ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
การฝึกอบรมและการฝึกอบรมและ
พัฒนาพัฒนา
ความหมายของการฝึกอบรม
การฝึกอบรม ( Training) และการพัฒนา
(Development) ทั้งสองคำานี้มีความหมายคล้ายคลึงกัน
และเป็นกระบวนการที่เกี่ยวเนื่องกัน ดังมีผู้ให้ความหมายไว้
ดังนี้
การฝึกอบรม หมายถึงกระบวนการที่มีระเบียบ
แบบแผนซึ่งมุ่งหมายที่จะพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้
(Knowledge) และความชำานาญ (skills) เพื่อ
วัตถุประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่ง โดยเฉพาะของ
องค์การหรือหน่วยงานต่าง ๆ
ส่วนคำาว่าการพัฒนา (development) มี
ความหมายใกล้เคียงกันกับการฝึกอบรม ต่างกันเพียง
เล็กน้อยตรงที่ การฝึกอบรมนั้นเป็นการเตรียมคนเพื่อ
ทำางานในปัจจุบัน ส่วนการพัฒนานั้นเป็นการเตรียม
คนเพื่อให้ทำางานในอนาคต ( Training is for
การฝึกอบรมยังมีความหมายใกล้เคียงกับ
คำาว่าการศึกษา(education)
การศึกษาเป็นการให้ความรู้และ
ประสบการณ์ และมุ่งพัฒนาบุคคลอย่างกว้างๆ
เช่น การจัดการศึกษาในโรงเรียนและสถาบัน
การศึกษาต่างๆ และส่วนใหญ่ใช้เวลากัน
หลายปี เช่น การศึกษาในระดับประถม
ศึกษา มัธยมศึกษา หรืออุดมศึกษา เป็นต้น
ความจำาเป็นต้องมีการฝึกความจำาเป็นต้องมีการฝึก
อบรมอบรม
การจัดให้มีการฝึกอบรมย่อมทำาให้สิ้น
เปลืองค่าใช้จ่าย แต่ก็มีความจำาเป็น เราจะเห็น
ความจำาเป็นของการฝึกอบรมจากพฤติกรรม
ต่างๆของพนักงานดังนี้
1. พนักงานไม่สามารถทำางานได้ตาม
มาตรฐานที่กำาหนดไว้
2. การเกิดอุบัติเหตุบ่อยครั้ง
3. การเกิดการสูญเสียสิ้นเปลืองในวัตถุดิบ
ของเสียมาก
4. ต้องมีการซ่อมเครื่องจักรบ่อยๆ
5. มีพนักงานถูกย้ายงานตลอดจนลาออก
บ่อย
6. เมื่อมีผลการวิเคราะห์ว่าผลผลิตมี
ประสิทธิภาพตำ่า
7. เมื่อปรากฏว่าพนักงานเริ่มมีการปฏิบัติ
งานต่างวิธีกันในการ ปฏิบัติงานชนิดเดียวกัน
8. เมื่อเกิดปัญหาพนักงานเหน็ดเหนื่อย
มากและท้อถอยในการปฏิบัติงาน
9. เมื่องานคั่งค้างและสะดุดลง ณ จุดต่างๆ
10. ขวัญของผู้ปฏิบัติงานไม่ดี
การฝึกอบรมมีประโยชน์ต่อทั้งองค์การ
และผู้ปฏิบัติงานดังนี้
1. ประโยชน์ต่อองค์การ การฝึกอบรมพนักงาน
จะทำาให้องค์การมีพนักงานที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น
และกำาลังใจดี มีความจงรักภักดีต่อองค์การมากขึ้น
ลดอุบัติเหตุและความสูญเสียอันอาจจะเกิดขึ้นจาก
ความไม่รู้หรือไม่ชำานาญงานของพนักงาน ซึ่งผล
ประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงขึ้น
2. ประโยชน์ต่อผู้ปฏิบัติงาน ในด้านผู้ปฏิบัติ
งานที่ได้รับการฝึกอบรมก็จะมีความรู้ ความชำานาญ
งานมากขึ้น มีขวัญและกำาลังใจดี มีความจงรักภัคดี
ต่อองค์การ และมีความตั้งใจในการทำางานดี ซึ่งจะ
ประโยชน์ของการฝึกประโยชน์ของการฝึก
อบรมอบรม
กระบวนการในการฝึก
อบรม
ขั้นตอนในการดำาเนินงานดังนี้
1.วิเคราะห์ความต้องการในการฝึก
อบรม (Analyzed Training Needs) เป็นการสำารวจ
ศึกษาดูว่ามีเครื่องชี้ให้เห็นถึงความจำาเป็นต้องฝึก
อบรมหรือไม่เพียงใด เช่น
2.ตรวจสอบความต้องการแต่ลักษณะ
ของงาน (Examine each needs) โดยเปรียบเทียบ
ถึงความต้องการหรือความจำาเป็นเร่งด่วนในบรรดา
งานที่ต้องการให้มีการจัดอบรมตามลำาดับก่อนหลัง
และพิจารณาให้ถ่องแท้ว่าควรจะทำาการฝึกอบรมหรือ
ไม่ สาเหตุของความผิดพลาดบางอย่างอาจจะไม่
จำาเป็นต้องมีการฝึกอบรมซึ่งต้องสิ้นเปลืองมาก
3.วางโครงการในการฝึกกอบรม
(Design training program) จัดการวางโครงการ
ในการฝึกอบรมขึ้นมา ซึ่งเป็นการวางแผนว่า จะทำา
อะไร อย่างไร เมื่อไร ที่ไหน ใช้งบประมาณเท่าไร
ฯลฯ เป็นการกำาหนดรายละเอียดของการฝึกอบรมที่จะ
จัดขึ้น
4.เสนอโครงการเพื่อรับความเห็นชอบ
(Propose program to top management)
เมื่อเขียนโครงการเสร็จแล้วก็เสนอต่อผู้บังคับบัญชาที่
มีอำานาจหน้าที่อนุมัติให้มีการฝึกอบรม เพราะการฝึก
อบรมย่อมเกี่ยวพันกับเรื่องอื่น ๆ ด้วย เช่น งบ
ประมาณที่จะใช้ในการฝึกอบรม วันเวลาทำางานของ
ผู้รับการฝึกอบรม เป็นต้น
5.จัดวางระเบียบปฏิบัติในการดำาเนิน
การ(Issue regulations on training) จัดวางระเบียบต่างๆ
ที่เกี่ยวข้องในการดำาเนินให้เหมาะสมและถูกต้อง
6.การประเมิน (Evaluation) เมื่อเสร็จสิ้นการฝึก
อบรมแล้วก็มีการประเมินผลว่าผู้เข้ารับการฝึก
อบรมมีความรึความเข้าใจหรือความชำานาญงาน
หรือไม่เพียงใด เพื่อจะได้ทราบและนำาไปปรับปรุง
แก้ไขต่อไป
7.การติดตามผล (Follow-up) เมื่อผู้รับการ
ฝึกอบรมกลับมาปฏิบัติงานแล้วก็ติดตามผลดูว่า
ปฏิบัติงานดีขึ้นหรือไม่ มีการเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรมมากน้อยเพียงใด ซึ่งจะเป็นเรื่องชี้ให้
เห็นว่าการฝึกอบรมที่ผ่านมานั้นได้ดีหรือไม่เพียง
ประเภทของการฝึกประเภทของการฝึก
อบรมอบรม
1. การปฐมนิเทศ ( Orientation ) ใช้
สำาหรับผู้เข้าทำางานใหม่ จุดมุ่งหมายของการ
ปฐมนิเทศก็คือ แนะนำาให้พนักงานใหม่ได้รู้จักกับ
สภาพแวดล้อมต่างๆ ภายในองค์การทั้งเป็นวัตถุ
สิ่งของและคน เช่น แนะนำาให้รู้จักกับสถานที่ทำางาน
สภาพงาน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ระเบียบปฏิบัติต่างๆ
ที่ควรทราบ และแนะนำาให้รู้จักกับบุคคลที่ทำางาน
เกี่ยวข้องด้วย ทั้งนี้เพื่อให้พนักงานใหม่ได้ปรับตัวให้
เข้ากับสังคม ( Socializations ) ขององค์กรนั้นได้
อย่างรวดเร็ว และลดความเครียดต่างๆอันจะเกิดขึ้น
2. การฝึกอบรมโดยการให้ทำางานใน
สภาพจริง (on – the job training)
วิธีนี้ก็คือให้คนที่จะรับการฝึกอบรมนั้นจะได้
ทำางานในสภาพจริงของตน โดยมอบให้ผู้บังคับ
บัญชาหรือพนักงานอาวุโส(พี่เลี้ยง)ที่มีความรู้ความ
เชี่ยวชาญในงานนั้นเป็นผู้ให้การแนะนำาสั่งสอ น ผู้
เข้ารับการอบรมอาจจะเป็นรายบุคคลหรือเป็นกลุ่ม
ก็ได้ ลำาดับขั้นของการฝึกอบรมอาจทำาได้ดังนี้
ก. อธิบายให้ทราบถึงหลักและวิธีโดยทั่วไป
ข. สาธิตให้ดูจากของจริง
ค. ให้ผู้เข้ารับการฝึกทดลองปฏิบัติจริง
ง. แก้ไขข้อบกพร่องและชี้แจงให้ผู้เข้ารับการฝึก
อบรมทราบ
จ. ติดตามดูการทดลองการปฏิบัติงานและให้
3.การฝึกหัดช่างฝีมือ (Apprenticeship
Training)
เป็นการฝึกอบรมคนงานประเภทช่างฝีมือ
เช่น ช่างโลหะ ช่างตัดผม ช่างไม้ ช่างไฟฟ้า
ช่างพิมพ์ เป็นต้น
รัฐบาล และสมาคมอาชีพนับว่าเป็นผู้มีส่วน
สำาคัญต่อการฝึกอบรมประเภทนี้ เพราะ
เกี่ยวข้องกับการกำาหนดอัตราจ้าง การจ่าย
เงินอุดหนุนและมาตรฐานของงาน
เฉพาะทางด้านสมาคมอาชีพนั้น เพื่อควบคุม
จำานวนช่างฝีมือไม่ให้คนอื่นที่ไม่เหมาะสมพอ
หรือไม่ได้รับการฝึกอบรมมาเข้าสู่วงการ
อาชีพนั้นเป็นประการแรก ประการที่สองก็
4.การฝึกงาน ( Internship )
คือ การฝึกอบรมที่เกิดขึ้นจากการที่สถาน
ศึกษาได้ให้การศึกษาในภาคทฤษฏีแก่
นักศึกษาไปจนจบภาคทฤษฏี เสร็จแล้วก็จัด
ให้นักศึกษาเล่านี้ออกไปฝึกงานในองค์การ
ของเอกชนหรือของรัฐบาลเพื่อจะให้เกิด
ความชำานาญในวิชาชีพที่ได้เล่าเรียนมา
การฝึกอบรมประเภทนี้มักจะใช้กับอาชีพที่
ใช้ความรู้ความชำานาญ เช่น หมอ
ทนายความ นักบัญชี นักธุรกิจ ครู เป็นต้น
5. การฝึกอบรมในห้องทดลอง
ปฏิบัติงาน ( Vestibule Training)
การฝึกอบรมประเภทนี้จัดขั้นใน
ห้องเรียน หรือห้องฝึกอบรม มีลักษณะคล้าย
กับสถานที่ทำางานจริงทั้งเครื่องมือและสภาพ
การทำางาน สำาหรับการฝึกอบรมประเภทง่าย ๆ
และใช้ระยะเวลาสั้นใช้เพื่อฝึกหัดคนจำานว
นมากๆ
6. การจัดประชุมหรือถูกปัญหา
(Conference or Discussion)
การอบรมวิธีนี้ผู้เข้าอบรมส่วนมาก
ต้องมีพื้นฐานเกี่ยวกับเรื่องนั้นมาโดยตรงก่อน
7. การอบรมในห้องบรรยาย (Classroom
Training Method) มีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะให้
สามารถทำาการอบรมแก่ผู้เข้าอบรมเป็นกลุ่มใหญ่ ๆ
โดยอาศัยครูผู้สอนวิธีนี้มักจะเหมาะสมกับเรื่องที่จะ
ต้องทำาการอบรม
8. การจัดการเรียนแบบโปรแกรม
( ProgramInstruction)
เป็นวิธีการจัดเรื่องรางที่ต้องการให้เรียนรู้ในรูป
ของคู่มือหรือเรียกว่า โปรแกรมการเรียนให้ผู้เรียน
เรียนรู้ด้วนตนเอง โดยเรียนรู้เป็นขั้นตอนแต่ละขั้นมี
การประเมินผลด้วยตนเองได้
เทคนิคในการฝึกอบรมเทคนิคในการฝึกอบรม
เป็นกลวิธีที่ใช้ในการอบรมหรือเทคนิค
ในการอบรมอาจจะกระทำาได้หลายอย่างขึ้น
อยู่กับงานและผู้ดำาเนินการอบรม เทคนิคใน
การฝึกอบรมที่นิยมที่นิยมใช้กันแพร่หลาย
คือ
1. การบรรยาย (Lecture)
2. การประชุมอภิปราย (Conference)
3. การใช้กรณีศึกษา (Case Study)
4. การแสดงบทบาท (Role Playing)
5. การสาธิต (Demonstration)
การบรรยาย เป็นวิธีการเก่าแก่และสิ้น
เปลืองน้อย เป็นวิธีที่นิยมใช้ในห้องเรียนตาม
สถานศึกษาต่าง ๆ หรือในการประชุม การ
บรรยายเป็นติดต่อสื่อสารปากเปล่าระหว่างผู้
บรรยายกับผู้ฟัง
การประชุม ได้แก่การประชุมกลุ่มแลก
เปลี่ยนความคิดระหว่างสมาชิก โดยวิธีร่วม
แสดงความคิดเห็นปากเปล่า
การใช้กรณีศึกษา คือ การนำาเอากรณี
ปัญหาในเรื่องใดเรื่องหนึ่งพร้อมทั้งข้อมูล
ประกอบมาร่วมกันวิเคราะห์ถกเถียง และหา
ข้อสรุปในการแก้ปัญหา
การแสดงบทบาท โดยผู้ฝึกอบรมกำาหนด
ตัวละครและเนื้อเรื่องขึ้นมาให้สอดคล้องกับเรื่องที่
ฝึกอบรมและมอบให้ผู้เข้าการอบรมแสดงบทบาท
ตามเค้าโครงของเนื้อเรื่องที่กำาหนดวิธีการเช่นนี้
เป็นส่วนประกอบของการฝึกอบรมวิธีอื่น เช่น การ
บรรยายหรือการประชุมอภิปราย การแสดง
บทบาทจะช่วยลดความน่าเบื่อของการฝึกอบรมบาง
ประเภทลง และเป็นการฝึกฝนการแก้ปัญหาเฉพาะ
หน้าขณะแสดงบทบาท
การสาธิต การสาธิตแบ่งได้เป็น 2 วิธี
สาธิตแบบเป็นทางการ (Formal Demonstration)
คือมีโครงการที่จะสาธิตและเวลาที่กำาหนดขึ้นมา
เป็นงานเป็นการ ส่วนอีกวิธีหนึ่งคือการสาธิตแบบ
ไม่เป็นทางการ (Informal Demonstration) เช่น
หัวหน้างานเดินตรวจงานไปเจอตรวจงานไปเจอคน
การพัฒนาการจัดการ
(Management Development)
วิธีการฝึกอบรมที่ได้กล่าวมาในตอนต้นนั้นส่วน
ใหญ่เป็นวิธีการฝึกอบรมสำาหรับพนักงานในระดับ
ปฏิบัติ สำาหรับพนักงานในระดับผู้บริหารนั้นยังมีวิธี
การฝึกอบรมโดยเฉพาะอีกต่างหาก
วัตถุประสงค์ของการฝึกอบรมผู้บริหาร
1.เพื่อที่จะหาทางช่วยให้มีการเพิ่มประสิทธิภาพ
ในตัวของผู้บริหารทั่วไปและบริหารของกลุ่มอาชีพ
ต่างๆ
2.เพื่อที่จะช่วยสร้างความพอใจแก่พนักงาน
3.เพื่อที่จะให้ถูกต้องกับบรรทัดฐานของประเพณี
ปฏิบัติที่ต้องมีการดูแลและให้ความเจริญเติบโตแก่
พนักงานของตน
วิธีการฝึกอบรมผู้บริหาร ที่วิธีการฝึกอบรมผู้บริหาร ที่
สำาคัญมีอยู่สำาคัญมีอยู่ 22 วิธีวิธี
1.การให้มีประสบการณ์จาก
การปฏิบัติงาน
(On-the-job-Experience)
2.การฝึกอบรมอย่างเป็น
พิธีการ
(Formal Training Course)
การให้มีประสบการณ์จากการการให้มีประสบการณ์จากการ
ปฏิบัติงานปฏิบัติงาน
วิธีนี้เป็นการฝึกอบรมจากการให้วิธีนี้เป็นการฝึกอบรมจากการให้
ทำางานแยกเป็นทำางานแยกเป็น 44 วิธีก็คือวิธีก็คือ
1. การทดลองเรียนงาน (Understudies)
คือผู้ที่จะได้รับการฝึกอบรมจะถูกสมมติให้ได้รับตำาแหน่ง โดย
มีหน้าที่และความรับผิดชอบในตำาแหน่งทุกอย่าง สามารถทำาได้หลาย
วิธี เช่น หัวหน้าอาจเลือกลูกน้องคนหนึ่งให้เป็นผู้ทดลองงานโดยสอน
ให้รู้วิธีและปัญหาในการปฏิบัติงานประจำาวันหรือหัวหน้าอาจจะลาหยุด
งานชั่วคราวเพื่อพักผ่อนหรือไปตรวจงานหรือเจ็บป่วยแล้วเลือกผู้ใต้
บังคับบัญชามาปฏิบัติแทน อีกวิธีหนึ่งโดยการแต่งตั้งให้ลูกน้องคนใด
คนหนึ่งมาทำาหน้าที่ผู้ช่วยโดยมอบงานหลาย ๆ อย่างให้ผู้ช่วยทำา ซึ้ง
อาจมอบงานให้ทำาเป็นอย่าง ๆ ไป
2. การหมุนเวียนงาน (Job Rotation)
คือ การแต่งตั้งให้ดำารงตำาแหน่งงานโดย
หมุนเวียนเปลี่ยนกันไปให้ทุกคนมีโอกาสทำางานทุก
ตำาแหน่งชั่วระยะเวลาหนึ่ง โดยปกติระหว่าง 6
เดือนถึง 2 ปี ผู้ที่ควรจะได้รับการอบรมโดยวิธีนี้
ควรจะเป็นเจ้าหน้าที่ระดับสูงพอสมควร เช่น ระดับ
first-line ,supervisor ไม่ใช่ตำาแหน่งที่ตำาเกินไป
3. การสอนงาน (Coaching)
คือการให้ผู้บริหารที่มีความสามารถอยู่แล้วเป็น
ผู้ช่วยสอนให้ คอยกำากับดูแลอย่างใกล้ชิดทำาให้ดู
เป็นตัวอย่าง และอธิบายถึงเหตุผล
4. Multiple Management
วิธีนี้มีลักษณะคล้าย ๆ กับการจัดตั้งคณะ
กรรมการที่ปรึกษาของฝ่ายบริหารชั้นสูงของบริษัท
คือ ตั้งเป็นคณะที่ปรึกษาเพื่อคอยกลั่นกรองปัญหา
ต่าง ๆ ที่จะนำาเข้าสู่การพิจารณาตัดสินใจของฝ่าย
บริหารชั้นสูง
2.การฝึกอบรมที่จัดขึ้น
อย่างเป็นพิธีการ
(Formal Training Course)
วิธีนี้เป็นการพัฒนานอกหน้าที่การงาน
โดยจัดโปรแกรมการฝึกอบรมขึ้นโดยเฉพาะ
วัตถุประสงค์ของการฝึกอบรมก็เพื่อหวังจะ
ให้มีการพัฒนาหรือเพิ่มความสามารถหรือ
ความชำานาญให้มากยิ่งขึ้น เช่น ส่งเข้าร่วม
การฝึกอบรมที่หน่วยงานอื่นจัดขึ้น หรือ
องค์การนั้นจัดเอง การให้เข้าร่วมการวิจัย
เพื่อไปแลกเปลี่ยนความคิดเห็น หรือให้
โอกาสทางการศึกษาต่อ เป็นต้น

More Related Content

ๅๅๅ