ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
อุปกรณเชื่อมตอคอมพิวเตอร
เสนอ
มิสเขมจิรา ปลงไสว
จัดทําโดย
น.ส.พรนภัส ประดิษฐวงศสิน
ม.6/4 เลขที่ 18
ไมโครโฟน Microphone
ไมโครโฟนคืออะไร
ความหมายของไมโครโฟน ไมโครโฟน คือ อุปกรณที่เปลี่ยนเสียงเปนสัญญาณไฟฟา การออกแบบไมโครโฟนที่ดี จะตอง
สามารถเปลี่ยนพลังเสียงไดดี ตลอดยานความถี่เสียง ซึ่งมีความจํากัดมาก จึงมีเทคโนโลยีหลายอยางกิดขึ้นเพื่อใหไดสัญญาณสี
ยง ที่ดีเหมือนตนกําเนิดเสียง ดังนั้น จึงมีไมโครโฟนหลายชนิดที่มีคุณลักษณะไมเหมือนกัน
1. ไมคไดนามิค ( Dynamic Microphon )
มีโครงสรางประกอบดวย ดังนี้
แมเหล็กถาวร ( magnet )
ไดอะแฟรม ( Diaphragm )
ขดลวด ( Coil )
หลักการทํางาน ดังนี้ คือ เมื่อเสียงมากระทบที่แผนไดอะแฟรมบางๆ จะเกิดการสั่นขึ้นผลจากการสั่นเพียงเล็กนอยทําให
ขดลวดเขยา เกิดการเคลื่อนที่ผานสนามแมเหล็กทําใหขดลวดเกิดกระแสไฟฟา ( Current ) ขึ้นตามผลการสันของ
ไดอะแฟรม แตสัญญาณที่ไดจากไมโครโฟนเปนขนาดความแรงเพียงเล็กนอยเทานั้น จึงตองมีการขยายขึ้นเปนพิเศษที่
เครื่องขยายเสียง โดยวงจรขยายสัญญาณไมโครโฟนเทานั้น เรียกวา ปรีไมโครโฟน ( Pre Microphone ) ไมโครโฟน
ชนิดนี้ มีอิมพิแดนซ 600 โอหมมีความไวในทิศทางดานหนาและในรัศมีสั้นๆ ประมาณ 4 เซนติเมตร จนบางทีเรียกวา
ไมครอง เหมาะสําหรับการแสดงการขับรอง
2. ไมคคอนเดนเซอร ( Condensor Microphone )
มีโครสรางประกอบดวย ดังนี้
แบตเตอรี่ ( Battery )
ไดอะแฟรม ( Diaphragm )
Back plate
วงจรขยายสัญญาณ ( Amplifier )
คอนเดนเซอรไมโครโฟนนี้ตองมีไฟฟา DC เลี้ยงจึงจะทํางาน แรงดันตั้งแต 1.5 ถึง 48 โวลท ไมคคอนเดนเซอรใชหลักการคา
ความจุของคาปาซิเตอรเปลี่ยนแปลงโดยเมื่อมีเสียงปะทะที่ไดอะแฟรม จึงจะทําใหเกิดการสั่นไหว ทําใหมีการขยับตัวของระยะหางชอง
แผนเพลทที่เปนไดอะแฟรมกับแผนเพลทแผนหลัง ( Back Plate ) ทําใหคาความจุมีการเปลี่ยนแปลงตามแรงปะทะจากคลื่นเสียง
ทําใหเกิดสัญญาณไฟฟาของเสียงนั้นสงมาที Amplifier ทําการขยายสัญญาณเสียงเปนกระแสไฟฟาที่แรงสงออกไปตามสายนํา
สัญญาณ ดังนั้น ไมโครโฟนชนิดนี้จึงมีความไวมาก มีอิมพิแดนซต่ํามาก เมื่อยังไมมีการออกแบบพิเศษ ความถี่ตอบสนองไดดีที่
ความถี่ปานกลางขึ้นไป และทิศทางการรับ รอบทิศทาง
3. ไมคคริสตอล ( Crystal microphone )
มีโครงสรางประกอบดวย ดังนี้
Diaphragm รับเสียง
แร Crystal กําเนิดไฟฟา
แผน Back plate รองรับปรกบดานหลัง
สายตอนํากระแสไฟฟาสัญญาณเสียง
ไมโครโฟนชนิดนี้มีแรคริสตอลเปนตัวกําเนิดกระแสไฟฟา โดยจะรับแรงสั่นจากคลื่นอากาศของ
เสียงทางไดอะแฟรม ไฟฟาที่ไดแรงดันสูงกวา ไมโครโฟนชนิดอื่นๆ จึงมีคาอิมพิแดนซสูงถึง 10
กิโลโอหม เปนชนิดที่นิยมใชกับ เครื่องขยายเสียง รุนหลอด เมื่อยังไมมีการออกแบบพิเศษความ
ตอบสนองไดดีที่ความถี่เสียงกลาง ปจจุบันไมปรากฏเห็น ในการใชงานทั่วไป
สายตอนํากระแสไฟฟาสัญญาณเสียง
4. ไมคคารบอน ( Carbon Microphone )
ไมคคารบอน เปนไมโครโฟนสมัยแรกแหงวงการเครื่องเสียง อาศัยหลักการความ
ตานทานของคารบอนเปลี่ยนคาได คือ เมื่อคารบอนมีความหนาแนนมากจะมีความ
ตานทานนอย ทําใหกระแสไหลมาก และถาความหนาแนนนอย จะเกิดความ
ตานทานมาก ทําใหกระแสไหลนอย เมื่อนํามายึดติดกับไดอะแฟรม จะทําใหเกิด
การสั่นไหวเมื่อมีคลื่นอากาศเสียง ทําใหความตานทานเปลี่ยนแปลงเล็กนอยตาม
คลื่นเสียง ถามีการปอนกระแสไฟฟาเขาไป จะทําใหไดสัญญาณเสียงออกมา เปน
กระแสไฟฟาเปลี่ยนแปลงตามความตานทาน คุณภาพเสียงที่ไดจะอยูในชวงความถี่
ต่ํา ปจจุบันไมพบเห็นในการใชงาน
5. ไมคเซอรรามิค ( Ceramic Microphone )
ปจจุบันไมพบเห็นใชงานแลว มีลักษณะเหมือนกับคารบอนแตวัสดุที่ใชตางกัน คือ
โครงสรางประกอบดวย ดังนี้
Diaphragm รับเสียง
Ceramic กําเนิดไฟฟา
แผน Back plate รองรับประกบดานหลัง
สแกนเนอร คืออุปกรณซึ่งจับภาพและเปลี่ยนแปลงภาพจากรูปแบบของแอนาลอกเปนดิจิตอลซึ่ง
คอมพิวเตอร สามารถแสดง, เรียบเรียง, เก็บรักษาและผลิตออกมาได ภาพนั้นอาจจะเปนรูปถาย,
ขอความ, ภาพวาด หรือแมแตวัตถุสามมิติ สามารถใชสแกนเนอรทํางานตางๆไดดังนี้
- ในงานเกี่ยวกับงานศิลปะหรือภาพถายในเอกสาร
- บันทึกขอมูลลงในเวิรดโปรเซสเซอร
- แฟกเอกสาร ภายใตดาตาเบส และ เวิรดโปรเซสเซอร
- เพิ่มเติมภาพและจินตนาการตาง ๆ ลงไปในผลิตภัณฑสื่อโฆษณาตาง ๆ
โดยพื้นฐานการทํางานของสแกนเนอร, ชนิดของสแกนเนอร และความสามารถใน
การทํางานของสแกนเนอรแบงออกไดดังตอไปนี้
ชนิดของเครื่องสแกนเนอร
สแกนเนอรสามารถจัดแบงตามลักษณะทั่วๆ ไป ได 2 ชนิด คือ
Flatbed scanners, ซึ่งใชสแกนภาพถายหรือภาพพิมพตาง ๆ สแกนเนอร ชนิดนี้มีพื้นผิวแกวบนโลหะที่
เปนตัวสแกน เชน ScanMaker III Transparency and slide scanners, ซึ่งถูกใชสแกนโลหะโปรง เชน ฟลมและ สไลด
การทํางานของสแกนเนอร
การจับภาพของสแกนเนอร ทําโดยฉายแสงบนเอกสารที่จะสแกน แสงจะผานกลับไปมาและภาพ จะถูกจับ
โดยเซลลที่ไวตอแสง เรียกวา charge-couple device หรือ CCD ซึ่งโดยปกติพื้นที่มืดบน กระดาษจะสะทอนแสงไดนอย
และพื้นที่ที่สวางบนกระดาษจะสะทอนแสงไดมากกวา CCD จะสืบหาปริมาณแสงที่สะทอนกลับ
จากแตละพื้นที่ของภาพนั้น และเปลี่ยนคลื่นของแสงที่สะทอน กลับมาเปนขอมูลดิจิตอล หลังจากนั้นซอฟตแวรที่ใชสําหรับการ
สแกนภาพก็จะแปลงเอาสัญญาณเหลานั้นกลับมาเปนภาพ บนคอมพิวเตอรอีกทีหนึ่ง
สิ่งที่จําเปนสําหรับการสแกนภาพมีดังนี้
- สแกนเนอร
- สาย SCSI สําหรับตอจากสแกนเนอรไปยังเครื่องคอมพิวเตอร
- ซอฟตแวรสําหรับการสแกนภาพ ซึ่งทําหนาที่ควบคุมการทํางานของสแกนเนอรให สแกนภาพตามที่
กําหนด
- สแกนเอกสารเก็บไวเปนไฟลที่นํากลับมาแกไขไดอาจตองมีซอฟตแวรที่สนับสนุนดาน OCR
- จอภาพที่เหมาะสมสําหรับการแสดงภาพที่สแกนมาจากสแกนเนอร
- เครื่องมือสําหรับแสดงพิมพภาพที่สแกน เชน เครื่องพิมพแบบเลเซอรหรือสไลดโปรเจคเตอร

More Related Content

อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิว๶ตอร์...

  • 2. ไมโครโฟน Microphone ไมโครโฟนคืออะไร ความหมายของไมโครโฟน ไมโครโฟน คือ อุปกรณที่เปลี่ยนเสียงเปนสัญญาณไฟฟา การออกแบบไมโครโฟนที่ดี จะตอง สามารถเปลี่ยนพลังเสียงไดดี ตลอดยานความถี่เสียง ซึ่งมีความจํากัดมาก จึงมีเทคโนโลยีหลายอยางกิดขึ้นเพื่อใหไดสัญญาณสี ยง ที่ดีเหมือนตนกําเนิดเสียง ดังนั้น จึงมีไมโครโฟนหลายชนิดที่มีคุณลักษณะไมเหมือนกัน
  • 3. 1. ไมคไดนามิค ( Dynamic Microphon ) มีโครงสรางประกอบดวย ดังนี้ แมเหล็กถาวร ( magnet ) ไดอะแฟรม ( Diaphragm ) ขดลวด ( Coil ) หลักการทํางาน ดังนี้ คือ เมื่อเสียงมากระทบที่แผนไดอะแฟรมบางๆ จะเกิดการสั่นขึ้นผลจากการสั่นเพียงเล็กนอยทําให ขดลวดเขยา เกิดการเคลื่อนที่ผานสนามแมเหล็กทําใหขดลวดเกิดกระแสไฟฟา ( Current ) ขึ้นตามผลการสันของ ไดอะแฟรม แตสัญญาณที่ไดจากไมโครโฟนเปนขนาดความแรงเพียงเล็กนอยเทานั้น จึงตองมีการขยายขึ้นเปนพิเศษที่ เครื่องขยายเสียง โดยวงจรขยายสัญญาณไมโครโฟนเทานั้น เรียกวา ปรีไมโครโฟน ( Pre Microphone ) ไมโครโฟน ชนิดนี้ มีอิมพิแดนซ 600 โอหมมีความไวในทิศทางดานหนาและในรัศมีสั้นๆ ประมาณ 4 เซนติเมตร จนบางทีเรียกวา ไมครอง เหมาะสําหรับการแสดงการขับรอง
  • 4. 2. ไมคคอนเดนเซอร ( Condensor Microphone ) มีโครสรางประกอบดวย ดังนี้ แบตเตอรี่ ( Battery ) ไดอะแฟรม ( Diaphragm ) Back plate วงจรขยายสัญญาณ ( Amplifier ) คอนเดนเซอรไมโครโฟนนี้ตองมีไฟฟา DC เลี้ยงจึงจะทํางาน แรงดันตั้งแต 1.5 ถึง 48 โวลท ไมคคอนเดนเซอรใชหลักการคา ความจุของคาปาซิเตอรเปลี่ยนแปลงโดยเมื่อมีเสียงปะทะที่ไดอะแฟรม จึงจะทําใหเกิดการสั่นไหว ทําใหมีการขยับตัวของระยะหางชอง แผนเพลทที่เปนไดอะแฟรมกับแผนเพลทแผนหลัง ( Back Plate ) ทําใหคาความจุมีการเปลี่ยนแปลงตามแรงปะทะจากคลื่นเสียง ทําใหเกิดสัญญาณไฟฟาของเสียงนั้นสงมาที Amplifier ทําการขยายสัญญาณเสียงเปนกระแสไฟฟาที่แรงสงออกไปตามสายนํา สัญญาณ ดังนั้น ไมโครโฟนชนิดนี้จึงมีความไวมาก มีอิมพิแดนซต่ํามาก เมื่อยังไมมีการออกแบบพิเศษ ความถี่ตอบสนองไดดีที่ ความถี่ปานกลางขึ้นไป และทิศทางการรับ รอบทิศทาง
  • 5. 3. ไมคคริสตอล ( Crystal microphone ) มีโครงสรางประกอบดวย ดังนี้ Diaphragm รับเสียง แร Crystal กําเนิดไฟฟา แผน Back plate รองรับปรกบดานหลัง สายตอนํากระแสไฟฟาสัญญาณเสียง ไมโครโฟนชนิดนี้มีแรคริสตอลเปนตัวกําเนิดกระแสไฟฟา โดยจะรับแรงสั่นจากคลื่นอากาศของ เสียงทางไดอะแฟรม ไฟฟาที่ไดแรงดันสูงกวา ไมโครโฟนชนิดอื่นๆ จึงมีคาอิมพิแดนซสูงถึง 10 กิโลโอหม เปนชนิดที่นิยมใชกับ เครื่องขยายเสียง รุนหลอด เมื่อยังไมมีการออกแบบพิเศษความ ตอบสนองไดดีที่ความถี่เสียงกลาง ปจจุบันไมปรากฏเห็น ในการใชงานทั่วไป สายตอนํากระแสไฟฟาสัญญาณเสียง
  • 6. 4. ไมคคารบอน ( Carbon Microphone ) ไมคคารบอน เปนไมโครโฟนสมัยแรกแหงวงการเครื่องเสียง อาศัยหลักการความ ตานทานของคารบอนเปลี่ยนคาได คือ เมื่อคารบอนมีความหนาแนนมากจะมีความ ตานทานนอย ทําใหกระแสไหลมาก และถาความหนาแนนนอย จะเกิดความ ตานทานมาก ทําใหกระแสไหลนอย เมื่อนํามายึดติดกับไดอะแฟรม จะทําใหเกิด การสั่นไหวเมื่อมีคลื่นอากาศเสียง ทําใหความตานทานเปลี่ยนแปลงเล็กนอยตาม คลื่นเสียง ถามีการปอนกระแสไฟฟาเขาไป จะทําใหไดสัญญาณเสียงออกมา เปน กระแสไฟฟาเปลี่ยนแปลงตามความตานทาน คุณภาพเสียงที่ไดจะอยูในชวงความถี่ ต่ํา ปจจุบันไมพบเห็นในการใชงาน 5. ไมคเซอรรามิค ( Ceramic Microphone ) ปจจุบันไมพบเห็นใชงานแลว มีลักษณะเหมือนกับคารบอนแตวัสดุที่ใชตางกัน คือ โครงสรางประกอบดวย ดังนี้ Diaphragm รับเสียง Ceramic กําเนิดไฟฟา แผน Back plate รองรับประกบดานหลัง
  • 7. สแกนเนอร คืออุปกรณซึ่งจับภาพและเปลี่ยนแปลงภาพจากรูปแบบของแอนาลอกเปนดิจิตอลซึ่ง คอมพิวเตอร สามารถแสดง, เรียบเรียง, เก็บรักษาและผลิตออกมาได ภาพนั้นอาจจะเปนรูปถาย, ขอความ, ภาพวาด หรือแมแตวัตถุสามมิติ สามารถใชสแกนเนอรทํางานตางๆไดดังนี้ - ในงานเกี่ยวกับงานศิลปะหรือภาพถายในเอกสาร - บันทึกขอมูลลงในเวิรดโปรเซสเซอร - แฟกเอกสาร ภายใตดาตาเบส และ เวิรดโปรเซสเซอร - เพิ่มเติมภาพและจินตนาการตาง ๆ ลงไปในผลิตภัณฑสื่อโฆษณาตาง ๆ โดยพื้นฐานการทํางานของสแกนเนอร, ชนิดของสแกนเนอร และความสามารถใน การทํางานของสแกนเนอรแบงออกไดดังตอไปนี้
  • 8. ชนิดของเครื่องสแกนเนอร สแกนเนอรสามารถจัดแบงตามลักษณะทั่วๆ ไป ได 2 ชนิด คือ Flatbed scanners, ซึ่งใชสแกนภาพถายหรือภาพพิมพตาง ๆ สแกนเนอร ชนิดนี้มีพื้นผิวแกวบนโลหะที่ เปนตัวสแกน เชน ScanMaker III Transparency and slide scanners, ซึ่งถูกใชสแกนโลหะโปรง เชน ฟลมและ สไลด การทํางานของสแกนเนอร การจับภาพของสแกนเนอร ทําโดยฉายแสงบนเอกสารที่จะสแกน แสงจะผานกลับไปมาและภาพ จะถูกจับ โดยเซลลที่ไวตอแสง เรียกวา charge-couple device หรือ CCD ซึ่งโดยปกติพื้นที่มืดบน กระดาษจะสะทอนแสงไดนอย และพื้นที่ที่สวางบนกระดาษจะสะทอนแสงไดมากกวา CCD จะสืบหาปริมาณแสงที่สะทอนกลับ จากแตละพื้นที่ของภาพนั้น และเปลี่ยนคลื่นของแสงที่สะทอน กลับมาเปนขอมูลดิจิตอล หลังจากนั้นซอฟตแวรที่ใชสําหรับการ สแกนภาพก็จะแปลงเอาสัญญาณเหลานั้นกลับมาเปนภาพ บนคอมพิวเตอรอีกทีหนึ่ง สิ่งที่จําเปนสําหรับการสแกนภาพมีดังนี้ - สแกนเนอร - สาย SCSI สําหรับตอจากสแกนเนอรไปยังเครื่องคอมพิวเตอร - ซอฟตแวรสําหรับการสแกนภาพ ซึ่งทําหนาที่ควบคุมการทํางานของสแกนเนอรให สแกนภาพตามที่ กําหนด - สแกนเอกสารเก็บไวเปนไฟลที่นํากลับมาแกไขไดอาจตองมีซอฟตแวรที่สนับสนุนดาน OCR - จอภาพที่เหมาะสมสําหรับการแสดงภาพที่สแกนมาจากสแกนเนอร - เครื่องมือสําหรับแสดงพิมพภาพที่สแกน เชน เครื่องพิมพแบบเลเซอรหรือสไลดโปรเจคเตอร