ݺߣ
Submit Search
โครงงาน ถ่านไม้รีไซเคิล
•
0 likes
•
5,935 views
N
noeiinoii
Follow
1 of 18
Download now
Downloaded 14 times
More Related Content
โครงงาน ถ่านไม้รีไซเคิล
1.
ถ่านไม้รีไซเคิล
2.
จัดทำโครงงำนโดย 1.นส.ปิยวรรณ จอมมงคล ม.6/8
เลขที่28 2.นส.ณัฐชา สุวพัฒน์ ม.6/8 เลขที่40 ชื่อครูที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
3.
สารบัญ ที่มาและความสาคัญ วัตถุประสงค์ สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า ขอบเขตโครงงาน วิธีดาเนินการ ผลการทดลองและการอภิปรายผล สรุปผลการทดลอง ประโยชน์ของการศึกษา ข้อเสนอแนะ เอกสารอ้างอิง
4.
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน ถ่านเป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่ทาให้เกิดภาวะโลกร้อน เพราะเมื่อถ่านถูกเผา ไหม้จะมีควัน ซึ่งมีส่วนประกอบของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
ซึ่งเป็นก๊าซสาคัญ ที่ทาให้เกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก กลุ่มของดิฉันจึงมีแนวความคิดที่จะนาเศษ ถ่านมารีไซเคิล ให้เป็นถ่านที่มีประสิทธิภาพสูงกว่าถ่านธรรมดาทั่วไป และเพื่อ ลดควันให้มีปริมาณน้อยลง ซึ่งเป็นปัจจัยหนึ่งที่ช่วยลดเกิดภาวะโลกร้อน
5.
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ในการนาถ่านไม้ที่ใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่ โดยหาอัตราส่วนที่เหมาะสมของส่วนผสมต่างๆ ที่จะให้พลังงานความร้อนดีที่สุด 2.
เพื่อศึกษาชนิดของแป้งที่ให้พลังงานความร้อนสูงสุดเมื่อนามาผสม กับถ่านรีไซเคิล 3. เพื่อสร้างการเรียนรู้แก่นักเรียนและบริโภคได้นามาใช้ได้อย่าง ปลอดภัยและพอเพียง
6.
สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า 1. อัตราส่วนผสมระหว่างถ่านไม้ แป้งและนา
ที่แตกต่างกันมีผลต่อ ประสิทธิภาพของถ่าน 2. แป้งชนิดต่างๆ เมื่อผสมกับถ่าน จะมีผลต่อประสิทธิภาพของถ่าน แตกต่างกัน
7.
ขอบเขตโครงงาน 1. ถ่านรีไซเคิลจากการผสมของวัสดุชนิดต่างๆ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การให้พลังงานความร้อนในอัตราส่วนระหว่างเศษถ่านต่อแป้งต่อนาที่แตกต่างกัน 3
อัตราส่วน ได้แก่ 2:1:1 /2:2:1 / 1:2:1 2. ชนิดของแป้งในการเพิ่มประสิทธิภาพของถ่าน คือ แป้งมัน แป้ง ข้าวเจ้า แป้งข้าวเหนียว แป้งข้าวโพด
8.
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ • • • • • • • • 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. กะละมัง ทัพพี ถ้วยตวง ตราชั่ง แม่พิมพ์ ที่อัดถ่าน บีกเกอร์ กระดาษสา • 9. เศษถ่าน •
10. แป้งชนิดต่างๆ • 11. นา
9.
วิธีดาเนินงาน ตอนที่ 1 1. นาเศษถ่านมาตาให้เป็นผงละเอียด
200 กรัม หลังจากนันนามาผสมกับแป้งมัน100 กรัม และนา 100 ml แล้วคลุกเคล้าให้เป็นเนือเดียวกัน 2.นาส่วนผสมทัง 3 ส่วนมาใส่ในที่อัดแท่งถ่านที่เตรียมไว้ อัดจนแน่น ดันถ่านทีอัดจนแน่น ่ ออกมาจากที่อัด แล้วนาไปตากแดดจนแห้ง ก็จะได้แท่งถ่านอัดแท่ง 3. ตวงนา 50 ml ลงในบีกเกอร์ขนาด 150 ml แล้วนามาตังบนเตาถ่าน ที่มีถ่านอัดแท่งผสม แล้ว จับเวลาจนนาเดือดที่อุณหภูมิ 80๐c 4. ทาการทดลองซาข้อ 1-3 จานวน 4 ครัง พร้อมหาค่าเฉลี่ยของเวลาที่ทาให้นาเดือด และ บันทึกผล 5. ตวงนา 50 ml ลงในบีเกอร์ขนาด 150ml วัดอุณหภูมิของนาก่อนนาไปต้มแล้วนามาตังบน เตาถ่านที่มีถ่านอัดแท่งที่ผสมแล้ว วัดอุณหภูมิที่ทาให้นาเดือดในเวลา 4 นาที แล้วนาผลที่ได้นัน ไปบันทึก ลงในตารางบันทึก 6. ทาการทดลองซาจากข้อ 1-5 โดยเปลี่ยนอัตราส่วนผสม เศษถ่าน : แป้ง : นาเป็น 200 กรัม : 200 กรัม : 100 ml และอัตราส่วน 100 กรัม : 200 กรัม : 100 ml ทาการทดลองซา 4 ครัง แล้วบันทึกผลลงในตารางบันทึกผล
10.
ตอนที่ 2 1. นาเศษถ่านมาตาให้เป็นผงละเอียด
200 กรัม หลังจากนันนามาผสมกับแป้งมัน100 กรัม และนา 100 ml แล้วคลุกเค้าให้เป็นเนือเดียวกัน 2. นามาใส่ในที่อัดแท่งถ่านที่เตรียมไว้ อัดเข้าจนแน่น ดันถ่านที่อัดจนแน่นออกมาจากที่อัด นาไปตากแดดจนแห้ง ก็จะได้แท่งถ่านอัดแท่ง 3. ตวงนา 50 ml ลงในบีกเกอร์ขนาด 150 ml แล้วนามาตังบนเตาถ่าน ที่มีถ่านอัดแท่งที่ ผสมแล้ว จับเวลาจนนาเดือดที่อุณหภูมิ 80๐c 4. ทาการทดลองซาข้อ 1-3 จานวน 4 ครัง พร้อมหาค่าเฉลี่ยของเวลาที่ทาให้นาเดือด และ บันทึกผล 5. ตวงนา 50 ml ลงในบีกเกอร์ขนาด 150 ml วัดอุณหภูมินาก่อนนาไปต้ม แล้ว นามาตังบนเตาถ่านที่มีถ่านอัดแท่งทีผสมแล้ว วัดอุณหภูมิทาให้นาเดือดในเวลา 4 นาที แล้ว ่ บันทึกผล 6. ทาการทดลองซาจากข้อ 1-5 โดยเปลี่ยนแป้งมันเป็นแป้งต่างๆ คือ แป้งข้าวเจ้า แป้งข้าวเหนียว แป้งข้าวโพด ทาการทดลองซา 4 ครัง แล้วบันทึกผล
11.
ผลการทดลองและอภิปรายผล ตอนที่ 1 การให้พลังงานความร้อนของถ่านรีไซเคิล
จากอัตราส่วนผสมที่แตกต่างกัน อัตราส่วนผสมของวัสดุต่างๆ เวลาทีทาให้นาเดือดทีอุณหภูมิ 80๐c (นาที) ่ ่ (เศษถ่าน:แป้งมัน:นา) ครังที่ 1 ครังที่ 2 ครังที่ 3 ครังที่ 4 เฉลี่ย 2:1:1 5.10 4.10 4.20 2.14 4.20 2:2:1 8.45 8.21 9.03 7.52 8.30 1:2:1 11.17 12.06 10.52 11.02 11.10 ตารางที่ 1 เวลาที่ใช้ในการให้พลังงานความร้อนของถ่านในอัตราส่วนผสมต่างๆ ที่ทาให้นา 50 ml อุณหภูมิสูงขึน 80๐c
12.
อัตราส่วนผสมของวัสดุต่างๆ (เศษถ่าน:แป้งมัน:นา) อุณหภูมิ (๐c) ครังที่ 1
ครังที่ 2 ครังที่ 3 ครังที่ 4 เฉลี่ย ปริมาณ ความร้อน ms t (cal) 2:1:1 60 74 78 80 73 4100 2:2:1 72 73 70 74 72 4000 1:2:1 70 68 72 70 70 3800 ตารางที่ 2 อุณหภูมิและปริมาณความร้อนที่ได้จากถ่านในอัตราส่วนผสมของวัสดุ ชนิดต่างๆ ทาให้นา 50 ml อุณหภูมิสูงขึนภายในเวลา 4 นาที
13.
ตอนที่ 2 ชนิดของแป้งที่นามาผสมในถ่านเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของถ่าน ในการให้พลังงานความร้อน แป้งชนิดใดจะให้พลังงานความร้อนดีที่สุด
โดยมีผลการทดลองดังนี้ แป้ง เวลาที่ท้าให้น้าเดือดที่อุณหภูมิ 80๐c (นาที) ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 ครั้งที่ 4 เฉลี่ย แป้งมัน 5.10 4.10 4.20 4.12 4.30 แป้งข้าวโพด 4.11 3.40 4.14 5.03 4.10 แป้งข้าวเหนียว 5.43 5.08 4.14 3.39 5.10 แป้งข้าวเจ้า 5.57 5.34 3.16 5.0 4.37 ตารางที่ 3 เวลาที่ถ่านจากแป้งชนิดต่างๆ สามารถท้าให้น้าปริมาณ 50 ml เดือดที่อุณหภูมิ 80๐c
14.
แป้ง อุณหภูมิ (๐c) ครังที่ 1
ครังที่ 2 ครังที่ 3 ครังที่ 4 เฉลี่ย ปริมาณ ความร้อน ms t (cal) แป้งมัน 60 74 78 80 73 4100 แป้งข้าวโพด 78 82 78 73 78 4700 แป้งข้าวเหนียว 73 72 82 80 77 4600 แป้งข้าวเจ้า 75 72 82 81 78 4600 ตารางที่ 4 อุณหภูมิและปริมาณความร้อนที่ได้จากส่วนผสมของถ่านและ แป้งชนิดต่างๆที่ท้าให้น้า 50 ml อุณหภูมิสูงขึ้นภายในเวลา 4 นาที
15.
สรุปผลการทดลอง จากผลการศึกษาประสิทธิภาพของถ่านรีไซเคิลสรุปได้ว่า อัตรา ส่วนผสมของเศษถ่าน:แป้ง: นา
ที่แตกต่างกันจะให้พลังงานความร้อนที่แตกต่าง กัน โดยอัตราส่วนผสมที่ 2:1:1 ใช้เวลาน้อยที่สุด ที่จะทาให้นาปริมาตร 50 ml มีอุณหภูมิสูง 80oC และภายในเวลา 4 นาที อัตราส่วนดังกล่าวสามารถทาให้ นามีอุณหภูมิสูงที่สุด ส่วนชนิดของแป้งที่ผสมในถ่านในอัตราส่วนข้างต้นแล้วจะ ทาให้พลังงานความร้อนสูงที่สุด คือ แป้งข้าวโพด
16.
ประโยชน์ของการศึกษา 1. สามารถผลิตถ่านไม้ชีวภาพเป็นพลังงานทดแทนในอนาคตได้ 2. พลังงานจากถ่านรีไซเคิลไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางอากาศ
และช่วย ลดภาวะโลกร้อน 3. สามารถนาไปพัฒนาค้นหาวิธีการนีนามาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อเนื่อง ในท้องถิ่นจะเป็นการช่วยประหยัดทรัพยากรป่าไม้ในการนามาทาถ่านไม้ 4. ฝึกกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ รวมทังได้ศึกษาค้นคว้าแหล่ง เรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น 5. สามารถทาใช้เองได้และช่วยให้ประหยัดค่าใช้จ่ายเดินตามรอย เศรษฐกิจพอเพียง
17.
ข้อเสนอแนะ 1. ควรศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับพลังงานทดแทน เพื่อหาพลังงาน หมุนเวียนซึ่งเป็น พลังงานที่ใช้ไม่ได้หมดมาแทนนามันเชือเพลิงและก๊าซธรรมชาติ 2.
ศึกษาข้อมูลเพื่อนาวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรอื่นๆ มาผสมกับเศษ ถ่าน เช่น เปลือกส้มโอ เปลือกมะนาว เพื่อใช้เป็นพลังงานทดแทน 3. จากการทดลองพบว่าถ่านไม้บางอย่างก็มีควันบาง ดังนันน่าจะ ออกแบบเตาที่ใช้หุงต้มเพื่อลดควันและให้พลังงานความร้อนถ่ายเทให้กับ สิ่งแวดล้อมภายนอกน้อยที่สุด
18.
เอกสารอ้างอิง http://www.l3nr.org/posts/341603
Download