ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
การอบรมเชิงปฏิบัติการ
ยุวทูต “ลดภาวะโลกร้อน”
โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ ใส่ใจดูแลโลก
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
10 สิงหาคม 2554
ณ ศูนย์สื่อมัลติมีเดีย
โรงเรียนหนองหว้าพิทยาสรรค์
นิธิรัตน์ อาโยวงษ์ (2554)
วัตถุประสงค์ของโครงการ
2.1 เพื่อปลูกฝังค่านิยมเกี่ยวกับความหวงแหน
และสร้างจิตสานึกในการดูแลรักษาสภาพแวดล้อม
ในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของสังคม ภายใต้การทากิจกรรม
เชิงบูรณาการ
2.2 เพื่อให้นักเรียนเกิดความสนุกสนานควบคู่กับการได้รับความรู้
ในสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และมีเจตคติต่อวิทยาศาสตร์
ที่ดี เกิดมุมมองทางวิทยาศาสตร์ต่อการดาเนินชีวิตประจาวัน
นิธิรัตน์ อาโยวงษ์ (2554)
วัตถุประสงค์ของโครงการ
2.3 เพื่อฝึกให้นักเรียนได้ร่วมกันคิดอย่างมีระบบ
คิดอย่างมีเหตุผลตามหลักการทางวิทยาศาสตร์
2.4 เพื่อฝึกความคิดสร้างสรรค์
บนพื้นฐานของการใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์
2.5 ๶พื่อฝึกทักษะกระบวนการทางสังคม
ภารกิจของยุวทูต “ลดภาวะโลกร้อน”
1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย
และสาเหตุของภาวะโลกร้อน
2. ตระหนักถึงภาวะโลกร้อนที่มีต่อสิ่งแวดล้อม
3. เป็นแบบอย่างของการนาวิธีการลดภาวะ
โลกร้อน (3AR) ไปใช้ในชีวิตประจาวัน
4. นาความรู้ที่ได้รับไปถ่ายทอดให้กับผู้อื่นได้
อย่างมีประสิทธิภาพ
เนื้อหาและกิจกรรมที่ใช้ในการอบรม
ภาคบรรยาย
Smart Design : 2A3R
คิดประดิษฐ์ พิชิตโลกร้อน
สำนักกิจกำรอวกำศแห่งชำติ, 2551 . ดาวเคราะห์โลกในมุมมองใหม่ของมนุษยชาติ.
จำก http://www.space.mict.go.th/knowledge.php?id=rs1. เมื่อ 10 สิงหำคม 2554.
ภาวะโลกร้อน (Global Warming)
หรือ
สภาวะที่ภูมิอากาศของโลกมีการเปลี่ยนแปลง (Climate Change)
สภาวการณ์ที่สภาพภูมิอากาศของโลกมีการเปลี่ยนแปลง
แตกต่างไปจากเดิม
โดยมีอุณหภูมิเฉลี่ยของผิวโลกและผืนมหาสมุทรสูงขึ้น
(IPCC, 2007)
รู้ได้อย่างไรว่าโลกร้อนขึ้น
และในอนาคตอุณหภูมิเฉลี่ยของโลกจะสูงขึ้น
กี่องศาเซลเซียส ?
จากการเฝ้าติดตามความผันแปรของอุณหภูมิโลก
พบว่า
ในระยะ 10 ปี สุดท้าย พ.ศ. 2539 – 2548
เป็นช่วงที่อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกร้อนที่สุด
หากไม่มีมาตรการใดๆ ที่จะยับยั้งการปล่อยออกก๊าซเรือนกระจกแล้ว
คาดว่า อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกจะเพิ่มสูงขึ้น
1.5-4.5 องศาเซลเซียส ภายในปี ค.ศ. 2100
ก๊าซเรือนกระจกดักจับพลังงานจากแสงอาทิตย์
ไว้ภายในชั้นบรรยากาศ
ทาให้อุณหภูมิของพื้นผิวโลกและชั้นบรรยากาศสูงขึ้น
ก๊าซเรือนกระจกดูดกลืนพลังงานความร้อน
ที่สะท้อนออกจากผิวโลก
ถ้าไม่มีก๊าซเหล่านี้ อุณหภูมิเฉลี่ยของโลก
จะต่าถึง -18o องศาเซลเซียส
พลังงานจากแสงอาทิตย์
ผ่านชั้นบรรยากาศ
และถูกดูดกลืนไว้ที่ผิวโลก
ทาให้โลกอุ่นขึ้น
ปรากฏการณ์เรือนกระจก (greenhouse effect)
หมายถึง
การที่ชั้นบรรยากาศของโลกกระทาตัวเสมือนกระจก
ที่ยอมให้รังสีคลื่นสั้นจากดวงอาทิตย์ผ่านทะลุลงมายังผิวพื้นโลกได้
และดูดกลืนรังสีคลื่นยาวที่โลกคายออกไป
ไม่ให้หลุดออกนอกบรรยากาศ
ทาให้โลกไม่เย็นจัดในเวลากลางคืน บรรยากาศเปรียบเสมือนผ้าห่มผืน
ใหญ่ที่คลุมโลกไว้ ก๊าซที่ยอมให้รังสีคลื่นสั้นจากดวงอาทิตย์ผ่านทะลุ
ลงมาได้แต่ไม่ยอมให้รังสีคลื่นยาวที่โลกคายออกไปหลุดออกนอก
บรรยากาศ เรียกว่า ก๊าซเรือนกระจก (greenhouse gases)
กรมอุตุนิยมวิทยำ, 2006 . กำรเปลี่ยนแปลงสภำพภูมิอำกำศ. จำก http://www.tmd.go.th/NCCT/climate_change.php. เมื่อ 10 สิงหำคม 2554.
อบรมภาวะโลกร้อน
ก๊าซเรือนกระจกที่สาคัญๆ
มีอะไรบ้าง?
แต่ละชนิดมีที่มาอย่างไร?
(ธนวัฒน์ จารุพงษ์สกุล, 2550)
ชนิดของก๊าซ CO2 CH2 N2O CF2C O3
แหล่งกำเนิด
โดยธรรมชำติ
วัฏจักร
ธรรมชำติ
พื้นที่ชุ่มน้ำ ดิน,
ป่ำเขตร้อน
ไม่มี ไฮโดรคำร์บอน
แหล่งกำเนิด
โดยมนุษย์
กำรเผำป่ำ
อุตสำหกรรม
กำรเผำไหม้
เชื้อเพลิง
นำข้ำว
ปศุสัตว์
เผำไหม้เชื้อเพลิง
กำรใช้ปุ๋ย
ในกำรเกษตร
เผำไหม้เชื้อเพลิง
เครื่องทำควำมเย็น
อุตสำหกรรม
เผำไหม้เชื้อเพลิง
มวลชีวภำพ
อำยุที่คงอยู่
ในบรรยำกำศ
200-450 ปี 11 ปี 120 ปี 60-100 ปี 30-40
สัปดำห์
ตารางที่ 1 การเปรียบเทียบก๊าซเรือนกระจกชนิดต่างๆ
ชนิดของก๊าซ CO2 CH2 N2O CF2C O3
ปริมำณก่อน
ยุคอุตสำหกรรม
278 ppm 790 ppm 288 ppm 0 ppm 10 ppm
ปริมำณก่อน
ยุคอุตสำหกรรม
383,000 1,752 317 0.1 20-24
อิทธิพล
ต่อภำวะ
เรือนกระจก
55% 16% 5% 10% 14%
ตารางที่ 1 การเปรียบเทียบก๊าซเรือนกระจกชนิดต่างๆ
ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และอุณหภูมิเฉลี่ยของโลก
(Stephen Tokin, 2007)
พฤติกรรมของมนุษย์
ทาให้ก๊าซเรือนกระจกมีปริมาณเพิ่มสูงขึ้นเรื่อย
และนาไปสู่ภาวะโลกร้อน
เกษตรกรรม มีผลให้ก๊าซมีเทนและไนตรัสออกไซด์สูงขึ้นทั่วโลก 15 %
เกษตรกรรมแบบชีวภาพ ช่วยลดการคายก๊าซเรือนกระจกลงอย่างมาก
1 ใน 4 ของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดจากมนุษย์
จะเกี่ยวข้องกับการจราจรขนส่ง
ผลกระทบจากความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศ
ทั่วโลก
อบรมภาวะโลกร้อน
อบรมภาวะโลกร้อน
อบรมภาวะโลกร้อน
อบรมภาวะโลกร้อน
อบรมภาวะโลกร้อน
อบรมภาวะโลกร้อน
อบรมภาวะโลกร้อน
อบรมภาวะโลกร้อน
MThai News:
สานักข่าวต่างประเทศ รายงานข่าว คลื่นความร้อน
ที่สูงอย่างต่อเนื่อง จนมีผู้เสียชีวิตแล้ว 22 ราย
ทางตอนกลางของสหรัฐอเมริกา
ซึ่งมีอุณหภูมิสูงเกิน 100 องศาฟาเรนไฮต์
(37.7 องศาเซลเซียส) (21 กค. 2011)
กรกฎาคม 2553 ชาวมอสโก ตาย
เพราะคลื่นความร้อน
เกือบ 40 องศาเซลเซียส
เกือบ 6 พันคน
คลื่นความร้อนที่โด่งดังที่สุดเกิดขึ้นในยุโรปปี 2003 โดยมีผู้เสียชีวิตมากถึง 35,000 ราย
เกือบครึ่งในจานวนนั้น เป็นการเสียชีวิตเฉพาะในฝรั่งเศสประเทศเดียว
กำรเพิ่มขึ้นของทะเลทรำย
จากการสารวจ (ตุลยวรรธ สุทธิแพทย์, 2550) พบว่า
เพนกวินจักรพรรดิ
ในทวีปแอนตาร์กติกาหรือขั้วโลกใต้
มีจานวนคู่ผสมพันธุ์ลดลงจาก 300 คู่ เหลือเพียง 9 คู่
อบรมภาวะโลกร้อน
ระบบนิเวศทางทะเล
ก็เป็นอีกระบบนิเวศหนึ่งที่จะได้รับผลกระทบจากภาวะโลกร้อน
เนื่องจากระดับน้าทะเลที่สูงขึ้น และอุณหภูมิผิวน้าที่เพิ่มขึ้น
ส่งผลให้พืชและสัตว์ทะเลบางชนิดสูญพันธุ์
รวมถึงการเกิดปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาวทั้งในอ่าวไทยและฝั่งทะเลอันดามัน
อบรมภาวะโลกร้อน
สัตว์แทบทุกชนิด ได้รับผลกระทบจากภาวะโลกร้อนนี้ แต่สัตว์บางกลุ่มที่อาศัย
อุณหภูมิและความชื้นในการดารงเผ่าพันธุ์จะยิ่งได้รับผลกระทบรุนแรงยิ่งขึ้น
เช่น เหล่าสัตว์ซึ่งอาศัยอุณหภูมิในการกาหนดเพศ
ซึ่งจะเป็นพวกสัตว์เลือดเย็น เช่น จระเข้ เต่า
จะมีอัตราส่วนของเพศที่เกิดขึ้นมาผิดเพี้ยนไปจากสภาพอากาศปกติ
ทาให้อัตราการสืบพันธุ์และดารงเผ่าพันธุ์ลดลง
นกนางแอ่น
ขาดใจตายระหว่างการอพยพข้ามทะเลทรายซาฮารา
กบ
มากกว่า 110 สายพันธุ์ สูญพันธุ์ไปแล้ว
(the national geographic, 2550)
กิจกรรม Smart Design : 3AR
ตระหนัก (Awareness)
หลีกเลี่ยง (Avoid)
ลด (Reduce)
นากลับมาใช้ใหม่ (Reuse)
นาไปแปรรูป (Recycle)
ปรับตัว (Adapt)
นิธิรัตน์ อาโยวงษ์ (2554)
หลีกเลี่ยง ( void)
หลีกเลี่ยงการใช้วัสดุที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
เช่น กล่องโฟม ถุงพลาสติก
ตระหนัก ( wareness)
มีจิตสานึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
มีความรู้สึกว่าสิ่งแวดล้อมเป็นส่วนหนึ่งของการดารงชีวิต
ปรับตัว ( dapt)
ใช้สิ่งแวดล้อมอย่างรู้คุณค่า
นิธิรัตน์ อาโยวงษ์ (2554)
นาไปแปรรูป ( ecycle)
ลด ( educe)
ลดการใช้วัสดุต่างๆ หรือใช้เท่าที่จาเป็น
นากลับมาใช้ใหม่ ( euse)
นาวัสดุที่ใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่
นิธิรัตน์ อาโยวงษ์ (2554)
นาวัสดุที่ไม่สามารถใช้ได้อีก ไปแปรรูปโดยผ่านกระบวนการ
ทางเคมีเป็นวัสดุใหม่ที่เหมือนหรือต่างไปจากเดิม
เป็นหน้าที่ของทุกคนไม่ว่าเด็กหรือผู้ใหญ่
และควรปฏิบัติกันอย่างจริงจัง...
โดยเริ่มจากตัวเราเองก่อน
แล้วค่อยขยายผลสู่คนรอบข้าง
...โลกมีเพียงใบเดียว และไม่ใช่ของใครคนใดคนหนึ่ง
และไม่ใช่ของมนุษย์เพียงกลุ่มเดียว
หากแต่เป็นของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด...
หยุดความเห็นแก่ตัว...มักง่าย...และหันมารักและใส่ใจโลก...
นิธิรัตน์ อาโยวงษ์ (2554)
กิจกรรม Smart Design : 3AR
นิธิรัตน์ อาโยวงษ์ (2554)
1.) ปลูกต้นไม้ สามารถลดคาร์บอนได้ถึง 900 กิโลกรัมต่อปี
2.) ทาความสะอาดบ้านอยู่เสมอ ลดคาร์บอน 500-900 กิโลกรัมต่อปี
3.) ทางเดียวไปด้วยกัน ประหยัดน้ามัน และช่วยลดคาร์บอนได้ 580 กิโลกรัมต่อปี
4.) ลดการห่อของ เพื่อลดขยะ ซึ่งลดคาร์บอนได้ปีละ 545 กิโลกรัม
5.) ดึงปลั๊กออกจากเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ไม่ได้ใช้งาน ลดคาร์บอนได้ 450 กิโลกรัมต่อปี
6.) ลดขยะให้น้อยลง ก็ช่วยลดคาร์บอนได้ 450 กิโลกรัมต่อปี
7.) ใช้เวลาอาบน้าน้อยลง ช่วยลดคาร์บอนได้ ปีละ 160 กิโลกรัม
8.) ปิดหน้าจอ และคอมพิวเตอร์เมื่อไม่ได้ใช้งาน ลดคาร์บอนได้ 90 กิโลกรัมต่อปี
9.) หมั่นตรวจสอบ และเปลี่ยนไส้กรองเครื่องปรับอากาศ ลดคาร์บอนได้ 80 กิโลกรัมต่อปี
10.) ใช้กระดาษให้คุ้มทั้ง 2 หน้า สามารถลดคาร์บอนได้ 2.5 กิโลกรัม ต่อกระดาษหนึ่งแพ็ก
กิจกรรม คิดประดิษฐ์ พิชิตโลกร้อน
นิธิรัตน์ อาโยวงษ์ (2554)
กิจกรรม คิด ประดิษฐ์ พิชิตโลกร้อน
นิธิรัตน์ อาโยวงษ์ (2554)

More Related Content

อบรมภาวะโลกร้อน