ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิว๶ตอร์
เสนอ
มิส เขมจิรา ปลงไสว
โดย
นาย ณัช ผ่องแผ้ว
ม.6/4 เลขที่ 2
ไมโครโฟน (Microphone)
ไมโครโฟน คืออุปกรณ์รับเสียงแล้วแปลงเป็นสัญญาณไฟฟ้า เพื่อประมวลผลในเครื่องขยาย
เสียงหรืออุปกรณ์ผสมเสียงอื่น ๆ ไมโครโฟนประกอบด้วยขดลวดและแม่เหล็กเป็นหลัก เมื่อเสียง
กระทบตัวรับในไมโครโฟน จะทาให้ขดลวดสั่นสะเทือนตัดกับสนามแม่เหล็กจึงทาให้เกิด
สัญญาณไฟฟ้า ซึ่งเป็นหลักการทางานตรงข้ามกับลาโพง โดยทั่วไปไมโครโฟนใช้รับเสียงพูด
หรือเสียงร้องเพลง
ชนิดของไมโครโฟน
ชนิดของไมโครโฟน แบ่งตามหลักการทางไฟฟ้า ได้ 2 ประเภท ได้แก่
แบบไดนามิก
แบบคอนเดนเซอร์
แบบไดนามิก ทางานโดยการสั่นสะเทือนของขดลวด ที่อยู่รอบแกนแม่เหล็ก ทาให้เกิดกระแสไฟฟ้า อาศัย
หลักการเหนี่ยวนาไฟฟ้า
แบบคอนเดนเซอร์ ปล่อยกระแสไฟฟ้าสายตรง ไหลไปยังตัวไมค์ ซึ่งมีแผ่นโลหะบางๆตรวจจับการ
สั่นสะเทือนของอากาศ แล้วเปิด-ปิดทางเดินของวงจรไฟฟ้า
ไมโครโฟน (Microphone)
จอภาพระบบสัมผัส (Touch Screen)
จอสัมผัส (touchscreen) เป็นรูปแบบหนึ่งของอุปกรณ์แสดงผลและนาเข้าข้อมูลที่ผสมร่วมกัน เพื่อลดขนาดพื้นที่การใช้งาน
โดยโปรแกรมจะแสดงผลภาพกราฟิกบนจอภาพ และผู้ใช้สามารถใช้นิ้วมือสัมผัสบนจอภาพ เพื่อเลือกรายการต่างๆ ทั้งที่อยู่ใน
ลักษณะของรูปภาพ หรือข้อความก็ได้ เพื่อสั่งงาน จอสัมผัสนิยมนามาใช้ในลักษณะของงานที่ช่วยเหลือผู้ที่มีปัญหาการใช้
อุปกรณ์นาเข้าแบบจับต้อง เช่น แป้นพิมพ์, เมาส์ เป็นต้น
จอสัมผัสรู้ได้อย่างไรว่า เรากดตาแหน่งใดบนหน้าจอ
หน้าจอสัมผัสจะสามารถรู้ตาแหน่งที่เราสัมผัสได้นั้นจะต้องอาศัยระบบพื้นฐานซึ่งมี 3 ประเภท คือ
ตัวต้านทาน (resistive)
ระบบตัวต้านทานประกอบด้วย ช่องกระจกเคลือบด้วยตัวนาและตัวต้านทานโดยทั้งสองชั้นนี้ไม่ได้อยู่ติดกัน โดยมีตัวกั้นและชั้น
ตัวต้านทานที่ปรับค่าได้อยู่บนสุด ในขณะที่หน้าจอกาลังทางานจะมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านทั้งสองชั้น เมื่อผู้ใช้สัมผัสหน้าจอ ทา
ให้ชั้นทั้งสองชั้นสัมผัสกันตรงตาแหน่งที่เราสัมผัส เกิดการเปลี่ยนแปลงของกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่าน และถูกบันทึกไว้และ
คานวณหาตาแหน่งโดยทันที เมื่อรู้ว่าสัมผัสตรงส่วนใดแล้ว จะมีไดรเวอร์พิเศษที่ทาหน้าที่แปลการสัมผัสไปเป็นสัญญาณหรือ
รหัสส่งไปให้ระบบปฏิบัติการ
ตัวเก็บประจุ (capacitive)
ระบบตัวเก็บประจุ จะเป็นชั้นที่ไว้สาหรับเก็บประจุไฟฟ้าซึ่งจะวางอยู่บนช่องกระจกของหน้าจอ เมื่อผู้ใช้สัมผัสหน้าจอ ประจุ
ไฟฟ้าบางส่วนจะถูกส่งไปยังตัวผู้ใช้ทาให้ประจุไฟฟ้าที่มีอยู่ในตัวเก็บประจุลดลง การลดลงนี้จะเป็นตัวบอกตาแหน่งของการ
สัมผัสซึ่งจะมีวงจรที่คอยตรวจสอบอยู่ที่มุมของหน้าจอทั้งสี่มุม ต่อจากนั้นคอมพิวเตอร์จะคานวณ จากผลต่างของประจุไฟฟ้าใน
แต่ละมุม จนได้ตาแหน่งตรงที่ผู้ใช้สัมผัสแล้วจึงส่งไปให้ไดรเวอร์
จอภาพระบบสัมผัส (Touch Screen)
คลื่นเสียงที่ผิวของหน้าจอ (surface acoustic wave)
ระบบคลื่นเสียง บนหน้าจอของระบบคลื่นเสียงที่ผิวหน้าจอจะมีตัวรับ และส่งสัญญาณอยู่ตลอดแนวตั้ง
และแนวนอน ของแผ่นกระจกของหน้าจอ และตัวตัวสะท้อน ซึ่งจะทาหน้าที่ ส่งสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์
ที่มาจากตัวส่งสัญญาณไปยังตัวอื่น ตัวรับสัญญาณจะเป็นตัวบอกถ้าคลื่นถูกรบกวนโดยการสัมผัสของ
ผู้ใช้ และจะสามารถระบตาแหน่งที่สัมผัสได้ การใช้ระบบคลื่นทาให้หน้าจอสามารถแสดงภาพได้อย่าง
ชัดเจนมากกว่าทั้งสองระบบข้างต้น
ในระบบอื่นๆ สิ่งที่จะแตกต่างกันไปก็คือตัวที่คอยตรวจสอบการสัมผัสของผู้ใช้ ถ้าเป็นระบบตัวต้านทานที่
มีชั้นสองชั้นและระบุตาแหน่งจากการกระทบกันของชั้นนั้น ผู้ใช้สามารถใช้นิ้วหรือ อะไรก็ได้กดก็ได้ ใน
ระบบตัวเก็บประจุ จะต้องเป็นอุปกรณ์ที่เป็นตัวนาไฟฟ้าได้ โดยทั่วไปก็ใช้นิ้วของผู้ใช้ เพื่อทาให้เกิดการ
ไหลของประจุไฟเพื่อใช้ในการระบุตาแหน่ง ส่วนในระบบคลื่นเสียงที่ผิวหน้าจอจะทางานคล้ายกับใน
ระบบตัวต้านทานการสัมผัสผู้ใช้สามารถใช้อะไรสัมผัสก็ได้ ยกเว้นปลายปากกาหรือวัสดุที่เล็กและแข็ง
ในเรื่องราคา ระบบตัวต้านทานจะถูกที่สุดแต่ภาพที่แสดงบนหน้าจอจะไม่ชัดเจนเนื่องจากตัวต้านทานจะ
กระแสงเพียง 75% เท่านั้น (ส่วนระบบตัวเก็บประจุจะสามารถกระจายแสงได้ 90%) และใช้วัสดุแหลม
ไม่ได้จะทาให้ระบบเสีย หน้าจอของระบบคลื่นเสียงที่ผิวหน้าจอจะมีราคาสูงสุด
จอภาพระบบสัมผัส (Touch Screen)
ลาโพง (Speaker)
ลาโพง (อังกฤษ: loudspeaker, speaker) เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าเชิงกลอย่างหนึ่ง ทา
หน้าที่แปลงสัญญาณไฟฟ้าให้เป็นเสียง มีด้วยกันหลายแบบ คาว่า ลาโพงมักจะเรียกรวมกัน
ทั้งดอกลาโพง หรือตัวขับ (driver) และลาโพงทั้งตู้ (speaker system) ที่
ประกอบด้วยลาโพงและวงจรอิเล็กทรอนิกส์สาหรับแบ่งย่านความถี่ (ครอสโอเวอร์เน็ตเวิร์ก)
ลาโพงนับเป็นองค์ประกอบที่สาคัญในระบบเครื่องเสียง โดยมีขนาดตั้งแต่เล็กเท่าปลายนิ้ว
จนถึงใหญ่ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางนับสิบนิ้ว โดยมีโครงสร้างที่แตกต่างกัน
ประเภทลาโพงต่างๆ
ทวีทเตอร์ คือลาโพงที่มีขนาดเล็กสุดของตู้ลาโพงออกแบบมาเพื่อให้เสียงที่มีความถี่สูง
มิดเรนจ์ คือลาโพงขนาดกลางของตู้ลาโพงถูกออกแบบมาเพื่อให้เสียงในช่วงความถี่เป็นกลางๆ
คือไม่สูงหรือไม่ต่ามากเกินไป
วูฟเฟอร์ คือลาโพงที่มีขนาดใหญ่สุดของตู้ลาโพงออกแบบมาเพื่อให้เสียงที่มีความถี่ต่า
ซับวูฟเฟอร์ คือลาโพงที่ทาหน้าที่ขับความถี่เสียงต่าสุด มักมีตู้แยกต่างหาก และใช้วงจรขยาย
สัญญาณในตัว
ลาโพง (Speaker)

More Related Content

อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิว๶ตอร์

  • 2. ไมโครโฟน (Microphone) ไมโครโฟน คืออุปกรณ์รับเสียงแล้วแปลงเป็นสัญญาณไฟฟ้า เพื่อประมวลผลในเครื่องขยาย เสียงหรืออุปกรณ์ผสมเสียงอื่น ๆ ไมโครโฟนประกอบด้วยขดลวดและแม่เหล็กเป็นหลัก เมื่อเสียง กระทบตัวรับในไมโครโฟน จะทาให้ขดลวดสั่นสะเทือนตัดกับสนามแม่เหล็กจึงทาให้เกิด สัญญาณไฟฟ้า ซึ่งเป็นหลักการทางานตรงข้ามกับลาโพง โดยทั่วไปไมโครโฟนใช้รับเสียงพูด หรือเสียงร้องเพลง ชนิดของไมโครโฟน ชนิดของไมโครโฟน แบ่งตามหลักการทางไฟฟ้า ได้ 2 ประเภท ได้แก่ แบบไดนามิก แบบคอนเดนเซอร์ แบบไดนามิก ทางานโดยการสั่นสะเทือนของขดลวด ที่อยู่รอบแกนแม่เหล็ก ทาให้เกิดกระแสไฟฟ้า อาศัย หลักการเหนี่ยวนาไฟฟ้า แบบคอนเดนเซอร์ ปล่อยกระแสไฟฟ้าสายตรง ไหลไปยังตัวไมค์ ซึ่งมีแผ่นโลหะบางๆตรวจจับการ สั่นสะเทือนของอากาศ แล้วเปิด-ปิดทางเดินของวงจรไฟฟ้า
  • 4. จอภาพระบบสัมผัส (Touch Screen) จอสัมผัส (touchscreen) เป็นรูปแบบหนึ่งของอุปกรณ์แสดงผลและนาเข้าข้อมูลที่ผสมร่วมกัน เพื่อลดขนาดพื้นที่การใช้งาน โดยโปรแกรมจะแสดงผลภาพกราฟิกบนจอภาพ และผู้ใช้สามารถใช้นิ้วมือสัมผัสบนจอภาพ เพื่อเลือกรายการต่างๆ ทั้งที่อยู่ใน ลักษณะของรูปภาพ หรือข้อความก็ได้ เพื่อสั่งงาน จอสัมผัสนิยมนามาใช้ในลักษณะของงานที่ช่วยเหลือผู้ที่มีปัญหาการใช้ อุปกรณ์นาเข้าแบบจับต้อง เช่น แป้นพิมพ์, เมาส์ เป็นต้น จอสัมผัสรู้ได้อย่างไรว่า เรากดตาแหน่งใดบนหน้าจอ หน้าจอสัมผัสจะสามารถรู้ตาแหน่งที่เราสัมผัสได้นั้นจะต้องอาศัยระบบพื้นฐานซึ่งมี 3 ประเภท คือ ตัวต้านทาน (resistive) ระบบตัวต้านทานประกอบด้วย ช่องกระจกเคลือบด้วยตัวนาและตัวต้านทานโดยทั้งสองชั้นนี้ไม่ได้อยู่ติดกัน โดยมีตัวกั้นและชั้น ตัวต้านทานที่ปรับค่าได้อยู่บนสุด ในขณะที่หน้าจอกาลังทางานจะมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านทั้งสองชั้น เมื่อผู้ใช้สัมผัสหน้าจอ ทา ให้ชั้นทั้งสองชั้นสัมผัสกันตรงตาแหน่งที่เราสัมผัส เกิดการเปลี่ยนแปลงของกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่าน และถูกบันทึกไว้และ คานวณหาตาแหน่งโดยทันที เมื่อรู้ว่าสัมผัสตรงส่วนใดแล้ว จะมีไดรเวอร์พิเศษที่ทาหน้าที่แปลการสัมผัสไปเป็นสัญญาณหรือ รหัสส่งไปให้ระบบปฏิบัติการ ตัวเก็บประจุ (capacitive) ระบบตัวเก็บประจุ จะเป็นชั้นที่ไว้สาหรับเก็บประจุไฟฟ้าซึ่งจะวางอยู่บนช่องกระจกของหน้าจอ เมื่อผู้ใช้สัมผัสหน้าจอ ประจุ ไฟฟ้าบางส่วนจะถูกส่งไปยังตัวผู้ใช้ทาให้ประจุไฟฟ้าที่มีอยู่ในตัวเก็บประจุลดลง การลดลงนี้จะเป็นตัวบอกตาแหน่งของการ สัมผัสซึ่งจะมีวงจรที่คอยตรวจสอบอยู่ที่มุมของหน้าจอทั้งสี่มุม ต่อจากนั้นคอมพิวเตอร์จะคานวณ จากผลต่างของประจุไฟฟ้าใน แต่ละมุม จนได้ตาแหน่งตรงที่ผู้ใช้สัมผัสแล้วจึงส่งไปให้ไดรเวอร์
  • 5. จอภาพระบบสัมผัส (Touch Screen) คลื่นเสียงที่ผิวของหน้าจอ (surface acoustic wave) ระบบคลื่นเสียง บนหน้าจอของระบบคลื่นเสียงที่ผิวหน้าจอจะมีตัวรับ และส่งสัญญาณอยู่ตลอดแนวตั้ง และแนวนอน ของแผ่นกระจกของหน้าจอ และตัวตัวสะท้อน ซึ่งจะทาหน้าที่ ส่งสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ ที่มาจากตัวส่งสัญญาณไปยังตัวอื่น ตัวรับสัญญาณจะเป็นตัวบอกถ้าคลื่นถูกรบกวนโดยการสัมผัสของ ผู้ใช้ และจะสามารถระบตาแหน่งที่สัมผัสได้ การใช้ระบบคลื่นทาให้หน้าจอสามารถแสดงภาพได้อย่าง ชัดเจนมากกว่าทั้งสองระบบข้างต้น ในระบบอื่นๆ สิ่งที่จะแตกต่างกันไปก็คือตัวที่คอยตรวจสอบการสัมผัสของผู้ใช้ ถ้าเป็นระบบตัวต้านทานที่ มีชั้นสองชั้นและระบุตาแหน่งจากการกระทบกันของชั้นนั้น ผู้ใช้สามารถใช้นิ้วหรือ อะไรก็ได้กดก็ได้ ใน ระบบตัวเก็บประจุ จะต้องเป็นอุปกรณ์ที่เป็นตัวนาไฟฟ้าได้ โดยทั่วไปก็ใช้นิ้วของผู้ใช้ เพื่อทาให้เกิดการ ไหลของประจุไฟเพื่อใช้ในการระบุตาแหน่ง ส่วนในระบบคลื่นเสียงที่ผิวหน้าจอจะทางานคล้ายกับใน ระบบตัวต้านทานการสัมผัสผู้ใช้สามารถใช้อะไรสัมผัสก็ได้ ยกเว้นปลายปากกาหรือวัสดุที่เล็กและแข็ง ในเรื่องราคา ระบบตัวต้านทานจะถูกที่สุดแต่ภาพที่แสดงบนหน้าจอจะไม่ชัดเจนเนื่องจากตัวต้านทานจะ กระแสงเพียง 75% เท่านั้น (ส่วนระบบตัวเก็บประจุจะสามารถกระจายแสงได้ 90%) และใช้วัสดุแหลม ไม่ได้จะทาให้ระบบเสีย หน้าจอของระบบคลื่นเสียงที่ผิวหน้าจอจะมีราคาสูงสุด
  • 7. ลาโพง (Speaker) ลาโพง (อังกฤษ: loudspeaker, speaker) เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าเชิงกลอย่างหนึ่ง ทา หน้าที่แปลงสัญญาณไฟฟ้าให้เป็นเสียง มีด้วยกันหลายแบบ คาว่า ลาโพงมักจะเรียกรวมกัน ทั้งดอกลาโพง หรือตัวขับ (driver) และลาโพงทั้งตู้ (speaker system) ที่ ประกอบด้วยลาโพงและวงจรอิเล็กทรอนิกส์สาหรับแบ่งย่านความถี่ (ครอสโอเวอร์เน็ตเวิร์ก) ลาโพงนับเป็นองค์ประกอบที่สาคัญในระบบเครื่องเสียง โดยมีขนาดตั้งแต่เล็กเท่าปลายนิ้ว จนถึงใหญ่ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางนับสิบนิ้ว โดยมีโครงสร้างที่แตกต่างกัน ประเภทลาโพงต่างๆ ทวีทเตอร์ คือลาโพงที่มีขนาดเล็กสุดของตู้ลาโพงออกแบบมาเพื่อให้เสียงที่มีความถี่สูง มิดเรนจ์ คือลาโพงขนาดกลางของตู้ลาโพงถูกออกแบบมาเพื่อให้เสียงในช่วงความถี่เป็นกลางๆ คือไม่สูงหรือไม่ต่ามากเกินไป วูฟเฟอร์ คือลาโพงที่มีขนาดใหญ่สุดของตู้ลาโพงออกแบบมาเพื่อให้เสียงที่มีความถี่ต่า ซับวูฟเฟอร์ คือลาโพงที่ทาหน้าที่ขับความถี่เสียงต่าสุด มักมีตู้แยกต่างหาก และใช้วงจรขยาย สัญญาณในตัว