ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
คุณภาพน้าหมักชีวภาพ และองค์ประกอบ
Bio-Fermented Juice Quality and Components
ชวนพิศ อรุณรังสิกุล1 ชัยณรงค์ รัตนกรีฑากุล2 รุ่งนภา ก่อประดิษฐ์สกุล2 ธีรนุต ร่มโพธิ์ภักดิ์3
Chuanpis Aroonrungsikul1 Chainarong Rattanakritakul2 Roongnapa
Korpraditskul2 Teeranud Romphopak3
บทคัดย่อ
องค์ประกอบทางกายภาพ เคมี และชีวเคมี ในน้าหมักชีวภาพโดยใช้เศษวัสดุ 3 ชนิด คือ หัวปลานิล พุง
และเกล็ดปลานิล และเศษผักผลไม้หลายชนิด เปรียบเทียบการหมักด้วยการเติมหัวเชื้อสับปะรด และหัวเชื้อจาก
แบคทีเรีย 2 ชนิด คือ Lactobacillus plantarum และ L. caseii ในปริมาณเท่าๆ กัน
พบว่าองค์ประกอบต่างๆระหว่างการหมักที่ระยะเวลา 30 45 60 และ 90 วัน มีความแปรปรวน
คุณสมบัติทางกายภาพ ได้แก่ สีของน้าหมักส่วนใหญ่เป็นสีน้าตาลเข้มจนถึงสีดา มีค่า pH และค่า EC
ที่สูงขึ้น คุณสมบัติทางเคมีนั้นพบว่า ธาตุอาหารหลัก (N, P และ K) และธาตุอาหารรองของพืช (Ca,
Mg, Na, Fe, Mn, Zn และ Cu) มีน้อยมาก องค์ประกอบของกรดลดลง องค์ประกอบทางชีวเคมี
เช่น มีน้าตาลหลายชนิดปริมาณลดลงจนถึงระดับคงที่ ซึ่งน่าจะเป็นดัชนีชี้บอกจุดสิ้นสุดกระบวนการหมัก
และสารคล้ายฮอร์โมน GA3 เพิ่มขึ้นเมื่อระยะเวลาการหมักเพิ่มขึ้น

More Related Content

บทคัดย่อ ตย

  • 1. คุณภาพน้าหมักชีวภาพ และองค์ประกอบ Bio-Fermented Juice Quality and Components ชวนพิศ อรุณรังสิกุล1 ชัยณรงค์ รัตนกรีฑากุล2 รุ่งนภา ก่อประดิษฐ์สกุล2 ธีรนุต ร่มโพธิ์ภักดิ์3 Chuanpis Aroonrungsikul1 Chainarong Rattanakritakul2 Roongnapa Korpraditskul2 Teeranud Romphopak3 บทคัดย่อ องค์ประกอบทางกายภาพ เคมี และชีวเคมี ในน้าหมักชีวภาพโดยใช้เศษวัสดุ 3 ชนิด คือ หัวปลานิล พุง และเกล็ดปลานิล และเศษผักผลไม้หลายชนิด เปรียบเทียบการหมักด้วยการเติมหัวเชื้อสับปะรด และหัวเชื้อจาก แบคทีเรีย 2 ชนิด คือ Lactobacillus plantarum และ L. caseii ในปริมาณเท่าๆ กัน พบว่าองค์ประกอบต่างๆระหว่างการหมักที่ระยะเวลา 30 45 60 และ 90 วัน มีความแปรปรวน คุณสมบัติทางกายภาพ ได้แก่ สีของน้าหมักส่วนใหญ่เป็นสีน้าตาลเข้มจนถึงสีดา มีค่า pH และค่า EC ที่สูงขึ้น คุณสมบัติทางเคมีนั้นพบว่า ธาตุอาหารหลัก (N, P และ K) และธาตุอาหารรองของพืช (Ca, Mg, Na, Fe, Mn, Zn และ Cu) มีน้อยมาก องค์ประกอบของกรดลดลง องค์ประกอบทางชีวเคมี เช่น มีน้าตาลหลายชนิดปริมาณลดลงจนถึงระดับคงที่ ซึ่งน่าจะเป็นดัชนีชี้บอกจุดสิ้นสุดกระบวนการหมัก และสารคล้ายฮอร์โมน GA3 เพิ่มขึ้นเมื่อระยะเวลาการหมักเพิ่มขึ้น