ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
อุปกรณ์เชื่อมต่อ
คอมพิวเตอร์
เสนอ
มิสเขมจิรา ปลงไสว
สแกนเนอร์ (Scanner)
 สแกนเนอร์ คืออุปกรณ์จับภาพและเปลี่ยนแปลงภาพ จากรูปแบบของแอนาลอกเป็นดิจิตอล ซึ่งคอมพิวเตอร์ สามารถแสดง,
เรียบเรียง, เก็บรักษาและผลิตออกมาได้ ภาพนั้นอาจจะเป็นรูปถ่าย, ข้อความ, ภาพวาด หรือแม้แต่วัตถุสามมิติ
สแกนเนอร์แบ่งป็น 3 ประเภทหลัก ๆ คือ
1. สแกนเนอร์ดึงกระดาษ (Sheet - Fed Scanner)
2. สแกนเนอร์แท่นเรียบ (Flatbed Scanner)
3. สแกนเนอร์มือถือ (Hand - Held Scanner)
สแกนเนอร์ดึงกระดาษ (Sheet - Fed Scanner)
สแกนเนอร์แบบนี้จะรับกระดาษแล้วค่อย ๆ เลื่อนหน้ากระดาษแผ่นนั้นให้ผ่านหัวสแกน ซึ่งอยู่กับที่ข้อจากัดของสแกนเนอร์
แบบเลื่อนกระดาษ คือสามารถอ่านภาพที่เป็นแผ่นกระดาษได้เท่านั้น ไม่สามารถ อ่านภาพจากสมุดหรือหนังสือได้
สแกนเนอร์แท่นเรียบ (Flatbed Scanner)
สแกนเนอร์แบบนี้จะมีกลไกคล้าย ๆ กับเครื่องถ่ายเอกสาร เราแค่วางหนังสือหรือภาพไว้ บนแผ่นกระจกใส และเมื่อทาการ
สแกน หัวสแกนก็จะเคลื่อนที่จากปลายด้านหนึ่งไปยังอีกด้านหนึ่ง ข้อจากัดของสแกนเนอร์ แบบแท่นนอนคือแม้ว่าอ่านภาพ
จากหนังสือได้ แต่กลไกภายในต้องใช้ การสะท้อนแสงผ่านกระจกหลายแผ่น ทาให้ภาพมีคุณภาพไม่ดีเมื่อเทียบกับแบบแรก
สแกนเนอร์มือถือ (Hand - Held Scanner)
สแกนเนอร์แบบนี้ผู้ใช้ต้องเลื่อนหัวสแกนเนอร์ไป บนหนังสือหรือรูปภาพเอง สแกนเนอร์ แบบมือถือได้รวม เอาข้อดีของ
สแกนเนอร์ ทั้งสองแบบเข้าไว้ด้วยกันและมีราคาถูก เพราะกลไกที่ใช้ไม่ สลับซับซ้อน แต่ก็มีข้อจากัด ตรงที่ว่าภาพที่ได้จะมี
คุณภาพแค่ไหน ขึ้นอยู่กับความสม่าเสมอ ในการเลื่อนหัวสแกนเนอร์ของผู้ใช้งาน นอกจากนี้หัวสแกนเนอร์แบบนี้ยังมีหัวสแกน
ที่มีขนาดสั้น ทาให้ อ่านภาพบนหน้าหนังสือขนาดใหญ่ได้ไม่ครบ 1 หน้า ทาให้ต้องอ่านหลายครั้งกว่าจะครบหนึ่งหน้า ซึ่ง
ปัจจุบันมีซอฟต์แวร์หลายตัว ที่ใช้กับสแกนเนอร์ แบบมือถือ ซึ่งสามารถต่อภาพที่เกิดจากการสแกนหลายครั้งเข้าต่อกัน
สแกนเนอร์ (Scanner)
จอภาพสัมผัส ( Touch screen )
 จอภาพแบบสัมผัสเป็นอุปกรณ์ที่สามารถทางานได้ทั้งการรับและการแสดงผล
ข้อมูล เป็นจอภาพเครือบด้วยสารพิเศษที่ให้ผู้ใช้สามารถใช้นิ้วสัมผัสบนจอภาพ
เพื่อป้อนข้อมูลเข้าสู่ระบบได้ทันที แทนที่จะใช้การพิมพ์ทางแป้นพิมพ์ หรือสั่งงาน
ด้วยการคลิกเมาส์เพื่อลดขนาดพื้นที่การใช้งาน
การใช้งานระบบภาพสัมผัส ผู้ใช้จะต้องสัมผัสจอภาพที่อาจเป็นข้อความตัวเลข
รูปภาพ หรือสัญลักษณ์บอกตาแหน่ง จากนั้นโปรแกรมจะทาหน้าที่แปลงเป็น
สัญญาณเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ จอภาพสัมผัสนี้ไม่นิยมใช้กับงานที่ต้องป้อน
ข้อมูลจานวนมากเข้าสู่ระบบ ส่วนใหญ่นิยมใช้กับงานเฉพาะอย่างที่ให้ผู้ใช้เลือก
จากรายการที่กาหนดไว้ เช่น ตู้ ATM การให้ข้อมูลแหล่งท่องเที่ยว ที่พัก ตู้เกม
ตามศูนย์การค้า การตรวจสอบผลการเรียนตามมหาวิทยาลัยต่างๆ รวมทั้งนิยมใช้
ในการทาสื่อนาเสนอกิจกรรมต่างๆ ที่เรียกว่า Information Kiosk เป็นต้
จอภาพสัมผัส ( Touch screen )
ไมโครโฟน (Microphone)
ไมโครโฟน (Microphone) หรือ เรียกกันแบบย่อว่า ไมค์ (Mic.) คือ อุปกรณ์ แปลงพลังคลื่นเสียง ให้
กลายเป็นคลื่นสัญญาณไฟฟ้า โดยมีจุดกาเนิดจากการคิดวิธีส่งสัญญาณโทรศัพท์
ไมโครโฟนได้ถูกนามาใช้ประโยชน์ต่างๆมากมาย ทั้งด้านการสื่อสาร, การบันทึกเสียง, ระบบคาราโอ
เกะ, เครื่องช่วยฟัง, อุตสาหกรรมภาพยนต์, การแสดงสดและการบันทึกเสียง หรืองานของวิศวกรด้านเสียง
(Audio Engineering), โทรโข่ง, งานกระจายเสียงและแพร่ภาพทางวิทยุและโทรทัศน์ , งานมัลติมีเดีย
บน คอมพิวเตอร์, การรับคาสั่งเสียงในอุปกรณ์ IT, การส่งสัญญาณเสียงบนสื่ออินเทอร์เน็ต (VoIP) หรือ
งานเสียงที่อยู่นอกเหนือการได้ยิน เช่น การตรวจสอบด้วยอุลตร้าซาวด์ หรือ การตรวจจับการสั่นสะเทือน
ไมโครโฟนมีการออกแบบหลากหลายตามการใช้งาน โดยส่วนใหญ่ที่ใช้งานในปัจจุบัน จะเป็นแบบ
ทางานด้วยการเหนี่ยวนาของคลื่นแม่เหล้กไฟฟ้า หรือไดนามิค ไมโครโฟน (Dynamic
microphone)แบบการเปลี่ยนแปลงค่าประจุไฟฟ้า หรือ คอนเดนเซอร์ ไมโครโฟน (Condenser
microphone) นอกจากนั้นยังมีแบบ Piezoelectric generation หรือ light modulation
โดยทุกแบบล้วนมีจุดประสงค์เพื่อสร้างสัญญาณเสียง ตามการเปลี่ยนแปลงแรงดันไฟฟ้า (electrical
voltage signal) จากการสั่นสะเทือนเชิงกล (Machanical vibration) ซึ่งมาจากพลังเสียงที่ไมค์
ได้รับเข้าไปนั่นเอง
ไมโครโฟน (Microphone)
ชนิดของไมโครโฟน
ไมโครโฟนแบ่งตามชนิดของการใช้วัสดุอุปกรณ์นามาสร้างได้ 5 ชนิด คือ
1. ไมค์ไดนามิค ( Dynamic Microphon )มีโครงสร้างประกอบด้วย ดังนี้
แม่เหล็กถาวร ( magnet )
ไดอะแฟรม ( Diaphragm )
ขดลวด ( Coil )
หลักการทางาน ดังนี้ คือ เมื่อเสียงมากระทบที่แผ่นไดอะแฟรมบางๆ
จะเกิดการสั่นขึ้นผลจากการสั่นเพียงเล็กน้อยทาให้ขดลวดเขย่า เกิด
การเคลื่อนที่ผ่านสนามแม่เหล็กทาให้ขดลวดเกิดกระแสไฟฟ้า ( Current )
ขึ้นตามผลการสันของไดอะแฟรม แตสัญญาณที่ได้จากไมโครโฟนเป็น
ขนาดความแรงเพียงเล็กน้อยเท่านั้น จึงต้องมีการขยายขึ้นเป็นพิเศษที่
เครื่องขยายเสียง โดยวงจรขยายสัญญาณไมโครโฟนเท่านั้น เรียกว่า
ปรีไมโครโฟน ( Pre Microphone ) ไมโครโฟนชนิดนี้ มีอิมพิแดนซ์
600 โอห์มมีความไวในทิศทางด้านหน้าและในรัศมีสั้นๆ ประมาณ 4
เซนติเมตร จนบางทีเรียกว่าไมค์ร้อง เหมาะสาหรับการแสดงการขับร้อง
ไมโครโฟน (Microphone)
2. ไมค์คอนเดนเซอร์ ( Condensor Microphone )
มีโครสร้างประกอบด้วย ดังนี้
แบตเตอรี่ ( Battery )
ไดอะแฟรม ( Diaphragm )
Back plate
วงจรขยายสัญญาณ ( Amplifier )
คอนเดนเซอร์ไมโครโฟนนี้ต้องมีไฟฟ้า DC เลี้ยงจึงจะทางาน แรงดันตั้งแต่ 1.5 ถึง 48 โวลท์ ไมค์
คอนเดนเซอร์ใช้หลักการค่าความจุของคาปาซิเตอร์เปลี่ยนแปลงโดยเมื่อมีเสียงปะทะที่ไดอะแฟรม
จึงจะทาให้เกิดการสั่นไหว ทาให้มีการขยับตัวของระยะห่างชองแผ่นเพลทที่เป็นไดอะแฟรมกับแผ่น
เพลทแผ่นหลัง ( Back Plate ) ทาให้ค่าความจุมีการเปลี่ยนแปลงตามแรงปะทะจากคลื่นเสียง
ทาให้เกิดสัญญาณไฟฟ้าของเสียงนั้นส่งมาที Amplifier ทาการขยายสัญญาณเสียงเป็น
กระแสไฟฟ้าที่แรงส่งออกไปตามสายนาสัญญาณ ดังนั้น ไมโครโฟนชนิดนี้จึงมีความไวมาก มีอิมพิ
แดนซ์ต่ามาก เมื่อยังไม่มีการออกแบบพิเศษ ความถี่ตอบสนองได้ดีที่ความถี่ปานกลางขึ้นไป และทิศ
ทางการรับ รอบทิศทาง
ไมโครโฟน (Microphone)
3. ไมค์คริสตอล ( Crystal microphone )
มีโครงสร้างประกอบด้วย ดังนี้
Diaphragm รับเสียง
แร่ Crystal กาเนิดไฟฟ้า
แผ่น Back plate รองรับปรกบด้านหลัง
สายต่อนากระแสไฟฟ้าสัญญาณเสียง
ไมโครโฟนชนิดนี้มีแร่คริสตอลเป็นตัวกาเนิดกระแสไฟฟ้า
โดยจะรับแรงสั่นจากคลื่นอากาศของเสียงทางไดอะแฟรม
ไฟฟ้าที่ได้แรงดันสูงกว่า ไมโครโฟนชนิดอื่นๆ จึงมีค่า
อิมพิแดนซ์สูงถึง 10 กิโลโอห์ม เป็นชนิดที่นิยมใช้กับ
เครื่องขยายเสียง รุ่นหลอด เมื่อยังไม่มีการออกแบบพิเศษ
ความตอบสนองได้ดีที่ความถี่เสียงกลาง ปัจจุบันไม่ปรากฎ
เห็น ในการใช้งานทั่วไป
ไมโครโฟน (Microphone)
4. ไมค์คาร์บอน ( Carbon Microphone )
ไมค์คาร์บอน เป็นไมโครโฟนสมัยแรกแห่งวงการเครื่องเสียง อาศัยหลักการความต้านทานของคาร์บอนเปลี่ยนค่าได้ คือ
เมื่อคาร์บอนมีความหนาแน่นมากจะมีความต้านทานน้อย ทาให้กระแสไหลมาก และถ้าความหนาแน่นน้อย จะเกิดความ
ต้านทานมาก ทาให้กระแสไหลน้อย เมื่อนามายึดติดกับไดอะแฟรม จะทาให้เกิดการสั่นไหวเมื่อมีคลื่นอากาศเสียง ทาให้
ความต้านทานเปลี่ยนแปลงเล็กน้อยตามคลื่นเสียง ถ้ามีการป้อนกระแสไฟฟ้าเข้าไป จะทาให้ได้สัญญาณเสียงออกมา เป็น
กระแสไฟฟ้าเปลี่ยนแปลงตามความต้านทาน คุณภาพเสียงที่ได้จะอยู่ในช่วงความถี่ต่า ปัจจุบันไม่พบเห็นในการใช้งาน
5. ไมค์เซอร์รามิค ( Ceramic Microphone )
ปัจจุบันไม่พบเห็นใช้งานแล้ว มีลักษณะเหมือนกับคาร์บอนแต่วัสดุที่ใช้ต่างกัน คือ โครงสร้างประกอบด้วย ดังนี้
Diaphragm รับเสียง
Ceramic กาเนิดไฟฟ้า
แผ่น Back plate รองรับประกบด้านหลัง
สายต่อนากระแสไฟฟ้าสัญญาณเสียง
จัดทำโดย
นำยวรินทร มิ่งขวัญ

More Related Content

อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิว๶ตอร์

  • 3. สแกนเนอร์ (Scanner)  สแกนเนอร์ คืออุปกรณ์จับภาพและเปลี่ยนแปลงภาพ จากรูปแบบของแอนาลอกเป็นดิจิตอล ซึ่งคอมพิวเตอร์ สามารถแสดง, เรียบเรียง, เก็บรักษาและผลิตออกมาได้ ภาพนั้นอาจจะเป็นรูปถ่าย, ข้อความ, ภาพวาด หรือแม้แต่วัตถุสามมิติ สแกนเนอร์แบ่งป็น 3 ประเภทหลัก ๆ คือ 1. สแกนเนอร์ดึงกระดาษ (Sheet - Fed Scanner) 2. สแกนเนอร์แท่นเรียบ (Flatbed Scanner) 3. สแกนเนอร์มือถือ (Hand - Held Scanner) สแกนเนอร์ดึงกระดาษ (Sheet - Fed Scanner) สแกนเนอร์แบบนี้จะรับกระดาษแล้วค่อย ๆ เลื่อนหน้ากระดาษแผ่นนั้นให้ผ่านหัวสแกน ซึ่งอยู่กับที่ข้อจากัดของสแกนเนอร์ แบบเลื่อนกระดาษ คือสามารถอ่านภาพที่เป็นแผ่นกระดาษได้เท่านั้น ไม่สามารถ อ่านภาพจากสมุดหรือหนังสือได้ สแกนเนอร์แท่นเรียบ (Flatbed Scanner) สแกนเนอร์แบบนี้จะมีกลไกคล้าย ๆ กับเครื่องถ่ายเอกสาร เราแค่วางหนังสือหรือภาพไว้ บนแผ่นกระจกใส และเมื่อทาการ สแกน หัวสแกนก็จะเคลื่อนที่จากปลายด้านหนึ่งไปยังอีกด้านหนึ่ง ข้อจากัดของสแกนเนอร์ แบบแท่นนอนคือแม้ว่าอ่านภาพ จากหนังสือได้ แต่กลไกภายในต้องใช้ การสะท้อนแสงผ่านกระจกหลายแผ่น ทาให้ภาพมีคุณภาพไม่ดีเมื่อเทียบกับแบบแรก สแกนเนอร์มือถือ (Hand - Held Scanner) สแกนเนอร์แบบนี้ผู้ใช้ต้องเลื่อนหัวสแกนเนอร์ไป บนหนังสือหรือรูปภาพเอง สแกนเนอร์ แบบมือถือได้รวม เอาข้อดีของ สแกนเนอร์ ทั้งสองแบบเข้าไว้ด้วยกันและมีราคาถูก เพราะกลไกที่ใช้ไม่ สลับซับซ้อน แต่ก็มีข้อจากัด ตรงที่ว่าภาพที่ได้จะมี คุณภาพแค่ไหน ขึ้นอยู่กับความสม่าเสมอ ในการเลื่อนหัวสแกนเนอร์ของผู้ใช้งาน นอกจากนี้หัวสแกนเนอร์แบบนี้ยังมีหัวสแกน ที่มีขนาดสั้น ทาให้ อ่านภาพบนหน้าหนังสือขนาดใหญ่ได้ไม่ครบ 1 หน้า ทาให้ต้องอ่านหลายครั้งกว่าจะครบหนึ่งหน้า ซึ่ง ปัจจุบันมีซอฟต์แวร์หลายตัว ที่ใช้กับสแกนเนอร์ แบบมือถือ ซึ่งสามารถต่อภาพที่เกิดจากการสแกนหลายครั้งเข้าต่อกัน
  • 5. จอภาพสัมผัส ( Touch screen )  จอภาพแบบสัมผัสเป็นอุปกรณ์ที่สามารถทางานได้ทั้งการรับและการแสดงผล ข้อมูล เป็นจอภาพเครือบด้วยสารพิเศษที่ให้ผู้ใช้สามารถใช้นิ้วสัมผัสบนจอภาพ เพื่อป้อนข้อมูลเข้าสู่ระบบได้ทันที แทนที่จะใช้การพิมพ์ทางแป้นพิมพ์ หรือสั่งงาน ด้วยการคลิกเมาส์เพื่อลดขนาดพื้นที่การใช้งาน การใช้งานระบบภาพสัมผัส ผู้ใช้จะต้องสัมผัสจอภาพที่อาจเป็นข้อความตัวเลข รูปภาพ หรือสัญลักษณ์บอกตาแหน่ง จากนั้นโปรแกรมจะทาหน้าที่แปลงเป็น สัญญาณเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ จอภาพสัมผัสนี้ไม่นิยมใช้กับงานที่ต้องป้อน ข้อมูลจานวนมากเข้าสู่ระบบ ส่วนใหญ่นิยมใช้กับงานเฉพาะอย่างที่ให้ผู้ใช้เลือก จากรายการที่กาหนดไว้ เช่น ตู้ ATM การให้ข้อมูลแหล่งท่องเที่ยว ที่พัก ตู้เกม ตามศูนย์การค้า การตรวจสอบผลการเรียนตามมหาวิทยาลัยต่างๆ รวมทั้งนิยมใช้ ในการทาสื่อนาเสนอกิจกรรมต่างๆ ที่เรียกว่า Information Kiosk เป็นต้
  • 7. ไมโครโฟน (Microphone) ไมโครโฟน (Microphone) หรือ เรียกกันแบบย่อว่า ไมค์ (Mic.) คือ อุปกรณ์ แปลงพลังคลื่นเสียง ให้ กลายเป็นคลื่นสัญญาณไฟฟ้า โดยมีจุดกาเนิดจากการคิดวิธีส่งสัญญาณโทรศัพท์ ไมโครโฟนได้ถูกนามาใช้ประโยชน์ต่างๆมากมาย ทั้งด้านการสื่อสาร, การบันทึกเสียง, ระบบคาราโอ เกะ, เครื่องช่วยฟัง, อุตสาหกรรมภาพยนต์, การแสดงสดและการบันทึกเสียง หรืองานของวิศวกรด้านเสียง (Audio Engineering), โทรโข่ง, งานกระจายเสียงและแพร่ภาพทางวิทยุและโทรทัศน์ , งานมัลติมีเดีย บน คอมพิวเตอร์, การรับคาสั่งเสียงในอุปกรณ์ IT, การส่งสัญญาณเสียงบนสื่ออินเทอร์เน็ต (VoIP) หรือ งานเสียงที่อยู่นอกเหนือการได้ยิน เช่น การตรวจสอบด้วยอุลตร้าซาวด์ หรือ การตรวจจับการสั่นสะเทือน ไมโครโฟนมีการออกแบบหลากหลายตามการใช้งาน โดยส่วนใหญ่ที่ใช้งานในปัจจุบัน จะเป็นแบบ ทางานด้วยการเหนี่ยวนาของคลื่นแม่เหล้กไฟฟ้า หรือไดนามิค ไมโครโฟน (Dynamic microphone)แบบการเปลี่ยนแปลงค่าประจุไฟฟ้า หรือ คอนเดนเซอร์ ไมโครโฟน (Condenser microphone) นอกจากนั้นยังมีแบบ Piezoelectric generation หรือ light modulation โดยทุกแบบล้วนมีจุดประสงค์เพื่อสร้างสัญญาณเสียง ตามการเปลี่ยนแปลงแรงดันไฟฟ้า (electrical voltage signal) จากการสั่นสะเทือนเชิงกล (Machanical vibration) ซึ่งมาจากพลังเสียงที่ไมค์ ได้รับเข้าไปนั่นเอง
  • 8. ไมโครโฟน (Microphone) ชนิดของไมโครโฟน ไมโครโฟนแบ่งตามชนิดของการใช้วัสดุอุปกรณ์นามาสร้างได้ 5 ชนิด คือ 1. ไมค์ไดนามิค ( Dynamic Microphon )มีโครงสร้างประกอบด้วย ดังนี้ แม่เหล็กถาวร ( magnet ) ไดอะแฟรม ( Diaphragm ) ขดลวด ( Coil ) หลักการทางาน ดังนี้ คือ เมื่อเสียงมากระทบที่แผ่นไดอะแฟรมบางๆ จะเกิดการสั่นขึ้นผลจากการสั่นเพียงเล็กน้อยทาให้ขดลวดเขย่า เกิด การเคลื่อนที่ผ่านสนามแม่เหล็กทาให้ขดลวดเกิดกระแสไฟฟ้า ( Current ) ขึ้นตามผลการสันของไดอะแฟรม แตสัญญาณที่ได้จากไมโครโฟนเป็น ขนาดความแรงเพียงเล็กน้อยเท่านั้น จึงต้องมีการขยายขึ้นเป็นพิเศษที่ เครื่องขยายเสียง โดยวงจรขยายสัญญาณไมโครโฟนเท่านั้น เรียกว่า ปรีไมโครโฟน ( Pre Microphone ) ไมโครโฟนชนิดนี้ มีอิมพิแดนซ์ 600 โอห์มมีความไวในทิศทางด้านหน้าและในรัศมีสั้นๆ ประมาณ 4 เซนติเมตร จนบางทีเรียกว่าไมค์ร้อง เหมาะสาหรับการแสดงการขับร้อง
  • 9. ไมโครโฟน (Microphone) 2. ไมค์คอนเดนเซอร์ ( Condensor Microphone ) มีโครสร้างประกอบด้วย ดังนี้ แบตเตอรี่ ( Battery ) ไดอะแฟรม ( Diaphragm ) Back plate วงจรขยายสัญญาณ ( Amplifier ) คอนเดนเซอร์ไมโครโฟนนี้ต้องมีไฟฟ้า DC เลี้ยงจึงจะทางาน แรงดันตั้งแต่ 1.5 ถึง 48 โวลท์ ไมค์ คอนเดนเซอร์ใช้หลักการค่าความจุของคาปาซิเตอร์เปลี่ยนแปลงโดยเมื่อมีเสียงปะทะที่ไดอะแฟรม จึงจะทาให้เกิดการสั่นไหว ทาให้มีการขยับตัวของระยะห่างชองแผ่นเพลทที่เป็นไดอะแฟรมกับแผ่น เพลทแผ่นหลัง ( Back Plate ) ทาให้ค่าความจุมีการเปลี่ยนแปลงตามแรงปะทะจากคลื่นเสียง ทาให้เกิดสัญญาณไฟฟ้าของเสียงนั้นส่งมาที Amplifier ทาการขยายสัญญาณเสียงเป็น กระแสไฟฟ้าที่แรงส่งออกไปตามสายนาสัญญาณ ดังนั้น ไมโครโฟนชนิดนี้จึงมีความไวมาก มีอิมพิ แดนซ์ต่ามาก เมื่อยังไม่มีการออกแบบพิเศษ ความถี่ตอบสนองได้ดีที่ความถี่ปานกลางขึ้นไป และทิศ ทางการรับ รอบทิศทาง
  • 10. ไมโครโฟน (Microphone) 3. ไมค์คริสตอล ( Crystal microphone ) มีโครงสร้างประกอบด้วย ดังนี้ Diaphragm รับเสียง แร่ Crystal กาเนิดไฟฟ้า แผ่น Back plate รองรับปรกบด้านหลัง สายต่อนากระแสไฟฟ้าสัญญาณเสียง ไมโครโฟนชนิดนี้มีแร่คริสตอลเป็นตัวกาเนิดกระแสไฟฟ้า โดยจะรับแรงสั่นจากคลื่นอากาศของเสียงทางไดอะแฟรม ไฟฟ้าที่ได้แรงดันสูงกว่า ไมโครโฟนชนิดอื่นๆ จึงมีค่า อิมพิแดนซ์สูงถึง 10 กิโลโอห์ม เป็นชนิดที่นิยมใช้กับ เครื่องขยายเสียง รุ่นหลอด เมื่อยังไม่มีการออกแบบพิเศษ ความตอบสนองได้ดีที่ความถี่เสียงกลาง ปัจจุบันไม่ปรากฎ เห็น ในการใช้งานทั่วไป
  • 11. ไมโครโฟน (Microphone) 4. ไมค์คาร์บอน ( Carbon Microphone ) ไมค์คาร์บอน เป็นไมโครโฟนสมัยแรกแห่งวงการเครื่องเสียง อาศัยหลักการความต้านทานของคาร์บอนเปลี่ยนค่าได้ คือ เมื่อคาร์บอนมีความหนาแน่นมากจะมีความต้านทานน้อย ทาให้กระแสไหลมาก และถ้าความหนาแน่นน้อย จะเกิดความ ต้านทานมาก ทาให้กระแสไหลน้อย เมื่อนามายึดติดกับไดอะแฟรม จะทาให้เกิดการสั่นไหวเมื่อมีคลื่นอากาศเสียง ทาให้ ความต้านทานเปลี่ยนแปลงเล็กน้อยตามคลื่นเสียง ถ้ามีการป้อนกระแสไฟฟ้าเข้าไป จะทาให้ได้สัญญาณเสียงออกมา เป็น กระแสไฟฟ้าเปลี่ยนแปลงตามความต้านทาน คุณภาพเสียงที่ได้จะอยู่ในช่วงความถี่ต่า ปัจจุบันไม่พบเห็นในการใช้งาน 5. ไมค์เซอร์รามิค ( Ceramic Microphone ) ปัจจุบันไม่พบเห็นใช้งานแล้ว มีลักษณะเหมือนกับคาร์บอนแต่วัสดุที่ใช้ต่างกัน คือ โครงสร้างประกอบด้วย ดังนี้ Diaphragm รับเสียง Ceramic กาเนิดไฟฟ้า แผ่น Back plate รองรับประกบด้านหลัง สายต่อนากระแสไฟฟ้าสัญญาณเสียง