ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
๗. ข้อมูลสภาพชุมชนโดยรวม
๑) สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนมีลักษณะ ชุมชนล้อมรอบ มีประชากรประมาณ ๑๐๐ คน
บริเวณใกล้เคียงโดยรอบโรงเรียน ได้แก่เขตพื้นที่การปกครองจานวน ๑ ตาบล ๒ หมู่บ้าน ได้แก่
บ้านโคกรักษ์และ บ้านโคกซาด
อาชีพหลักของชุมชน คือ เกษตรกร ส่วนใหญ่นับถือศาสนา พุทธ
ประเพณี/ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นที่เป็นที่รู้จักโดยทั่วไป คือ ....-....
๒) ผู้ปกครองส่วนใหญ่ จบการศึกษาระดับ ต่ากว่าปริญญาตรี อาชีพหลัก คือ เกษตรกรรม
ปลูกอ้อย ปลูกมันสาปะหลัง ส่วนใหญ่นับถือศาสนา พุทธ
ฐานะทางเศรษฐกิจ/รายได้โดยเฉลี่ยต่อครอบครัว ต่อปี ๑๕,๐๐๐ – ๒๐,๐๐๐ บาท
จานวนคนเฉลี่ยต่อครอบครัว ๒ คน
๓) โอกาสและข้อจากัดของโรงเรียน
โรงเรียนรักชาติประชาบารุง ตั้งอยู่บ้านโคกรักษ์ หมู่ ๑๑ ตาบลหลุ่งตะเคียน อาเภอห้วยแถลง
จังหวัดนครราชสีมา รหัสไปรษณีย์ ๓๐๒๔๐ ตั้งขึ้นเมื่อพ.ศ. ๒๕๒๓ มีเนื้อที่ ๓๖ ไร่ ๓ งาน -
ตารางวา มีหมู่บ้านในเขตบริการ ๒ หมู่บ้าน คือ บ้านโคกรักษ์และบ้านโคกซาด เป็นชุมชนแบบชนบท
อาชีพส่วนใหญ่ทาการเกษตร จากการศึกษาสภาพของโรงเรียนด้านสภาพแวดล้อมภายนอก
สภาพแวดล้อมภายใน พบว่ามีโอกาสมากกว่าอุปสรรค กล่าวคือ ชุมชนมีความเป็นอยู่ฐานะปานกลาง
มีความพร้อมและร่วมมือในการจัดการศึกษาของโรงเรียน
แต่โรงเรียนอยู่ในเขตบริการของสองหมู่บ้านความร่วมมือจึงไม่ค่อยเต็มที่นัก
ส่วนปัจจัยภายในพบว่ามีจุดแข็งมากกว่าจุดอ่อน กล่าวคือ
มีการบริหารจัดการเอื้อให้บุคลากรจัดกระบวนการเรียนการสอน แต่ก็ยังมีจุดอ่อน คือ ขาดสื่อ
วัสดุอุปกรณ์ที่ทันสมัย และวัสดุอุปกรณ์ไม่เพียงพอ
ดังนั้นสภาพของโรงเรียนจึงมีปัจจัยที่เกื้อหนุนเป็นส่วนใหญ่
โรงเรียนรักชาติประชาบารุง จัดการศึกษาได้คุณภาพมาตรฐานการศึกษา
บุคลากรพัฒนากระบวนการเรียนการสอน โดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้เต็มศักยภาพ
มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ มีคุณธรรมนาความรู้ โดยชุมชนมีส่วนร่วม คือ
พัฒนาผู้เรียนให้ได้คุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานการศึกษา พัฒนาบุคลากรให้มีความรู้
ความสามารถในการจัดกระบวนการเรียนการสอนได้คุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานการศึกษา
จัดระบบบริหารการจัดการให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แก้ไขเพิ่มเติม
พ.ศ. ๒๕๔๕ มีเป้าประสงค์เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานการศึกษา ให้นักเรียนมีคุณธรรม
จริยธรรม นาความรู้เพื่อนาไปสูจุดมุ่งหมายในการพัฒนาคนให้มีคุณลักษณะในอุดมคติคือ “เก่ง ดี มีสุข”
๙. แหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น
๑) ห้องสมุดมีขนาด ๖x๙ ตารางเมตร จานวนหนังสือในห้องสมุด ๑,๐๐๐ เล่ม
การสืบค้นหนังสือและการยืม-คืน ใช้ระบบ ……………-…………………………………….
จานวนนักเรียนที่ใช้ห้องสมุดในปีการศึกษาที่รายงาน เฉลี่ย ๕๐ คน ต่อ วันคิดเป็น
ร้อยละ ๑๐๐ ของนักเรียนทั้งหมด
๒) ห้องปฏิบัติการ
ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ จานวน - ห้อง
ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ จานวน ๑ ห้อง
ห้องปฏิบัติการทางภาษา จานวน - ห้อง
ห้อง (ระบุ)....................... จานวน - ห้อง
๓) คอมพิวเตอร์ จานวน ๑๐ เครื่อง
ใช้เพื่อการเรียนการสอน ๘ เครื่อง
ใช้เพื่อสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต ๒ เครื่อง
ใช้เพื่อการบริหารจัดการ / งานธุรการ ๑ เครื่อง
๖) ปราชญ์ชาวบ้าน/ภูมิปัญญาท้องถิ่น ผู้ทรงคุณวุฒิ ที่สถานศึกษาเชิญมาให้ความรู้แก่ครู นักเรียน
ในปีการศึกษาที่รายงาน
๖.๑ ชื่อ-สกุล นางเตือนใจ อินทร์บารุง ให้ความรู้เรื่อง การนวดแผนโบราณ
สถิติการให้ความรู้ในโรงเรียนแห่งนี้ จานวน………๑…………..ครั้ง/ปี
๖.๒ ชื่อ-สกุล นายสราวุธ ชื่นบาน ให้ความรู้เรื่อง งานช่างฝีมือ
สถิติการให้ความรู้ในโรงเรียนแห่งนี้ จานวน…………๕…………..ครั้ง/ปี
๖.๓ ชื่อ-สกุล นางสาวสุกัญญารัตน์ อินทร์บารุง ให้ความรู้เรื่อง การเพาะเห็ดฟาง
สถิติการให้ความรู้ในโรงเรียนแห่งนี้ จานวน…………๑…………..ครั้ง/ปี
๖.๔ ชื่อ-สกุล นางดวง ลีหาญ ให้ความรู้เรื่อง ทอเสื่อ
สถิติการให้ความรู้ในโรงเรียนแห่งนี้ จานวน…………๒…………..ครั้ง/ปี
๖.๔ ชื่อ-สกุล นายประเทือง ฟองพิมาย ให้ความรู้เรื่อง ดนตรีพื้นบ้าน
สถิติการให้ความรู้ในโรงเรียนแห่งนี้ จานวน…………๒…………..ครั้ง/ปี
๑. สรุปผลการดาเนินงานในภาพรวม
๑) ผลการดาเนินงานในภาพรวม
๑. ผู้เรียนมีวินัย มีมารยาทที่ดีงาม
๒. ครูประสานสามัคคี
๓. นักเรียนมีคุณธรรม
๔. พร้อมสัมพันธ์กับชุมชน
๒) โครงการ/กิจกรรมที่ประสบผลสาเร็จ
ชื่อโครงการ/กิจกรรม ปัจจัยสนับสนุน
๑. กิจกรรมตามมาตรฐานการเรียนรู้ ผู้บริหาร คณะครู คณะกรรมการสถานศึกษา
และชุมชนเข้มแข็ง
ฯลฯ ฯลฯ
๒) โครงการ / กิจกรรมที่ไม่ประสบผลสาเร็จ
ชื่อโครงการ/กิจกรรม สาเหตุ
- -
ฯลฯ ฯลฯ
๒. จุดเด่นและจุดที่ควรพัฒนา ระดับการศึกษาปฐมวัย
๑) ด้านคุณภาพผู้เรียน
จุดเด่น มีพัฒนาการด้านร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง
จุดที่ควรพัฒนา ด้านการคิดวิเคราะห์
๒) ด้านการจัดการศึกษา
จุดเด่น กิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงาน
จุดที่ควรพัฒนา -
๓) ด้านการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
จุดเด่น การทัศนศึกษาแหล่งเรียนรู้
จุดที่ควรพัฒนา -
๔) ด้านอัตลักษณ์ของสถานศึกษา
จุดเด่น ผู้เรียนมีวินัย มีมารยาทที่ดีงาม
จุดที่ควรพัฒนา -
๕) ด้านมาตรการส่งเสริม
จุดเด่น โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม
จุดที่ควรพัฒนา -
๓. แนวทางการพัฒนาในอนาคต
๑. จัดประสบการณ์การเรียนรู้ด้วยวิทยาศาสตร์
๔. ความต้องการและการช่วยเหลือ
๑. สื่อ อุปกรณ์ การจัดประสบการณ์การเรียนรู้
๒. หนังสือนิทาน
๓. ศึกษาดูงาน
๔. เครื่องเล่นสนาม

More Related Content

ศูȨ์พัฒȨ๶ึϹกโคกรักษ์

  • 1. ๗. ข้อมูลสภาพชุมชนโดยรวม ๑) สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนมีลักษณะ ชุมชนล้อมรอบ มีประชากรประมาณ ๑๐๐ คน บริเวณใกล้เคียงโดยรอบโรงเรียน ได้แก่เขตพื้นที่การปกครองจานวน ๑ ตาบล ๒ หมู่บ้าน ได้แก่ บ้านโคกรักษ์และ บ้านโคกซาด อาชีพหลักของชุมชน คือ เกษตรกร ส่วนใหญ่นับถือศาสนา พุทธ ประเพณี/ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นที่เป็นที่รู้จักโดยทั่วไป คือ ....-.... ๒) ผู้ปกครองส่วนใหญ่ จบการศึกษาระดับ ต่ากว่าปริญญาตรี อาชีพหลัก คือ เกษตรกรรม ปลูกอ้อย ปลูกมันสาปะหลัง ส่วนใหญ่นับถือศาสนา พุทธ ฐานะทางเศรษฐกิจ/รายได้โดยเฉลี่ยต่อครอบครัว ต่อปี ๑๕,๐๐๐ – ๒๐,๐๐๐ บาท จานวนคนเฉลี่ยต่อครอบครัว ๒ คน ๓) โอกาสและข้อจากัดของโรงเรียน โรงเรียนรักชาติประชาบารุง ตั้งอยู่บ้านโคกรักษ์ หมู่ ๑๑ ตาบลหลุ่งตะเคียน อาเภอห้วยแถลง จังหวัดนครราชสีมา รหัสไปรษณีย์ ๓๐๒๔๐ ตั้งขึ้นเมื่อพ.ศ. ๒๕๒๓ มีเนื้อที่ ๓๖ ไร่ ๓ งาน - ตารางวา มีหมู่บ้านในเขตบริการ ๒ หมู่บ้าน คือ บ้านโคกรักษ์และบ้านโคกซาด เป็นชุมชนแบบชนบท อาชีพส่วนใหญ่ทาการเกษตร จากการศึกษาสภาพของโรงเรียนด้านสภาพแวดล้อมภายนอก สภาพแวดล้อมภายใน พบว่ามีโอกาสมากกว่าอุปสรรค กล่าวคือ ชุมชนมีความเป็นอยู่ฐานะปานกลาง มีความพร้อมและร่วมมือในการจัดการศึกษาของโรงเรียน แต่โรงเรียนอยู่ในเขตบริการของสองหมู่บ้านความร่วมมือจึงไม่ค่อยเต็มที่นัก ส่วนปัจจัยภายในพบว่ามีจุดแข็งมากกว่าจุดอ่อน กล่าวคือ มีการบริหารจัดการเอื้อให้บุคลากรจัดกระบวนการเรียนการสอน แต่ก็ยังมีจุดอ่อน คือ ขาดสื่อ วัสดุอุปกรณ์ที่ทันสมัย และวัสดุอุปกรณ์ไม่เพียงพอ ดังนั้นสภาพของโรงเรียนจึงมีปัจจัยที่เกื้อหนุนเป็นส่วนใหญ่ โรงเรียนรักชาติประชาบารุง จัดการศึกษาได้คุณภาพมาตรฐานการศึกษา บุคลากรพัฒนากระบวนการเรียนการสอน โดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้เต็มศักยภาพ มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ มีคุณธรรมนาความรู้ โดยชุมชนมีส่วนร่วม คือ พัฒนาผู้เรียนให้ได้คุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานการศึกษา พัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ความสามารถในการจัดกระบวนการเรียนการสอนได้คุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานการศึกษา จัดระบบบริหารการจัดการให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. ๒๕๔๕ มีเป้าประสงค์เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานการศึกษา ให้นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม นาความรู้เพื่อนาไปสูจุดมุ่งหมายในการพัฒนาคนให้มีคุณลักษณะในอุดมคติคือ “เก่ง ดี มีสุข”
  • 2. ๙. แหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ๑) ห้องสมุดมีขนาด ๖x๙ ตารางเมตร จานวนหนังสือในห้องสมุด ๑,๐๐๐ เล่ม การสืบค้นหนังสือและการยืม-คืน ใช้ระบบ ……………-……………………………………. จานวนนักเรียนที่ใช้ห้องสมุดในปีการศึกษาที่รายงาน เฉลี่ย ๕๐ คน ต่อ วันคิดเป็น ร้อยละ ๑๐๐ ของนักเรียนทั้งหมด ๒) ห้องปฏิบัติการ ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ จานวน - ห้อง ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ จานวน ๑ ห้อง ห้องปฏิบัติการทางภาษา จานวน - ห้อง ห้อง (ระบุ)....................... จานวน - ห้อง ๓) คอมพิวเตอร์ จานวน ๑๐ เครื่อง ใช้เพื่อการเรียนการสอน ๘ เครื่อง ใช้เพื่อสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต ๒ เครื่อง ใช้เพื่อการบริหารจัดการ / งานธุรการ ๑ เครื่อง ๖) ปราชญ์ชาวบ้าน/ภูมิปัญญาท้องถิ่น ผู้ทรงคุณวุฒิ ที่สถานศึกษาเชิญมาให้ความรู้แก่ครู นักเรียน ในปีการศึกษาที่รายงาน ๖.๑ ชื่อ-สกุล นางเตือนใจ อินทร์บารุง ให้ความรู้เรื่อง การนวดแผนโบราณ สถิติการให้ความรู้ในโรงเรียนแห่งนี้ จานวน………๑…………..ครั้ง/ปี ๖.๒ ชื่อ-สกุล นายสราวุธ ชื่นบาน ให้ความรู้เรื่อง งานช่างฝีมือ สถิติการให้ความรู้ในโรงเรียนแห่งนี้ จานวน…………๕…………..ครั้ง/ปี ๖.๓ ชื่อ-สกุล นางสาวสุกัญญารัตน์ อินทร์บารุง ให้ความรู้เรื่อง การเพาะเห็ดฟาง สถิติการให้ความรู้ในโรงเรียนแห่งนี้ จานวน…………๑…………..ครั้ง/ปี ๖.๔ ชื่อ-สกุล นางดวง ลีหาญ ให้ความรู้เรื่อง ทอเสื่อ สถิติการให้ความรู้ในโรงเรียนแห่งนี้ จานวน…………๒…………..ครั้ง/ปี ๖.๔ ชื่อ-สกุล นายประเทือง ฟองพิมาย ให้ความรู้เรื่อง ดนตรีพื้นบ้าน สถิติการให้ความรู้ในโรงเรียนแห่งนี้ จานวน…………๒…………..ครั้ง/ปี ๑. สรุปผลการดาเนินงานในภาพรวม
  • 3. ๑) ผลการดาเนินงานในภาพรวม ๑. ผู้เรียนมีวินัย มีมารยาทที่ดีงาม ๒. ครูประสานสามัคคี ๓. นักเรียนมีคุณธรรม ๔. พร้อมสัมพันธ์กับชุมชน ๒) โครงการ/กิจกรรมที่ประสบผลสาเร็จ ชื่อโครงการ/กิจกรรม ปัจจัยสนับสนุน ๑. กิจกรรมตามมาตรฐานการเรียนรู้ ผู้บริหาร คณะครู คณะกรรมการสถานศึกษา และชุมชนเข้มแข็ง ฯลฯ ฯลฯ ๒) โครงการ / กิจกรรมที่ไม่ประสบผลสาเร็จ ชื่อโครงการ/กิจกรรม สาเหตุ - - ฯลฯ ฯลฯ ๒. จุดเด่นและจุดที่ควรพัฒนา ระดับการศึกษาปฐมวัย ๑) ด้านคุณภาพผู้เรียน จุดเด่น มีพัฒนาการด้านร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง จุดที่ควรพัฒนา ด้านการคิดวิเคราะห์ ๒) ด้านการจัดการศึกษา จุดเด่น กิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงาน จุดที่ควรพัฒนา - ๓) ด้านการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ จุดเด่น การทัศนศึกษาแหล่งเรียนรู้ จุดที่ควรพัฒนา - ๔) ด้านอัตลักษณ์ของสถานศึกษา
  • 4. จุดเด่น ผู้เรียนมีวินัย มีมารยาทที่ดีงาม จุดที่ควรพัฒนา - ๕) ด้านมาตรการส่งเสริม จุดเด่น โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม จุดที่ควรพัฒนา - ๓. แนวทางการพัฒนาในอนาคต ๑. จัดประสบการณ์การเรียนรู้ด้วยวิทยาศาสตร์ ๔. ความต้องการและการช่วยเหลือ ๑. สื่อ อุปกรณ์ การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ๒. หนังสือนิทาน ๓. ศึกษาดูงาน ๔. เครื่องเล่นสนาม