ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
วิธีสอȨิทยาศาสตร์
รวบรวมโดยครูนิรุต ฉิมเพชร รร.พนมดงรักวิทยา อ้างอิงจากงานวิจัยต่างๆๆครับ
วิธีสอȨิทยาศาสตร์
ภพ เลาหไพบูลย์ (2542: 123) กล่าวว่าวิธีสอนหรือกิจกรรมในการจัดการเรียนการสอน
วิทยาศาสตร์ที่นิยมใช้มีหลายวิธี แต่ไม่มีข้อมูลยืนยันว่ามีวิธีสอนหรือกิจกรรมใดที่ดีที่สุด เหมาะสมกับทุก
สถานการณ์ ดังนั้นครูวิทยาศาสตร์จึงต้องใช้ดุลยพินิจในการเลือกใช้วิธีสอนที่เหมาะสมกับความสามารถของ
นักเรียน เนื้อหาวิชา ตลอดจนอุปกรณ์การสอนที่มีอยู่ วิธีสอȨิทยาศาสตร์ที่ได้รับการยอมรับว่ามีความ
เหมาะสมกับธรรมชาติของวิชามีดังนี้
3.1 การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry method) เป็นการสอนที่เน้นกระบวนการแสวงหา
ความรู้ที่จะช่วยให้นักเรียนได้ค้นพบความจริงต่าง ๆ ด้วยตนเอง ให้นักเรียนมีประสบการณ์ตรงในการเรียนรู้
เนื้อหาวิชา ได้กล่าวถึงกระบวนการในการสืบเสาะหาความรู้ว่าแบ่งออกเป็น 5 ขั้นตอน ดังนี้
3.1.1 สร้างสถานการณ์หรือปัญหา
3.1.2 ตั้งสมมติฐาน
3.1.3 ออกแบบการทดลอง
3.1.4 ทดสอบสมมติฐานโดยการทดลอง
3.1.5 ได้ข้อสรุปหรือกฎเกณฑ์ต่าง ๆ
บทบาทหน้าที่ของครูในการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ คือเป็นผู้สร้างสถานการณ์ที่เปิดโอกาส
ให้นักเรียนได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ด้วยตัวนักเรียนเอง เป็นผู้จัดหาวัสดุ อุปกรณ์เพื่ออานวยความ
สะดวกในการศึกษาค้นคว้า เป็นผู้ถามคาถามต่าง ๆ ที่จะช่วยนาทางให้นักเรียนค้นหาความรู้ต่าง ๆ
เทคนิคการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ว่ามี 3 แนวทาง คือ แนวทางการใช้เหตุผล แนวทางการ
ใช้การค้นพบ และแนวทางการใช้การทดลองการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้โดยใช้แนวทางการใช้เหตุผล ครู
ต้องชี้นานักเรียนให้สรุปเป็นหลักการทั่วไปได้โดยการใช้เหตุผล ซึ่งครูต้องใช้คาถามที่เหมาะสม และต้องเลือก
แรงจูงใจที่เหมาะสมการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้โดยใช้แนวทางการใช้การค้นพบ มี 2 แนวทาง คือ
1) การสอนโดยใช้แนวทางการค้นพบที่ไม่แนะแนวทาง ครูเป็นผู้จัดหาวัสดุอุปกรณ์ให้นักเรียน
แล้วให้นักเรียนได้จัดกระทากับวัสดุอุปกรณ์ โดยไม่ต้องแนะแนวทางอะไรในการใช้วัสดุอุปกรณ์นักเรียนอาจสืบ
เสาะหาความรู้ในปัญหาที่ต่างกัน ครูทาหน้าที่เป็นที่ปรึกษาและเสนอแนะให้นักเรียนคิด
2) การสอนโดยใช้แนวทางการค้นพบที่แนะแนวทาง เป็นการสอนที่ครูแนะแนวทางการสืบ
เสาะหาความรู้ให้นักเรียน เพื่อให้นักเรียนค้นพบปัญหาที่คล้ายคลึงกัน มีประสบการณ์ที่เหมือนกันการสอน
แบบสืบเสาะหาความรู้โดยใช้แนวทางการทดลอง เป็นการสอนโดยใช้การทดลองในการพิสูจน์ข้อความหรือ
สมมติฐานว่าเป็นจริง และหาแนวทางที่จะใช้ในการทดลองเพื่อทดสอบข้อความนั้นโดยมีขั้นตอนคือ เลือกและ
ตั้งปัญหา ตั้งสมมติฐาน และวางแผนการทดสอบ
3.2 การสอนแบบค้นพบ (Discovery method)
การค้นพบ และการสืบเสาะหาความรู้ ว่านักการศึกษาจานวนมากใช้คาสองคานี้ใน
ความหมายเดียวกัน คาริน และซันด์ ได้ให้ความหมายของการค้นพบว่า การค้นพบจะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อบุคคลได้
ใช้กระบวนการคิดอย่างมากกระบวนการที่ใช้ความรู้ความคิดในการค้นพบ เช่น การสังเกต การจาแนก
ประเภท การวัด การพยากรณ์การอธิบาย การลงความคิดเห็น เป็นต้น ในการสอนแบบค้นพบเป็นการสอนที่
เน้นกระบวนการตอบสนองของนักเรียนต่อสถานการณ์ต่างๆ ด้วยตนเอง บทบาทของครูเป็นผู้ช่วยเหลือ และ
เป็นที่ปรึกษาของนักเรียน ทักษะและความชานาญในการจัดกิจกรรมการสอนของครูเป็นสิ่งที่ช่วยให้การสอน
แบบค้นพบประสบความสาเร็จ
3.3 การสอนแบบสาธิต (Demonstration)
การสาธิตว่าเป็นการจัดแสดงประสบการณ์การกระทาอย่างใดอย่างหนึ่งหน้าชั้น โดยครู
นักเรียนคนใดคนหนึ่งหรือกลุ่มนักเรียนก็ได้ เป็นการทดลองซึ่งให้ผลการทดลองที่ไม่ทราบมาก่อนหรือเป็นการ
ทดสอบเพื่อยืนยันสิ่งที่ทราบมาแล้ว มีวัตถุประสงค์เพื่อแสดงการทดลองเทคนิควิธีการแลกระบวนการต่างๆให้
นักเรียนเกิดความเข้าใจในเนื้อหาวิชาและกระบวนการไปพร้อม ๆ กัน ในการสอนครูต้องพิจารณาว่าจะสอน
แบบสาธิตแบบบอกความรู้ ที่ครูพยายามแนะนาบอกความรู้ให้นักเรียน หรือสอนแบบสาธิตแบบการค้นพบ ที่
ครูพยายามให้นักเรียนค้นพบคาตอบด้วยตนเอง
3.4 การสอนแบบทดลอง (Experimental method)
การทดลองกับการปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการว่ามีความหมายใกล้เคียงกัน การทดลองส่วน
ใหญ่ที่นักเรียนทาเป็นส่วนหนึ่งของการปฏิบัติงาน และการปฏิบัติงานส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการทดลอง เป็น
การจัดประสบการณ์ในการทางานให้นักเรียนตามขั้นตอนของกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ประกอบด้วย 4
ขั้นตอน คือขั้นกาหนดปัญหา ขั้นตั้งสมมติฐาน ขั้นทดลองและสังเกต และขั้นสรุปผลการทดลอง
3.5 การสอนแบบบรรยาย (Lecture method)
การสอนแบบบรรยายว่า เป็นวิธีสอนที่ครูถ่ายทอดความรู้จานวนมากแก่นักเรียนโดยตรง เป็น
วิธีการหนึ่งที่นาเสนอความรู้วิทยาศาสตร์ในลักษณะองค์ความรู้ที่เลือกสรรและจัดลาดับไว้อย่างดี การ
ดาเนินการอาจแบ่งได้เป็น 4 ตอน คือ การกล่าวนา ตัวเนื้อเรื่อง การสรุปย่อระหว่างนาเสนอ และการสรุปการ
บรรยาย
3.6 การสอนแบบอภิปราย (Discussion method)
การสอนแบบอภิปรายว่า เป็นการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน เกี่ยวกับเนื้อหาวิชา
ความรู้จากความคิดเห็นในแง่มุมต่าง ๆ ของนักเรียนอาจเป็นการอภิปรายระหว่างนักเรียนด้วยกัน หรือการ
อภิปรายระหว่างครูกับนักเรียน นักเรียนทุกคนมีอิสระที่จะแสดงความคิดเห็นของตน ซึ่งนักเรียนจะต้องมี
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเรื่องนั้นก่อนโดยครูทาหน้าที่เป็นผู้นาอภิปราย ต้องไม่สั่งหรือครอบงาความคิดเห็นของ
นักเรียน การอภิปรายต้องมีความชัดเจน เข้าใจง่าย เน้นหรือขยายความรู้ที่ได้เรียนมาแล้วให้กว้างขวางออกไป
ดังนั้นการอภิปรายจึงเป็นสิ่งจาเป็นในการสอนวิทยาศาสตร์ เป็นการกระตุ้นให้นักเรียนต้องคิดแก้ปัญหาหรือหา
ข้อยุติ การอภิปรายอาจสอดแทรกอยู่ในวิธีการสอนอื่น ๆ ได้ เช่น การสอนแบบบรรยายการสอนแบบสาธิต
การสอนแบบทดลอง การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ และการสอนแบบค้นพบ
3.7 การสอนแบบพูดถามตอบ (Recitation method)
การสอนแบบพูดถามตอบ เป็นการสอนที่ใช้คาถามคาตอบ โดยครูเป็นผู้ถามคาถามและ
นักเรียนเป็นผู้ตอบคาถามตามพื้นฐานความรู้ที่นักเรียนได้อ่านจากหนังสือเรียน หรือหนังสืออื่นที่ได้รับ
มอบหมายให้อ่าน หรือสิ่งที่ครูได้นาเสนอในระหว่างการบรรยาย การสาธิต หรือกิจกรรมอื่นในการสอนแบบ
พูดถามตอบ ครูควรอธิบายให้นักเรียนทราบถึงวัตถุประสงค์ของการสอนแบบนี้ว่าเป็นการให้ข้อมูลป้อนกลับ
แก่ครู ซึ่งครูจะได้ใช้ข้อมูลเหล่านี้ในการขยายความและอธิบายเพิ่มเติมแก่นักเรียน สิ่งที่สาคัญที่สุดในการสอน
แบบพูดถามตอบเพื่อให้ได้ผลดีที่ควรคานึงถึงคือชนิดของคาถาม โครงสร้างของคาถาม และขั้นตอนที่จะถามใน
ระหว่างการสอน (ภพ เลาหไพบูลย์, 2542:181)
จากการศึกษาเกี่ยวกับวิธีสอȨิทยาศาสตร์พบว่ามีอยู่หลายวิธี ในการจัดการเรียนการสอน
ครูผู้สอนวิทยาศาสตร์ควรเลือกวิธีสอน หรือกิจกรรมที่เน้นให้นักเรียนมีประสบการณ์ด้วยตนเองมากที่สุด อาจ
เลือกใช้วิธีสอนใดวิธีหนึ่ง หรือนาหลายวิธีมาผสมผสานกัน เพื่อให้เหมาะสมกับเนื้อหาและสภาพการณ์
โดยทั่วไปในชั้นเรียน

More Related Content

วิธีสอȨิทยาศาสตร์

  • 1. วิธีสอȨิทยาศาสตร์ รวบรวมโดยครูนิรุต ฉิมเพชร รร.พนมดงรักวิทยา อ้างอิงจากงานวิจัยต่างๆๆครับ วิธีสอȨิทยาศาสตร์ ภพ เลาหไพบูลย์ (2542: 123) กล่าวว่าวิธีสอนหรือกิจกรรมในการจัดการเรียนการสอน วิทยาศาสตร์ที่นิยมใช้มีหลายวิธี แต่ไม่มีข้อมูลยืนยันว่ามีวิธีสอนหรือกิจกรรมใดที่ดีที่สุด เหมาะสมกับทุก สถานการณ์ ดังนั้นครูวิทยาศาสตร์จึงต้องใช้ดุลยพินิจในการเลือกใช้วิธีสอนที่เหมาะสมกับความสามารถของ นักเรียน เนื้อหาวิชา ตลอดจนอุปกรณ์การสอนที่มีอยู่ วิธีสอȨิทยาศาสตร์ที่ได้รับการยอมรับว่ามีความ เหมาะสมกับธรรมชาติของวิชามีดังนี้ 3.1 การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry method) เป็นการสอนที่เน้นกระบวนการแสวงหา ความรู้ที่จะช่วยให้นักเรียนได้ค้นพบความจริงต่าง ๆ ด้วยตนเอง ให้นักเรียนมีประสบการณ์ตรงในการเรียนรู้ เนื้อหาวิชา ได้กล่าวถึงกระบวนการในการสืบเสาะหาความรู้ว่าแบ่งออกเป็น 5 ขั้นตอน ดังนี้ 3.1.1 สร้างสถานการณ์หรือปัญหา 3.1.2 ตั้งสมมติฐาน 3.1.3 ออกแบบการทดลอง 3.1.4 ทดสอบสมมติฐานโดยการทดลอง 3.1.5 ได้ข้อสรุปหรือกฎเกณฑ์ต่าง ๆ บทบาทหน้าที่ของครูในการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ คือเป็นผู้สร้างสถานการณ์ที่เปิดโอกาส ให้นักเรียนได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ด้วยตัวนักเรียนเอง เป็นผู้จัดหาวัสดุ อุปกรณ์เพื่ออานวยความ สะดวกในการศึกษาค้นคว้า เป็นผู้ถามคาถามต่าง ๆ ที่จะช่วยนาทางให้นักเรียนค้นหาความรู้ต่าง ๆ เทคนิคการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ว่ามี 3 แนวทาง คือ แนวทางการใช้เหตุผล แนวทางการ ใช้การค้นพบ และแนวทางการใช้การทดลองการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้โดยใช้แนวทางการใช้เหตุผล ครู ต้องชี้นานักเรียนให้สรุปเป็นหลักการทั่วไปได้โดยการใช้เหตุผล ซึ่งครูต้องใช้คาถามที่เหมาะสม และต้องเลือก แรงจูงใจที่เหมาะสมการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้โดยใช้แนวทางการใช้การค้นพบ มี 2 แนวทาง คือ 1) การสอนโดยใช้แนวทางการค้นพบที่ไม่แนะแนวทาง ครูเป็นผู้จัดหาวัสดุอุปกรณ์ให้นักเรียน แล้วให้นักเรียนได้จัดกระทากับวัสดุอุปกรณ์ โดยไม่ต้องแนะแนวทางอะไรในการใช้วัสดุอุปกรณ์นักเรียนอาจสืบ เสาะหาความรู้ในปัญหาที่ต่างกัน ครูทาหน้าที่เป็นที่ปรึกษาและเสนอแนะให้นักเรียนคิด 2) การสอนโดยใช้แนวทางการค้นพบที่แนะแนวทาง เป็นการสอนที่ครูแนะแนวทางการสืบ เสาะหาความรู้ให้นักเรียน เพื่อให้นักเรียนค้นพบปัญหาที่คล้ายคลึงกัน มีประสบการณ์ที่เหมือนกันการสอน แบบสืบเสาะหาความรู้โดยใช้แนวทางการทดลอง เป็นการสอนโดยใช้การทดลองในการพิสูจน์ข้อความหรือ สมมติฐานว่าเป็นจริง และหาแนวทางที่จะใช้ในการทดลองเพื่อทดสอบข้อความนั้นโดยมีขั้นตอนคือ เลือกและ ตั้งปัญหา ตั้งสมมติฐาน และวางแผนการทดสอบ 3.2 การสอนแบบค้นพบ (Discovery method) การค้นพบ และการสืบเสาะหาความรู้ ว่านักการศึกษาจานวนมากใช้คาสองคานี้ใน ความหมายเดียวกัน คาริน และซันด์ ได้ให้ความหมายของการค้นพบว่า การค้นพบจะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อบุคคลได้ ใช้กระบวนการคิดอย่างมากกระบวนการที่ใช้ความรู้ความคิดในการค้นพบ เช่น การสังเกต การจาแนก ประเภท การวัด การพยากรณ์การอธิบาย การลงความคิดเห็น เป็นต้น ในการสอนแบบค้นพบเป็นการสอนที่
  • 2. เน้นกระบวนการตอบสนองของนักเรียนต่อสถานการณ์ต่างๆ ด้วยตนเอง บทบาทของครูเป็นผู้ช่วยเหลือ และ เป็นที่ปรึกษาของนักเรียน ทักษะและความชานาญในการจัดกิจกรรมการสอนของครูเป็นสิ่งที่ช่วยให้การสอน แบบค้นพบประสบความสาเร็จ 3.3 การสอนแบบสาธิต (Demonstration) การสาธิตว่าเป็นการจัดแสดงประสบการณ์การกระทาอย่างใดอย่างหนึ่งหน้าชั้น โดยครู นักเรียนคนใดคนหนึ่งหรือกลุ่มนักเรียนก็ได้ เป็นการทดลองซึ่งให้ผลการทดลองที่ไม่ทราบมาก่อนหรือเป็นการ ทดสอบเพื่อยืนยันสิ่งที่ทราบมาแล้ว มีวัตถุประสงค์เพื่อแสดงการทดลองเทคนิควิธีการแลกระบวนการต่างๆให้ นักเรียนเกิดความเข้าใจในเนื้อหาวิชาและกระบวนการไปพร้อม ๆ กัน ในการสอนครูต้องพิจารณาว่าจะสอน แบบสาธิตแบบบอกความรู้ ที่ครูพยายามแนะนาบอกความรู้ให้นักเรียน หรือสอนแบบสาธิตแบบการค้นพบ ที่ ครูพยายามให้นักเรียนค้นพบคาตอบด้วยตนเอง 3.4 การสอนแบบทดลอง (Experimental method) การทดลองกับการปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการว่ามีความหมายใกล้เคียงกัน การทดลองส่วน ใหญ่ที่นักเรียนทาเป็นส่วนหนึ่งของการปฏิบัติงาน และการปฏิบัติงานส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการทดลอง เป็น การจัดประสบการณ์ในการทางานให้นักเรียนตามขั้นตอนของกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน คือขั้นกาหนดปัญหา ขั้นตั้งสมมติฐาน ขั้นทดลองและสังเกต และขั้นสรุปผลการทดลอง 3.5 การสอนแบบบรรยาย (Lecture method) การสอนแบบบรรยายว่า เป็นวิธีสอนที่ครูถ่ายทอดความรู้จานวนมากแก่นักเรียนโดยตรง เป็น วิธีการหนึ่งที่นาเสนอความรู้วิทยาศาสตร์ในลักษณะองค์ความรู้ที่เลือกสรรและจัดลาดับไว้อย่างดี การ ดาเนินการอาจแบ่งได้เป็น 4 ตอน คือ การกล่าวนา ตัวเนื้อเรื่อง การสรุปย่อระหว่างนาเสนอ และการสรุปการ บรรยาย 3.6 การสอนแบบอภิปราย (Discussion method) การสอนแบบอภิปรายว่า เป็นการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน เกี่ยวกับเนื้อหาวิชา ความรู้จากความคิดเห็นในแง่มุมต่าง ๆ ของนักเรียนอาจเป็นการอภิปรายระหว่างนักเรียนด้วยกัน หรือการ อภิปรายระหว่างครูกับนักเรียน นักเรียนทุกคนมีอิสระที่จะแสดงความคิดเห็นของตน ซึ่งนักเรียนจะต้องมี ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเรื่องนั้นก่อนโดยครูทาหน้าที่เป็นผู้นาอภิปราย ต้องไม่สั่งหรือครอบงาความคิดเห็นของ นักเรียน การอภิปรายต้องมีความชัดเจน เข้าใจง่าย เน้นหรือขยายความรู้ที่ได้เรียนมาแล้วให้กว้างขวางออกไป ดังนั้นการอภิปรายจึงเป็นสิ่งจาเป็นในการสอนวิทยาศาสตร์ เป็นการกระตุ้นให้นักเรียนต้องคิดแก้ปัญหาหรือหา ข้อยุติ การอภิปรายอาจสอดแทรกอยู่ในวิธีการสอนอื่น ๆ ได้ เช่น การสอนแบบบรรยายการสอนแบบสาธิต การสอนแบบทดลอง การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ และการสอนแบบค้นพบ 3.7 การสอนแบบพูดถามตอบ (Recitation method) การสอนแบบพูดถามตอบ เป็นการสอนที่ใช้คาถามคาตอบ โดยครูเป็นผู้ถามคาถามและ นักเรียนเป็นผู้ตอบคาถามตามพื้นฐานความรู้ที่นักเรียนได้อ่านจากหนังสือเรียน หรือหนังสืออื่นที่ได้รับ มอบหมายให้อ่าน หรือสิ่งที่ครูได้นาเสนอในระหว่างการบรรยาย การสาธิต หรือกิจกรรมอื่นในการสอนแบบ พูดถามตอบ ครูควรอธิบายให้นักเรียนทราบถึงวัตถุประสงค์ของการสอนแบบนี้ว่าเป็นการให้ข้อมูลป้อนกลับ แก่ครู ซึ่งครูจะได้ใช้ข้อมูลเหล่านี้ในการขยายความและอธิบายเพิ่มเติมแก่นักเรียน สิ่งที่สาคัญที่สุดในการสอน แบบพูดถามตอบเพื่อให้ได้ผลดีที่ควรคานึงถึงคือชนิดของคาถาม โครงสร้างของคาถาม และขั้นตอนที่จะถามใน ระหว่างการสอน (ภพ เลาหไพบูลย์, 2542:181)
  • 3. จากการศึกษาเกี่ยวกับวิธีสอȨิทยาศาสตร์พบว่ามีอยู่หลายวิธี ในการจัดการเรียนการสอน ครูผู้สอนวิทยาศาสตร์ควรเลือกวิธีสอน หรือกิจกรรมที่เน้นให้นักเรียนมีประสบการณ์ด้วยตนเองมากที่สุด อาจ เลือกใช้วิธีสอนใดวิธีหนึ่ง หรือนาหลายวิธีมาผสมผสานกัน เพื่อให้เหมาะสมกับเนื้อหาและสภาพการณ์ โดยทั่วไปในชั้นเรียน