ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
1. ระบบตัวเลขโรมันใช้สัญลักษณ์พื้นฐาน 7 ตัว ได้แก่
ตัวเลขโรมัน I V X L C D M
ตัวเลขฮินดูอารบิก 1 5 10 50 100 500 1,000
2. หลักการเขียนเลขโรมันแทนจานวน
1) สัญลักษณ์แต่ละตัวเขียนติดกันได้ไม่เกิน 3 ตัว
2) เขียนโดยใช้หลักการเพิ่ม คือ เขียนสัญลักษณ์เรียงกันไปหรือเรียงลาดับค่าจากมากไปน้อย
3) เขียนโดยใช้หลักการลด เป็นการเขียนแทนจานวนบางจานวนที่ใช้หลักการเพิ่มไม่ได้
การเขียนทาได้โดยเขียนตัวเลขที่มีค่าน้อยไว้หน้าตัวเลขที่มีค่ามาก โดยมีเงื่อนไขของหลักการลด ดังนี้
• ตัวเลขที่เป็นตัวลบมีเพียง 3 ตัว คือ I, X และ C
• ตัวเลข I อยู่หน้า V หรือ X เท่านั้น
• ตัวเลข X อยู่หน้า L หรือ C เท่านั้น
• ตัวเลข C อยู่หน้า D หรือ M เท่านั้น
4) การเขียนจานวนที่มีค่ามาก ๆ ให้ใช้เครื่องหมายขีด ( – ) เขียนบนสัญลักษณ์พื้นฐาน
6 ตัว คือ V, X, L, C, D และ M โดยสัญลักษณ์ใหม่นี้จะมีค่าเป็น 1,000 เท่าของตัวเลขเดิม คือ
V แทนจานวน 5,000
X แทนจานวน 10,000
L แทนจานวน 50,000
C แทนจานวน 100,000
D แทนจานวน 500,000
M แทนจานวน 1,000,000
พิจารณาการเขียนตัวเลขโรมันต่อไปนี้
1) III = 1 + 1 + 1 = 3
2) XXII = 10 + 10 + 1 + 1 = 22
3) DCCLXXVII = 500 + 100 + 100 + 50 + 10 + 10 + 5 + 1 + 1 = 777
4) IV = 5 – 1 = 4
5) CD = 500 – 100 = 400
6) IX = 10 – 1 = 9
7) XL = 50 – 10 = 40
8) XC = 100 – 10 = 90
9) CM = 1,000 – 100 = 900
เขียนตัวเลขโรมันแทนจานวนต่อไปนี้
1. 14 = 10 + (5 – 1) = XIV
2. 59 = 50 + (10 – 1) = LIX
3. 316 = 300 + 10 + (5 + 1) = CCCXVI
4. 649 = (500 + 100) + (50 – 10) + (10 – 1) = DCXLIX
5. 2,463 = 2,000 + (500 – 100) + (50 + 10) + 3 = MMCDLXIII
6. 5,612 = 5,000 + (500 + 100) + 10 + 2 = VDCXII
7. 34,291 = 30,000 + (5,000 – 1,000) + 200 + (100 – 10) + 1
= XXXMVCCXCI
8. 523,670 = 500,000 + 20,000 + 3,000 + (500 + 100) +70
= DXXMMMDCLXX
9. 908,459 = (1,000,000 – 100,000) + 8,000 + (500 – 100) + 50 + (10 – 1)
= CMVMMMCDLIX
10. 2,479,651 = 2,000,000 + (500,000 – 100,000) + 70,000 + (10,000 – 1,000)
+ (500 + 100) + 50 + 1
= MMCDLXXMXDCLI

More Related Content

๶Ȩ้อหาโรมัน

  • 1. 1. ระบบตัวเลขโรมันใช้สัญลักษณ์พื้นฐาน 7 ตัว ได้แก่ ตัวเลขโรมัน I V X L C D M ตัวเลขฮินดูอารบิก 1 5 10 50 100 500 1,000 2. หลักการเขียนเลขโรมันแทนจานวน 1) สัญลักษณ์แต่ละตัวเขียนติดกันได้ไม่เกิน 3 ตัว 2) เขียนโดยใช้หลักการเพิ่ม คือ เขียนสัญลักษณ์เรียงกันไปหรือเรียงลาดับค่าจากมากไปน้อย 3) เขียนโดยใช้หลักการลด เป็นการเขียนแทนจานวนบางจานวนที่ใช้หลักการเพิ่มไม่ได้ การเขียนทาได้โดยเขียนตัวเลขที่มีค่าน้อยไว้หน้าตัวเลขที่มีค่ามาก โดยมีเงื่อนไขของหลักการลด ดังนี้ • ตัวเลขที่เป็นตัวลบมีเพียง 3 ตัว คือ I, X และ C • ตัวเลข I อยู่หน้า V หรือ X เท่านั้น • ตัวเลข X อยู่หน้า L หรือ C เท่านั้น • ตัวเลข C อยู่หน้า D หรือ M เท่านั้น 4) การเขียนจานวนที่มีค่ามาก ๆ ให้ใช้เครื่องหมายขีด ( – ) เขียนบนสัญลักษณ์พื้นฐาน 6 ตัว คือ V, X, L, C, D และ M โดยสัญลักษณ์ใหม่นี้จะมีค่าเป็น 1,000 เท่าของตัวเลขเดิม คือ V แทนจานวน 5,000 X แทนจานวน 10,000 L แทนจานวน 50,000 C แทนจานวน 100,000 D แทนจานวน 500,000 M แทนจานวน 1,000,000 พิจารณาการเขียนตัวเลขโรมันต่อไปนี้ 1) III = 1 + 1 + 1 = 3 2) XXII = 10 + 10 + 1 + 1 = 22 3) DCCLXXVII = 500 + 100 + 100 + 50 + 10 + 10 + 5 + 1 + 1 = 777 4) IV = 5 – 1 = 4 5) CD = 500 – 100 = 400 6) IX = 10 – 1 = 9 7) XL = 50 – 10 = 40 8) XC = 100 – 10 = 90 9) CM = 1,000 – 100 = 900
  • 2. เขียนตัวเลขโรมันแทนจานวนต่อไปนี้ 1. 14 = 10 + (5 – 1) = XIV 2. 59 = 50 + (10 – 1) = LIX 3. 316 = 300 + 10 + (5 + 1) = CCCXVI 4. 649 = (500 + 100) + (50 – 10) + (10 – 1) = DCXLIX 5. 2,463 = 2,000 + (500 – 100) + (50 + 10) + 3 = MMCDLXIII 6. 5,612 = 5,000 + (500 + 100) + 10 + 2 = VDCXII 7. 34,291 = 30,000 + (5,000 – 1,000) + 200 + (100 – 10) + 1 = XXXMVCCXCI 8. 523,670 = 500,000 + 20,000 + 3,000 + (500 + 100) +70 = DXXMMMDCLXX 9. 908,459 = (1,000,000 – 100,000) + 8,000 + (500 – 100) + 50 + (10 – 1) = CMVMMMCDLIX 10. 2,479,651 = 2,000,000 + (500,000 – 100,000) + 70,000 + (10,000 – 1,000) + (500 + 100) + 50 + 1 = MMCDLXXMXDCLI