดาษสา • 2. เพื่อให้ผู้อ่านและผู้ทาโครงงานนี้ได้รู้วิธีการทากระดาษสา องค์ประกอบ ในการทากระดาษสา • 3. เพื่อให้ผู้อ่านและผู้ทาโครงงานได้รู้ถึงวัฒนธรรมของหมู่บ้านบ่อสร้าง ซึ่ง เป็นที่นิยมทาร่มแบบภาคเหนือ และทากระดาษสา • 4. เพื่อให้ผู้อ่านและผู้ทาโครงงานสามารถนาความรู้เหล่านี้ไปเผยแพร่แก่ บุคคลอื่นได้ • 5. เพื่อให้ผู้อ่านและผู้ทาโครงงานสามารถใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์และ สามารถเป็นรายได้แก่ตนเอง
  • 11. วัสดุและอุปกรณ์มีดังนี้ 1. มีด 2. กระดาษหนังสือพิมพ์ 3. กรรไกร 4. กระดาษโรเนียว 5. เครื่องปั่น 6. กระดาษกล่อง 7. ปลั๊กไฟ 8. ตะแกรงไนล่อน ( เฟรม ) 9. อ่างน้า 10. กะละมัง 11. กะละมัง 12. สีโปสเตอร์ 13. สีย้อมผ้า 14. ผ้าขาวบาง 15. สีผสมอาหาร 16. กระชอน 17. หม้อ 18. เตาไฟ 19. เครื่องชัง ่ 20. พืชที่ใช้ ได้แก่ ใบ๶ตยหอม
  • 12. • คัดเลือกเปลือกปอสาที่อ่อนและแก่แยกจากกัน นาไปแช่น้า ประมาณ 3 ชั่วโมงขึ้นไป แต่ไม่ควรเกิน 24 ชั่วโมง การแช่น้าจะช่วยให้ เปลือกปอสาอ่อนตัว จากนั้นนาไปใส่ภาชนะต้ม ใส่โซดาไฟ หรือน้าด่าง จากขี้เถ้า เพื่อช่วยให้โครงสร้างของเปลือกปอสาเปื่อย และแยกจากกันเร็ว ขึ้น ถ้าต้มปอสาอ่อนใช้โซดาไฟน้อย ต้มเปลือกแก่ต้องใช้มากขึ้น การต้มแต่ ละครั้งใช้โซดาไฟ ประมาณ 10-15% ของน้าหนัก ถ้าใช้มากไปจะทาให้เยื่อ ถูกทาลายมากในระหว่างต้ม ต้มนานประมาณ 2 - 3 ชั่วโมง เมื่อต้มเสร็จ แล้วนาปอสาล้างน้าจนหมดด่าง
  • 13. การทาให้เป็นเยื่อ มี 2 วิธี ได้แก่ 2.1 การทุบด้วยมือ 2.2 การใช้เครื่องตีเยื่อ การทุบด้วยมือต้องใช้เวลานาน ปาสาหนัก 2 กก. ใช้เวลาทุบนาน ประมาณ 5 ชั่วโมง ส่วนการใช้เครื่องตีเยื่อใช้เวลาประมาณ 35 Ȩทีจากนั้นนาไป ฟอกเยื่อกระดาษสาทั่วไปฟอกไม่ขาวนักแต่ถ้าต้องการให้กระดาษสาสีขาวมาก ๆ ก็ใช้ ผงฟอกสีเข้าช่วย ได้แก่ Sodium hypo chloride หรือ Calciumhypo chloride ประมาณ 1 : 10 โดยน้าหนักผสมในเครื่องตีเยื่อ ฟอก นานประมาณ 35 Ȩที ถ้าไม่มีเครื่องตีเยื่อ ก็ใช้น้ายาฟอกเข้มข้น 15 กรัมต่อ น้า 1 ลิตร แช่เยื่อลงในน้ายาฟอกนานประมาณ 12 ชั่วโมง นาเยื่อไปล้างน้าจน หมดกลิ่นน้ายาแล้ว จะนาเยื่อไปย้อมสีตามต้องการ จากนั้นนาเยื่อเตรียมไว้สาหรับ ทาแผ่นกระดาษต่อไป
  • 14. • นาเยื่อปอสาใส่ในอ่างหรือภาชนะที่เหมาะสม ใส่น้าให้มีระดับพอเหมาะแล้วใช้ไม้ พายคนเยื่อในอ่างน้าให้ทั่ว เพื่อให้เยื่อลอยตัวและกระจายออกจากกันอย่าง สม่าเสมอ จากนั้นนาแม่พิมพ์สาหรับทาแผ่นกระดาษมาช้อนเยื่อต่อไปซึ่งมีการทา แผ่นได้ 2 วิธีคือ 3.1 แบบตัก ใช้แม่พิมพ์ซึ่งมีลักษณะเป็นตะแกรงไนล่อนขนาด กว้าง 50 ซม. ยาว 60 ซม. ( ขนาดตะแกรงขึ้นอยู่กับขนาดกระดาษที่ต้องการ ) ช้อนตักเยื่อเข้าหาตัวยกตะแกรงขึ้นตรง ๆ แล้วเทน้าออกไปทางด้านหน้า โดยเร็ว จะช่วยให้กระดาษมีความสม่าเสมอ 3.2 แบบแตะ มักใช้ตะแกรงที่ทาจากผ้าใยบัวหรือผ้ามุ้ง ซึ่งมีเนื้อ ละเอียดและใช้วิธีชั่งน้าหนักของเยื่อ เป็นตัวกาหนดความหนาของ แผ่นกระดาษ นาเยื่อใส่ในอ่างน้าใช้มือแตะเกลี่ยกระจายเยื่อบนแม่พิมพ์ให้ สม่าเสมอ
  • 15. • นาตะแกรงไปตากแดดประมาณ 1 - 3 ชั่วโมง กระดาษสาจะแห้งติดกันเป็นแผ่น จึงลอกกระดาษสา ออกจากแม่พิมพ์ เปลือกปอสาหนัก 1 กก. สามารถทากระดาษสาได้ประมาณ 10 แผ่น และกระดาษสาที่ ได้สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้หลายอย่าง มีการตัดแปลงมาใช้ทาสิ่งของต่าง ๆ มากขึ้น แต่เดิมส่วน ใหญ่ใช้ทาร่ม ว่าว กระดาษห่อของ กระดาษแบบเสื้อ กระดาษที่ใช้เขียนพุทธประวัติ คัมภีร์ ฯลฯ เป็น ต้น ปัจจุบันนามาใช้อย่างกว้างขวาง เช่น สมุดจดที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ กระดาษเขียนจดหมายพร้อม ซองบัตรอวยพรต่าง ๆ ดอกไม้ประดิษฐ์ โคมไฟ กระดาษเช็ดมือ กระดาษชาระใช้ซับเลือด กระดาษห่อ เครื่องมือและอุปกรณ์ทางการแพทย์ ก่อนนาไปฆ่าเชื้อโรค ฯลฯ ทาให้กระดาษสาเป็นที่รู้จักและได้รับ ความนิยมอย่างกว้างขวางมากขึ้นในปัจจุบันวิธีการทากระดาษสา ดังนี้ 4.1 เพียงนาเปลือกต้นปอสามาแช่น้าทิ้งไว้ราว 6 – 8 ชั่วโมง จากนั้นนาเปลือกที่แช่น้าไปต้ม รวมกับขี้เถ้าหรือโซดาไฟอีก 4 - 6 ชั่วโมง จนกระทั่งเปื่อยยุ่ยดีแล้ว นาไปแช่คลอรีน 6 - 8 ชั่วโมง • 4.2 ปอสาที่ผ่านขบวนการต้มแล้วนามาทุบด้วยค้อนไม้ให้เส้นใยเปื่อยยุ่ยยิ่งขึ้น 4.3 เมื่อปอสาเปื่อยยุ่ยดีแล้วนาไปแช่น้าในถังซีเมนต์ขนาดใหญ่เพื่อใช้ตะแกรงตัก 4.4 พักตะแกรงไว้เพื่อให้สะเด็ดน้า ในขั้นตอนนี้อาจทาลวดลายเพิ่มโดยการนา ดอกไม้ ใบไม้ไปแซมลงในกระดาษ 4.5 นาตะแกรงกระดาษสาไปตากแดดจนแห้งสนิท 1 ตะแกรง จะได้กระดาษ 1 แผ่น 4.6 เมื่อแห้งดีแล้วลอกกระดาษสาออกจากตะแกรงทีละแผ่น
  • 17. นาใบ๶ตยหอมจานวน 1,000 กรัม มาล้างน้าให้สะอาด จากนั้น นาใบ๶ตยหอมมาหั่นเป็นชิ้นเล็กๆยาวประมาณ 2-3 เซนติเมตร
  • 19. นาใบ๶ตยหอมที่ปั่นแล้วมาผสมกับกระดาษโรเนียวที่เตรียมไว้ ในอัตราส่วน 200 : 50 ( ใบเตย 200 กรัม กระดาษโรเนียว 50 กรัม ) จากนั้นก็นาไปปั่นต่อประมาณ 5 Ȩที
  • 20. เมื่อปั่นเสร็จแล้วนาส่วนผสมที่ได้ไปใส่ตระแกรงไนล่อน ขนาดกว้าง 30 เซนติเมตร ยาว 45 เซนติเมตร ( ขนาด ตระแกรงขึ้นอยู่กับกระดาษที่ต้องการ )
  • 22. นาตะแกรงไนล่อนไปตากแดดประมาณ 1 วัน กระดาษสาจะแห้ง ติดกันเป็นแผ่นจึงลอกกระึϸษสาออกจากตะแกรงไȨ่อน
  • 26. ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้า ข้อมูล จัดทาโครงร่างงาน 3 4 5 6 ปฏิบัติการสร้าง โครงงาน ปรับปรุงทดสอบ 7 การทา เอกสารรายงาน ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน h h h h h h h h ^ 17
  • 29. • ได้รับความรู้เกี่ยวกับกระดาษสา • ได้รู้วิธีการทากระดาษสาที่ถูกต้อง • ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ • ทาเป็นรายได้ส่วนตัวได้ • นาความรู้ไปเผยแพร่แก่รุ่นต่อๆไป