ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
รู ้จกกับโครงงานคอมพิวเตอร์
ั

โดย...
ครู ศศิกานต์ บรรเทา
โครงงาน คือ อะไร ??
โครงงานเป็ นการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ง หรื อหลายๆ
สิ่ งที่อยากรู ้คาตอบให้ลึกซึ้ ง หรื อเรี ยนรู ้ในเรื่ องนั้นๆให้มากขึ้น โดยใช้
กระบวนการ วิธีการที่ศึกษาอย่างมีระบบ เป็ นขั้นตอน มีการวางแผนใน
การศึกษาอย่างละเอียด ปฏิบติงานตามแผนที่วางไว้ จนได้ขอสรุ ปหรื อ
ั
้
ผลสรุ ปที่เป็ นคาตอบในเรื่ องนั้นๆ
โครงงานคอมพิวเตอร์ คือ อะไร ??
โครงงานคอมพิวเตอร์ เป็ นงานวิจยในระดับนักเรี ยน เป็ นการใช้
ั
่
คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์อื่น ที่มีอยูในการศึกษา ทดลอง แก้ปัญหาต่าง ๆ
เพื่อนาผลที่ได้มาประยุกต์ใช้งานจริ ง หรื อใช้เพื่อช่วยสร้างสื่ อเพื่อเสริ ม
การเรี ยนให้ได้ดีมีประสิ ทธิ ภาพยิงขึ้น โครงงานคอมพิวเตอร์ จึงเป็ น
่
กิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ที่ช่วยให้นกเรี ยนได้เรี ยน รู ้และฝึ กฝนการใช้
ั
ทักษะการใช้เครื่ องคอมพิวเตอร์ และซอฟต์แวร์ พร้อมทั้ง
เครื่ องมือต่าง ๆ ในการแก้ปัญหา รวมทั้งการพัฒนา
การสร้างผลงานจริ งอีกด้วย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เป็ นกิจกรรมการเรี ยนที่นกเรี ยนมีอิสระใน
ั
การเลือกศึกษาปัญหาที่ตนสนใจ ซึ่งอาจเป็ นปั ญหาที่ตองใช้ความรู้ ทาง
้
คอมพิวเตอร์ ตลอดจนทักษะพื้นฐานในการพัฒนาโครงงาน
โครงงานคอมพิวเตอร์ ที่จะทาในระดับมัธยมศึกษาควรเป็ น
ประเด็นหรื อปัญหาที่นกเรี ยนสนใจและสามารถใช้ความรู้ ทักษะ
ั
ประสบการณ์ในระดับของนักเรี ยน เพื่อคิดแนวทางในการแก้ปัญหาและ
การพัฒนาโปรแกรม เรื่ องที่นกเรี ยนสนใจและคิดที่จะทา
ั
โครงงานอาจมีผสนใจทามาก่อน เพียงแต่คิดดัดแปลง
ู้
แนวทางในการศึกษาวิเคราะห์ขอมูล การพัฒนาโปรแกรม
้
หรื อศึกษาเพิมเติมจากผลงานเดิมที่มีผรายงานไว้
ู้
่
คุณค่าของการทาโครงงานคอมพิวเตอร์
1. สร้างความสานึกและความรับผิดชอบในการศึกษาและพัฒนา
ระบบด้วยตนเอง
2. เปิ ดโอกาสให้นกเรี ยนได้พฒนาและแสดงความสามารถตาม
ั
ั
ศักยภาพของตนเอง
3. เปิ ดโอกาสให้นกเรี ยนได้ศึกษา ค้นคว้า และเรี ยนรู้ในเรื่ องที่
ั
นักเรี ยนสนใจได้ลึกซึ้ งกว่าการเรี ยนในห้องตามปกติ
4. ส่ งเสริ มและพัฒนากระบวนการคิด การแก้ปัญหา
การตัดสิ นใจ รวมทั้งการสื่ อสารระหว่างกัน
5. กระตุนให้นกเรี ยนมีความสนใจในการเรี ยนวิชาสาขา
้
ั
คอมพิวเตอร์ และมีความสนใจที่จะประกอบอาชีพทางด้านนี้
6. ส่ งเสริ มให้นกเรี ยนได้ใช้เวลาอย่างเป็ นประโยชน์ในทาง
ั
สร้างสรรค์
7. สร้างความสัมพันธ์ระหว่างนักเรี ยนกับครู และชุมชน รวมทั้ง
ส่ งเสริ มให้ชุมชนสนใจคอมพิว เตอร์ และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องมากขึ้น
8. เป็ นการบูรณาการเอาความรู ้จากวิชาต่าง ๆ ที่ได้รับมาจัดทา
ผสมผสานกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็ นโครงงานเพื่อ
นาเสนอต่อชุมชน
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ เป็ นเครื่ องมือที่ใช้ในงานวิจยในทุก ๆ สาขาวิชา
ั
ดังนั้นโครงงานคอมพิวเตอร์ จึงมีความหลากหลายเป็ นอย่างมาก ทั้งใน
ลักษณะของเนื้ อหา กิจกรรมและลักษณะของประโยชน์หรื อผลงาที่ได้
ซึ่ งอาจแบ่งเป็ นประเภทใหญ่ ๆ ได้ 5 ประเภท คือ
1. โครงงานพัฒนาสื่ อเพื่อการศึกษา (Educational Media)
2. โครงงานพัฒนาเครื่ องมือ (Tools Development)
3. โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี (Theory Experiment)
4. โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน (Application)
5. โครงงานพัฒนาเกม (Game Development)
โครงงานพัฒนาสื่ อเพือการศึกษา (Educational Media)
่
เป็ นโครงงานทีใช้คอมพิวเตอร์ในการผลิตสื่ อเพื่อการศึกษา โดย
การสร้างโปรแกรมบทเรี ยน ซึ่งอาจจะต้องมีภาคแบบฝึ กหัด บททบทวน
และคาถามคาตอบไว้พร้อม เครื่ องคอมพิวเตอร์เป็ นอุปกรณ์การสอน
ไม่ใช่เป็ นครู ผสอน ซึ่ งอาจเป็ นการพัฒนาบทเรี ยนแบบ Online ให้
ู้
นักเรี ยนเข้ามาศึกษาด้วยตนเองก็ได้
โครงงานประเภทนี้สามารถพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการ สอนใน
วิชาต่าง ๆ โดยนักเรี ยนอาจคัดเลือกหัวข้อที่นกเรี ยนทัวไปที่ทาความ
ั
่
เข้าใจยาก มาเป็ นหัวข้อในการพัฒนาโปรแกรมบทเรี ยน
ตัวอย่าง เช่น โปรแกรมสอนวิธีการใช้งาน ระบบสุ ริยะจักรวาล
โปรแกรมแบบทดสอบวิชาต่าง ๆ
รู้จักกับโครงงาน
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ (Tools Development)
เป็ นโครงงานเพื่อพัฒนาเรื่ องมือมาใช้ช่วยสร้างงานประยุกต์ต่าง ๆ
ซึ่ งโดยส่ วนใหญ่จะเป็ นในรู ปซอฟต์แวร์
ตัวอย่างของเครื่ องมือช่วยงาน เช่น ซอฟต์แวร์ วาดรู ป ซอฟต์แวร์
พิมพ์งาน ซอฟต์แวร์ ช่วยการมองวัตถุในมุมต่าง ๆ เป็ น
สาหรับซอฟต์แวร์ ช่วยในการมองวัตถุในมุมต่าง ๆ ใช้สาหรับช่วย
ในการออกแบบสิ่ งของต่าง ๆ เช่น โปรแกรมประเภท 3D
รู้จักกับโครงงาน
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี (Theory Experiment)
เป็ นโครงงานใช้คอมพิวเตอร์ในการจาลองการทดลองของสาขา
ต่าง ๆ เป็ นโครงงานที่ผทาต้องศึกษารวบรวมความรู ้ หลักการ
ู้
ข้อเท็จจริ งและแนวความคิดต่าง ๆ อย่างลึกซึ้ ง พร้อมทั้งนาเสนอวิธีการ
่
จาลองทฤษฎีดวยคอมพิวเตอร์ การทาโครงงานประเภทนี้ มีจุดสาคัญอยูที่
้
ผูทาต้องมีความรู ้เรื่ องนั้น ๆ เป็ นอย่างดี ตัวอย่าง เช่น การทดลองเรื่ อง
้
การไหลของเหลว การทดลองเรื่ องพฤติกรรมของปลาอโรวาน่า ทฤษฎี
การแบ่งแยกดีเอ็นเอ เป็ นต้น
รู้จักกับโครงงาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ ใช้ งาน(Application)
เป็ นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการสร้างผลงานเพื่อประยุกต์ใช้งาน
จริ งในชีวิต ประจาวัน เช่น ซอฟต์แวร์ สาหรับการออกแบบและตกแต่ง
อาคาร ซอฟต์แวร์สาหรับการผสมสี ซอฟต์แวร์สาหรับการระบุคนร้าย
เป็ นต้น
โครงงานงานประเภทนี้จะมีการประดิษฐ์ฮาร์ ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรื อ
อุปกรณ์ใช้สอยต่าง ๆ ซึ่ งอาจจะสร้างใหม่หรื อปรับปรุ ง
่
ดัดแปลงของเดิมที่มีอยูแล้วให้มี ประสิ ทธิ ภาพสู งขึ้นก็ได้
โครงงานลักษณะนี้จะต้องศึกษาและวิเคราะห์ความต้องการของ
ผูใช้ก่อนแล้วนา ข้อมูลที่ได้มาใช้ในการออกแบบ และพัฒนาสิ่ งของ
้
นั้น ๆ ต่อจากนั้นต้องมีการทดสอบการทางานหรื อทดสอบคุณภาพของ
สิ่ งประดิษฐ์แล้วปรับ ปรุ งแก้ไขให้มีความสมบูรณ์
โครงงานประเภทนี้ นกเรี ยนต้องใช้ความรู ้เกี่ยวกับเครื่ อง
ั
คอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรม และเครื่ องมือต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้ง
อาจใช้วธีทางวิศวกรรมฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ในการพัฒนาด้วย
ิ
รู้จักกับโครงงาน
โครงงานพัฒนาเกม (Game Development)
เป็ นโครงงานพัฒนาซอฟต์แวร์ เกมเพื่อความรู้ และ/หรื อ ความ
เพลิดเพลิน เช่น เกมการคานวณเลข ซึ่ งเกมที่พฒนาขึ้นนี้ น่าจะเน้นให้
ั
เป็ นเกมที่ไม่รุนแรง เน้นการใช้สมองเพื่อฝึ กคิดอย่างมีหลักการ
โครงงานประเภทนี้ จะมีการออกแบบลักษณะและกฎเกณฑ์การเล่น
เพื่อให้น่าสนใจเก่ผเู ้ ล่น พร้อมทั้งให้ความรู ้สอดแทรกไปด้วย ผูพฒนา
้ ั
ควรจะได้ทาการสารวจและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเกมต่าง ๆ
่ ั่
ที่มีอยูทวไปและนามาปรับปรุ งหรื อพัฒนาขึ้นใหม่เพื่อ
ให้เป็ นเกมที่แปลกใหม่ และน่าสนใจแก่ผเู ้ ล่นกลุ่มต่าง ๆ
รู้จักกับโครงงาน
กิจกรรมการเรี ยนรู ้

1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.

่
ให้นกเรี ยนแต่ละช่วยกันแยกคาเหล่านี้วาจัดเป็ นโครงงานประเภทใด โดยทา
ั
ลงในสมุด (โครงงานพัฒนาสื่ อเพื่อการศึกษา, โครงงานพัฒนาเครื่ องมือ, โครงงาน
ประเภทการทดลองทฤษฎี, โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน และโครงงาน
พัฒนาเกม)
E-learning
8. โปรแกรมประมวลผลภาษา
โปรแกรมคานวณเงินเดือน
9. หุ่นยนต์ช่วยเก็บขยะ
สื่ อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
10. เกมครอสเวิร์ด
่
เกมจับคูคาศัพท์
ทดลองการระเบิดไดนาไมต์
ซอฟต์แวร์สาหรับการผสมสี
โครงงานประเมินความเสี ยหายจากการเกิดแผ่นดินไหว
การบ้าน
ให้นกเรี ยนทา My Mapping สรุ ปเรื่ อง “ประเภทของโครงงาน
ั
คอมพิวเตอร์ ” ลงในกระดาษ A4 พร้อมทั้งตกแต่งให้สวยงาม ส่ งคาบ
เรี ยนหน้านะคะ
รู้จักกับโครงงาน
ขั้นตอนการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
1. การคัดเลือกหัวข้ อโครงงาน
เรื่ องทัวไปหรื อเรื่ องที่เกี่ยวข้องกับการดาเนิ นชีวิตประจาวันสามารถ
่
นามาเป็ นหัวข้อพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ได้ท้ งสิ้น เช่นการนาคอมพิวเตอร์
ั
มาใช้เตื อนเมื่ อระดับน้ าฝนตกหนักเกิ นระดับที่ ปลอดภัย หรื อใช้โปรแกรม
คอมพิวเตอร์ร่วมกับกล้องเว็บแคม ตรวจจับความเคลื่อนไหวของผูบุกรุ ก เป็ น
้
ต้น นั ก เรี ยนสามารถค้ น หาหั ว ข้ อ ของโครงงานได้ ม ากมาย ด้ ว ย การ
เริ่ มต้นสังเกตสิ่ งรอบๆ ตัวนันเอง
่
2. การศึกษาค้ นคว้ าหาข้ อมูลทีเ่ กียวข้ องกับโครงงาน
่
เมื่อได้หวข้อโครงงานแล้ว นักเรี ยนจาเป็ นต้องหาข้อมูลและความรู ้
ั
เพิ่มเติมเกี่ยวกับงานที่ตองการจะจัดทา แหล่งข้อมูลอาจเป็ นหนังสื อ หรื อ
้
วารสารที่มีผให้ขอมูลไว้ก่อนหน้า หรื ออาจเป้ นการขอข้อมูลจากผูที่เกี่ยวข้อง
ู้ ้
้
รวมทั้งอาจศึกษาระบบซึ่งคล้ายกันที่มีผพฒนามาก่อนหน้าแล้ว
ู้ ั
3. จัดทาข้ อเสนอโครงงาน
เมื่อได้ขอมูลเกี่ยวกับโครงงาน และพบว่าโครงงานมีความเป็ นไปได้
้
แล้ว นักเรี ยนควรเขียนข้อเสนอโครงงานเพื่อนาเสนอกับอาจารย์ผสอน
ู้
การเขียนข้อเสนอจะเป็ นการรวบรวมข้อมูลและความคิดให้เป็ นระบบ
ในขั้นตอนนี้จาเป็ นอย่างยิงที่จะต้องบันทึกรายละเอียดทั้งหมดที่
่
เกี่ยวข้องรวมถึงตารางกาหนดการทางาน และกาหนดระยะเวลาที่ตองทางาน
้
แต่ละขั้นตอนให้สาเร็ จด้วย
4. การจัดทาโครงงาน
ในขั้นนี้ตองมีการรวบรวมอุปกรณ์ที่ตองใช้ให้ครบถ้วนมีการ
้
้
ดาเนินงานตามตารางเวลาการทางานอย่างเคร่ งครัด เมื่อมีความก้าวหน้าในงาน
จาเป็ นต้องตรวจสอบความถูกต้องของผลที่ได้อย่างสม่าเสมอ และควรจด
บันทึกความก้าวหน้า รวมถึงอุปสรรคที่ได้พบ และวิธีแก้ไขด้วย
5. การเขียนรายงาน
ในขั้นตอนนี้เป็ นการรวบรวมรายละเอียดทั้งหมดมาเขียนไว้เป็ นลาย
ลักษณ์อกษร เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาโครงงานเดิมอีกต่อไป
ั
ซึ่งจะเป็ นประโยชน์มากในกรณี ที่มีผอื่นต้องการทาโครงงาน
ู้
ที่คล้ายกันก็จะสามารถเรี ยนรู ้จากประสบการณ์ที่ได้บนทึกไว้โดยทันที
ั
6. การนาเสนอและแสดงผลงานโครงงาน
โดยทัวไปเมื่อโครงงานเสร็ จสิ้นแล้ว นักเรี ยนจาเป็ นต้องมีการ
่
ั ้ ้
นาเสนอโครงงานให้กบผูที่ตองการใช้งาน ผูสนใจหรื ออาจารย์ผรับผิดชอบ
้
ู้
โครงงาน ควรเตรี ยมเอกสารนาเสนอให้สมบูรณ์ โดยอาจจะปรับย่อข้อความที่
สาคัญมาจากรายงานก็ได้ นอกจากนี้ยงจะต้องวางแผนในการสาธิ ตการทางาน
ั
ของโครงงานด้วย และควรฝึ กหัดอธิบายการทางานของโครงงาน รวมถึง
ฝึ กหัดตอบคาถามที่เกี่ยวข้องไว้ดวย
้
ลักษณะของโครงงานที่ดี
1. เป็ นโครงการที่สามารถแก้ปัญหาของท้องถิ่นได้
2. มีรายละเอียด เนื้ อหาสาระครบถ้วน ชัดเจน และจาเพาะเจาะจง
โดยสามารถตอบคาถามต่อไปนี้ได้คือ
- โครงการอะไร = ชื่อโครงการ
- ทาไมจึงต้องริ เริ่ มโครงการ = หลักการและเหตุผล
- ทาเพื่ออะไร = วัตถุประสงค์
- ปริ มาณที่จะทาเท่าไร = เป้ าหมาย
- ทาอย่างไร = วิธีดาเนินการ
- จะทาเมื่อไร นานเท่าใด = ระยะเวลาดาเนินการ
- ใช้ทรัพยากรเท่าไรและได้มาจากไหน = งบประมาณ แหล่งที่มา
- ใครทา = ผูรับผิดชอบโครงการ
้
- ต้องประสานงานกับใคร = หน่วยงานที่ให้การสนับสนุน
- บรรลุวตถุประสงค์หรื อไม่ = การประเมินผล
ั
- เมื่อเสร็ จสิ้ นโครงการแล้วจะได้อะไร = ผลประโยชน์ที่คาดว่าจะ
ได้รับ
3. รายละเอียดของโครงการดังกล่าว ต้องมีความเกี่ยวเนื่ อง
ั
สัมพันธ์กน เช่น วัตถุประสงค์ตองสอดคล้อง
้
กับหลักการและเหตุผล วิธีดาเนินการต้องเป็ นทางที่ทาให้บรรลุ
วัตถุประสงค์ได้ ฯลฯ เป็ นต้น
4. โครงการที่ริเริ่ มขึ้นมาต้องมีผลอย่างน้อยที่สุดอย่างใดอย่าง
หนึ่งในหัวข้อต่อไปนี้
- สนองตอบ สนับสนุนต่อนโยบายระดับจังหวัดหรื อนโยบาย
ส่ วนรวมของประเทศ
- ก่อให้เกิดการพัฒนาทั้งเฉพาะส่ วนและการพัฒนาโดยส่ วนรวม
ของประเทศ
- แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นได้ตรงจุดตรงประเด็น
5. รายละเอียดในโครงการมีพอที่จะเป็ นแนวทางให้ผอื่นอ่าน
ู้
แล้วเข้าใจ และสามารถดาเนินการตาม
โครงการได้
6. เป็ นโครงการที่ปฏิบติได้และสามารถติดตามและ
ั
ประเมินผลได้
ขั้นตอนของการประเมินโครงงาน
ขั้นตอนที่ 1
ขั้นตอนที่ 2
ขั้นตอนที่ 3
ขั้นตอนที่ 4
ขั้นตอนที่ 5
ขั้นตอนที่ 6

การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับโครงการ
การกาหนดวัตถุประสงค์ของการประเมิน
การกาหนดขอบเขตของการประเมิน
การพิจารณากาหนดตัวบ่งชี้ และแหล่งข้อมูล
การวิเคราะห์ขอมูล
้
การสรุ ปผลการประเมิน
การบ้ าน
คาชี้แจง : ให้นกเรี ยนตอบคาถามเกี่ยวกับขั้นตอนการพัฒนาโครงงานในแต่
ั
ละข้อต่อไปนี้ลงในสมุด
1.องค์ประกอบของโครงงานคอมพิวเตอร์มีอะไรบ้าง
2.ขั้ นตอนการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ให้เกิดประสิ ทธิภาพ
มีอะไรบ้าง
3.องค์ประกอบของการเขียนรายงานโครงงานมีอะไรบ้าง
4. ให้นกเรี ยนสื บค้นตัวอย่างการทาโครงงานคอมพิวเตอร์จากแหล่งข้อมูล
ั
สารสนเทศมา 2 โครงงานแล้วระบุรายละเอียด ดังนี้
ชื่อโครงงาน
รายละเอียดของโครงงาน
ประเภทของ
โครงงาน

More Related Content

รู้จักกับโครงงาน

  • 2. โครงงาน คือ อะไร ?? โครงงานเป็ นการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ง หรื อหลายๆ สิ่ งที่อยากรู ้คาตอบให้ลึกซึ้ ง หรื อเรี ยนรู ้ในเรื่ องนั้นๆให้มากขึ้น โดยใช้ กระบวนการ วิธีการที่ศึกษาอย่างมีระบบ เป็ นขั้นตอน มีการวางแผนใน การศึกษาอย่างละเอียด ปฏิบติงานตามแผนที่วางไว้ จนได้ขอสรุ ปหรื อ ั ้ ผลสรุ ปที่เป็ นคาตอบในเรื่ องนั้นๆ
  • 3. โครงงานคอมพิวเตอร์ คือ อะไร ?? โครงงานคอมพิวเตอร์ เป็ นงานวิจยในระดับนักเรี ยน เป็ นการใช้ ั ่ คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์อื่น ที่มีอยูในการศึกษา ทดลอง แก้ปัญหาต่าง ๆ เพื่อนาผลที่ได้มาประยุกต์ใช้งานจริ ง หรื อใช้เพื่อช่วยสร้างสื่ อเพื่อเสริ ม การเรี ยนให้ได้ดีมีประสิ ทธิ ภาพยิงขึ้น โครงงานคอมพิวเตอร์ จึงเป็ น ่ กิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ที่ช่วยให้นกเรี ยนได้เรี ยน รู ้และฝึ กฝนการใช้ ั ทักษะการใช้เครื่ องคอมพิวเตอร์ และซอฟต์แวร์ พร้อมทั้ง เครื่ องมือต่าง ๆ ในการแก้ปัญหา รวมทั้งการพัฒนา การสร้างผลงานจริ งอีกด้วย
  • 4. โครงงานคอมพิวเตอร์ เป็ นกิจกรรมการเรี ยนที่นกเรี ยนมีอิสระใน ั การเลือกศึกษาปัญหาที่ตนสนใจ ซึ่งอาจเป็ นปั ญหาที่ตองใช้ความรู้ ทาง ้ คอมพิวเตอร์ ตลอดจนทักษะพื้นฐานในการพัฒนาโครงงาน โครงงานคอมพิวเตอร์ ที่จะทาในระดับมัธยมศึกษาควรเป็ น ประเด็นหรื อปัญหาที่นกเรี ยนสนใจและสามารถใช้ความรู้ ทักษะ ั ประสบการณ์ในระดับของนักเรี ยน เพื่อคิดแนวทางในการแก้ปัญหาและ การพัฒนาโปรแกรม เรื่ องที่นกเรี ยนสนใจและคิดที่จะทา ั โครงงานอาจมีผสนใจทามาก่อน เพียงแต่คิดดัดแปลง ู้ แนวทางในการศึกษาวิเคราะห์ขอมูล การพัฒนาโปรแกรม ้ หรื อศึกษาเพิมเติมจากผลงานเดิมที่มีผรายงานไว้ ู้ ่
  • 5. คุณค่าของการทาโครงงานคอมพิวเตอร์ 1. สร้างความสานึกและความรับผิดชอบในการศึกษาและพัฒนา ระบบด้วยตนเอง 2. เปิ ดโอกาสให้นกเรี ยนได้พฒนาและแสดงความสามารถตาม ั ั ศักยภาพของตนเอง 3. เปิ ดโอกาสให้นกเรี ยนได้ศึกษา ค้นคว้า และเรี ยนรู้ในเรื่ องที่ ั นักเรี ยนสนใจได้ลึกซึ้ งกว่าการเรี ยนในห้องตามปกติ 4. ส่ งเสริ มและพัฒนากระบวนการคิด การแก้ปัญหา การตัดสิ นใจ รวมทั้งการสื่ อสารระหว่างกัน
  • 6. 5. กระตุนให้นกเรี ยนมีความสนใจในการเรี ยนวิชาสาขา ้ ั คอมพิวเตอร์ และมีความสนใจที่จะประกอบอาชีพทางด้านนี้ 6. ส่ งเสริ มให้นกเรี ยนได้ใช้เวลาอย่างเป็ นประโยชน์ในทาง ั สร้างสรรค์ 7. สร้างความสัมพันธ์ระหว่างนักเรี ยนกับครู และชุมชน รวมทั้ง ส่ งเสริ มให้ชุมชนสนใจคอมพิว เตอร์ และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องมากขึ้น 8. เป็ นการบูรณาการเอาความรู ้จากวิชาต่าง ๆ ที่ได้รับมาจัดทา ผสมผสานกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็ นโครงงานเพื่อ นาเสนอต่อชุมชน
  • 7. ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ เป็ นเครื่ องมือที่ใช้ในงานวิจยในทุก ๆ สาขาวิชา ั ดังนั้นโครงงานคอมพิวเตอร์ จึงมีความหลากหลายเป็ นอย่างมาก ทั้งใน ลักษณะของเนื้ อหา กิจกรรมและลักษณะของประโยชน์หรื อผลงาที่ได้ ซึ่ งอาจแบ่งเป็ นประเภทใหญ่ ๆ ได้ 5 ประเภท คือ 1. โครงงานพัฒนาสื่ อเพื่อการศึกษา (Educational Media) 2. โครงงานพัฒนาเครื่ องมือ (Tools Development) 3. โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี (Theory Experiment) 4. โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน (Application) 5. โครงงานพัฒนาเกม (Game Development)
  • 8. โครงงานพัฒนาสื่ อเพือการศึกษา (Educational Media) ่ เป็ นโครงงานทีใช้คอมพิวเตอร์ในการผลิตสื่ อเพื่อการศึกษา โดย การสร้างโปรแกรมบทเรี ยน ซึ่งอาจจะต้องมีภาคแบบฝึ กหัด บททบทวน และคาถามคาตอบไว้พร้อม เครื่ องคอมพิวเตอร์เป็ นอุปกรณ์การสอน ไม่ใช่เป็ นครู ผสอน ซึ่ งอาจเป็ นการพัฒนาบทเรี ยนแบบ Online ให้ ู้ นักเรี ยนเข้ามาศึกษาด้วยตนเองก็ได้ โครงงานประเภทนี้สามารถพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการ สอนใน วิชาต่าง ๆ โดยนักเรี ยนอาจคัดเลือกหัวข้อที่นกเรี ยนทัวไปที่ทาความ ั ่ เข้าใจยาก มาเป็ นหัวข้อในการพัฒนาโปรแกรมบทเรี ยน ตัวอย่าง เช่น โปรแกรมสอนวิธีการใช้งาน ระบบสุ ริยะจักรวาล โปรแกรมแบบทดสอบวิชาต่าง ๆ
  • 10. โครงงานพัฒนาเครื่องมือ (Tools Development) เป็ นโครงงานเพื่อพัฒนาเรื่ องมือมาใช้ช่วยสร้างงานประยุกต์ต่าง ๆ ซึ่ งโดยส่ วนใหญ่จะเป็ นในรู ปซอฟต์แวร์ ตัวอย่างของเครื่ องมือช่วยงาน เช่น ซอฟต์แวร์ วาดรู ป ซอฟต์แวร์ พิมพ์งาน ซอฟต์แวร์ ช่วยการมองวัตถุในมุมต่าง ๆ เป็ น สาหรับซอฟต์แวร์ ช่วยในการมองวัตถุในมุมต่าง ๆ ใช้สาหรับช่วย ในการออกแบบสิ่ งของต่าง ๆ เช่น โปรแกรมประเภท 3D
  • 12. โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี (Theory Experiment) เป็ นโครงงานใช้คอมพิวเตอร์ในการจาลองการทดลองของสาขา ต่าง ๆ เป็ นโครงงานที่ผทาต้องศึกษารวบรวมความรู ้ หลักการ ู้ ข้อเท็จจริ งและแนวความคิดต่าง ๆ อย่างลึกซึ้ ง พร้อมทั้งนาเสนอวิธีการ ่ จาลองทฤษฎีดวยคอมพิวเตอร์ การทาโครงงานประเภทนี้ มีจุดสาคัญอยูที่ ้ ผูทาต้องมีความรู ้เรื่ องนั้น ๆ เป็ นอย่างดี ตัวอย่าง เช่น การทดลองเรื่ อง ้ การไหลของเหลว การทดลองเรื่ องพฤติกรรมของปลาอโรวาน่า ทฤษฎี การแบ่งแยกดีเอ็นเอ เป็ นต้น
  • 14. โครงงานประเภทการประยุกต์ ใช้ งาน(Application) เป็ นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการสร้างผลงานเพื่อประยุกต์ใช้งาน จริ งในชีวิต ประจาวัน เช่น ซอฟต์แวร์ สาหรับการออกแบบและตกแต่ง อาคาร ซอฟต์แวร์สาหรับการผสมสี ซอฟต์แวร์สาหรับการระบุคนร้าย เป็ นต้น โครงงานงานประเภทนี้จะมีการประดิษฐ์ฮาร์ ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรื อ อุปกรณ์ใช้สอยต่าง ๆ ซึ่ งอาจจะสร้างใหม่หรื อปรับปรุ ง ่ ดัดแปลงของเดิมที่มีอยูแล้วให้มี ประสิ ทธิ ภาพสู งขึ้นก็ได้
  • 15. โครงงานลักษณะนี้จะต้องศึกษาและวิเคราะห์ความต้องการของ ผูใช้ก่อนแล้วนา ข้อมูลที่ได้มาใช้ในการออกแบบ และพัฒนาสิ่ งของ ้ นั้น ๆ ต่อจากนั้นต้องมีการทดสอบการทางานหรื อทดสอบคุณภาพของ สิ่ งประดิษฐ์แล้วปรับ ปรุ งแก้ไขให้มีความสมบูรณ์ โครงงานประเภทนี้ นกเรี ยนต้องใช้ความรู ้เกี่ยวกับเครื่ อง ั คอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรม และเครื่ องมือต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้ง อาจใช้วธีทางวิศวกรรมฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ในการพัฒนาด้วย ิ
  • 17. โครงงานพัฒนาเกม (Game Development) เป็ นโครงงานพัฒนาซอฟต์แวร์ เกมเพื่อความรู้ และ/หรื อ ความ เพลิดเพลิน เช่น เกมการคานวณเลข ซึ่ งเกมที่พฒนาขึ้นนี้ น่าจะเน้นให้ ั เป็ นเกมที่ไม่รุนแรง เน้นการใช้สมองเพื่อฝึ กคิดอย่างมีหลักการ โครงงานประเภทนี้ จะมีการออกแบบลักษณะและกฎเกณฑ์การเล่น เพื่อให้น่าสนใจเก่ผเู ้ ล่น พร้อมทั้งให้ความรู ้สอดแทรกไปด้วย ผูพฒนา ้ ั ควรจะได้ทาการสารวจและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเกมต่าง ๆ ่ ั่ ที่มีอยูทวไปและนามาปรับปรุ งหรื อพัฒนาขึ้นใหม่เพื่อ ให้เป็ นเกมที่แปลกใหม่ และน่าสนใจแก่ผเู ้ ล่นกลุ่มต่าง ๆ
  • 19. กิจกรรมการเรี ยนรู ้ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. ่ ให้นกเรี ยนแต่ละช่วยกันแยกคาเหล่านี้วาจัดเป็ นโครงงานประเภทใด โดยทา ั ลงในสมุด (โครงงานพัฒนาสื่ อเพื่อการศึกษา, โครงงานพัฒนาเครื่ องมือ, โครงงาน ประเภทการทดลองทฤษฎี, โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน และโครงงาน พัฒนาเกม) E-learning 8. โปรแกรมประมวลผลภาษา โปรแกรมคานวณเงินเดือน 9. หุ่นยนต์ช่วยเก็บขยะ สื่ อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 10. เกมครอสเวิร์ด ่ เกมจับคูคาศัพท์ ทดลองการระเบิดไดนาไมต์ ซอฟต์แวร์สาหรับการผสมสี โครงงานประเมินความเสี ยหายจากการเกิดแผ่นดินไหว
  • 20. การบ้าน ให้นกเรี ยนทา My Mapping สรุ ปเรื่ อง “ประเภทของโครงงาน ั คอมพิวเตอร์ ” ลงในกระดาษ A4 พร้อมทั้งตกแต่งให้สวยงาม ส่ งคาบ เรี ยนหน้านะคะ
  • 22. ขั้นตอนการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ 1. การคัดเลือกหัวข้ อโครงงาน เรื่ องทัวไปหรื อเรื่ องที่เกี่ยวข้องกับการดาเนิ นชีวิตประจาวันสามารถ ่ นามาเป็ นหัวข้อพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ได้ท้ งสิ้น เช่นการนาคอมพิวเตอร์ ั มาใช้เตื อนเมื่ อระดับน้ าฝนตกหนักเกิ นระดับที่ ปลอดภัย หรื อใช้โปรแกรม คอมพิวเตอร์ร่วมกับกล้องเว็บแคม ตรวจจับความเคลื่อนไหวของผูบุกรุ ก เป็ น ้ ต้น นั ก เรี ยนสามารถค้ น หาหั ว ข้ อ ของโครงงานได้ ม ากมาย ด้ ว ย การ เริ่ มต้นสังเกตสิ่ งรอบๆ ตัวนันเอง ่
  • 23. 2. การศึกษาค้ นคว้ าหาข้ อมูลทีเ่ กียวข้ องกับโครงงาน ่ เมื่อได้หวข้อโครงงานแล้ว นักเรี ยนจาเป็ นต้องหาข้อมูลและความรู ้ ั เพิ่มเติมเกี่ยวกับงานที่ตองการจะจัดทา แหล่งข้อมูลอาจเป็ นหนังสื อ หรื อ ้ วารสารที่มีผให้ขอมูลไว้ก่อนหน้า หรื ออาจเป้ นการขอข้อมูลจากผูที่เกี่ยวข้อง ู้ ้ ้ รวมทั้งอาจศึกษาระบบซึ่งคล้ายกันที่มีผพฒนามาก่อนหน้าแล้ว ู้ ั 3. จัดทาข้ อเสนอโครงงาน เมื่อได้ขอมูลเกี่ยวกับโครงงาน และพบว่าโครงงานมีความเป็ นไปได้ ้ แล้ว นักเรี ยนควรเขียนข้อเสนอโครงงานเพื่อนาเสนอกับอาจารย์ผสอน ู้ การเขียนข้อเสนอจะเป็ นการรวบรวมข้อมูลและความคิดให้เป็ นระบบ ในขั้นตอนนี้จาเป็ นอย่างยิงที่จะต้องบันทึกรายละเอียดทั้งหมดที่ ่ เกี่ยวข้องรวมถึงตารางกาหนดการทางาน และกาหนดระยะเวลาที่ตองทางาน ้ แต่ละขั้นตอนให้สาเร็ จด้วย
  • 24. 4. การจัดทาโครงงาน ในขั้นนี้ตองมีการรวบรวมอุปกรณ์ที่ตองใช้ให้ครบถ้วนมีการ ้ ้ ดาเนินงานตามตารางเวลาการทางานอย่างเคร่ งครัด เมื่อมีความก้าวหน้าในงาน จาเป็ นต้องตรวจสอบความถูกต้องของผลที่ได้อย่างสม่าเสมอ และควรจด บันทึกความก้าวหน้า รวมถึงอุปสรรคที่ได้พบ และวิธีแก้ไขด้วย 5. การเขียนรายงาน ในขั้นตอนนี้เป็ นการรวบรวมรายละเอียดทั้งหมดมาเขียนไว้เป็ นลาย ลักษณ์อกษร เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาโครงงานเดิมอีกต่อไป ั ซึ่งจะเป็ นประโยชน์มากในกรณี ที่มีผอื่นต้องการทาโครงงาน ู้ ที่คล้ายกันก็จะสามารถเรี ยนรู ้จากประสบการณ์ที่ได้บนทึกไว้โดยทันที ั
  • 25. 6. การนาเสนอและแสดงผลงานโครงงาน โดยทัวไปเมื่อโครงงานเสร็ จสิ้นแล้ว นักเรี ยนจาเป็ นต้องมีการ ่ ั ้ ้ นาเสนอโครงงานให้กบผูที่ตองการใช้งาน ผูสนใจหรื ออาจารย์ผรับผิดชอบ ้ ู้ โครงงาน ควรเตรี ยมเอกสารนาเสนอให้สมบูรณ์ โดยอาจจะปรับย่อข้อความที่ สาคัญมาจากรายงานก็ได้ นอกจากนี้ยงจะต้องวางแผนในการสาธิ ตการทางาน ั ของโครงงานด้วย และควรฝึ กหัดอธิบายการทางานของโครงงาน รวมถึง ฝึ กหัดตอบคาถามที่เกี่ยวข้องไว้ดวย ้
  • 26. ลักษณะของโครงงานที่ดี 1. เป็ นโครงการที่สามารถแก้ปัญหาของท้องถิ่นได้ 2. มีรายละเอียด เนื้ อหาสาระครบถ้วน ชัดเจน และจาเพาะเจาะจง โดยสามารถตอบคาถามต่อไปนี้ได้คือ - โครงการอะไร = ชื่อโครงการ - ทาไมจึงต้องริ เริ่ มโครงการ = หลักการและเหตุผล - ทาเพื่ออะไร = วัตถุประสงค์ - ปริ มาณที่จะทาเท่าไร = เป้ าหมาย - ทาอย่างไร = วิธีดาเนินการ - จะทาเมื่อไร นานเท่าใด = ระยะเวลาดาเนินการ
  • 27. - ใช้ทรัพยากรเท่าไรและได้มาจากไหน = งบประมาณ แหล่งที่มา - ใครทา = ผูรับผิดชอบโครงการ ้ - ต้องประสานงานกับใคร = หน่วยงานที่ให้การสนับสนุน - บรรลุวตถุประสงค์หรื อไม่ = การประเมินผล ั - เมื่อเสร็ จสิ้ นโครงการแล้วจะได้อะไร = ผลประโยชน์ที่คาดว่าจะ ได้รับ 3. รายละเอียดของโครงการดังกล่าว ต้องมีความเกี่ยวเนื่ อง ั สัมพันธ์กน เช่น วัตถุประสงค์ตองสอดคล้อง ้ กับหลักการและเหตุผล วิธีดาเนินการต้องเป็ นทางที่ทาให้บรรลุ วัตถุประสงค์ได้ ฯลฯ เป็ นต้น
  • 28. 4. โครงการที่ริเริ่ มขึ้นมาต้องมีผลอย่างน้อยที่สุดอย่างใดอย่าง หนึ่งในหัวข้อต่อไปนี้ - สนองตอบ สนับสนุนต่อนโยบายระดับจังหวัดหรื อนโยบาย ส่ วนรวมของประเทศ - ก่อให้เกิดการพัฒนาทั้งเฉพาะส่ วนและการพัฒนาโดยส่ วนรวม ของประเทศ - แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นได้ตรงจุดตรงประเด็น 5. รายละเอียดในโครงการมีพอที่จะเป็ นแนวทางให้ผอื่นอ่าน ู้ แล้วเข้าใจ และสามารถดาเนินการตาม โครงการได้ 6. เป็ นโครงการที่ปฏิบติได้และสามารถติดตามและ ั ประเมินผลได้
  • 29. ขั้นตอนของการประเมินโครงงาน ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4 ขั้นตอนที่ 5 ขั้นตอนที่ 6 การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับโครงการ การกาหนดวัตถุประสงค์ของการประเมิน การกาหนดขอบเขตของการประเมิน การพิจารณากาหนดตัวบ่งชี้ และแหล่งข้อมูล การวิเคราะห์ขอมูล ้ การสรุ ปผลการประเมิน
  • 30. การบ้ าน คาชี้แจง : ให้นกเรี ยนตอบคาถามเกี่ยวกับขั้นตอนการพัฒนาโครงงานในแต่ ั ละข้อต่อไปนี้ลงในสมุด 1.องค์ประกอบของโครงงานคอมพิวเตอร์มีอะไรบ้าง 2.ขั้ นตอนการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ให้เกิดประสิ ทธิภาพ มีอะไรบ้าง 3.องค์ประกอบของการเขียนรายงานโครงงานมีอะไรบ้าง 4. ให้นกเรี ยนสื บค้นตัวอย่างการทาโครงงานคอมพิวเตอร์จากแหล่งข้อมูล ั สารสนเทศมา 2 โครงงานแล้วระบุรายละเอียด ดังนี้ ชื่อโครงงาน รายละเอียดของโครงงาน ประเภทของ โครงงาน