ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
งบการเงิȨบบซื้อขายปกติ
ร้าน ........................................
งบกาไรขาดทุน
สาหรับงวด 1 ปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม2547
ขาย xxx
หัก รับคืน xx
ขายสุทธิ xxx
ต้นทุนขาย
สินค้าต้นปี xxx
ซื้อ xxx
สินค้ามีไว้เพื่อขาย xxx
หัก สินค้าปลายปี xx
สินค้าฝากขายคงเหลือ xx xx xxx
กาไรขั้นต้น xxx
ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ
ค่าใช้จ่ายในการขาย xxx
ค่าใช้จ่ายทั่วไป xxx
ค่านายหน้า xxx xxx
กาไรสุทธิ xxx
การฝากขายสาหรับกิจการที่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
ความหมายและลักษณะของภาษีมูลค่าเพิ่ม
ภาษีมูลค่าเพิ่ม (ValueAdded Tax) หมายถึง ภาษีอากรซึ่งประเมินจากการขายสินค้าหรือบริการ
ผู้ประกอบการขายสินค้าหรือบริการที่ต้องเสียภาษีตามพระราชบัญญัติภาษีมูลค่าเพิ่ม ได้แก่
ผู้ประกอบการขายที่มีรายได้เกิน 1,200,000 บาท ต่อปี ต้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มในอัตราร้อยละ 7
ถ้ามีรายได้อยู่ในระหว่าง 600,000 – 1,200,000 บาท ต่อปี
สามารถเลือกจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มในอัตราร้อยละ 7หรือร้อยละ 1.5 ก็ได้ แต่ถ้ารายได้ไม่เกิน 600,000
บาท ต่อปี จะได้รับการยกเว้นไม่ต้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
(อัตราภาษีมูลค่าเพิ่ม อาจเปลี่ยนแปลงได้ขึ้นอยู่กับนโยบายของรัฐบาล)
ภาษีขาย (OutputTax) หมายถึง ภาษีมูลค่าเพิ่มที่ผู้ประกอบการได้เรียกเก็บภาษีจากผู้ซื้อ
หรือผู้รับบริการ หากภาษีขายเกิดขึ้นในเดือนใด ก็ให้ถือว่าเป็นภาษีขายของเดือนนั้น
ภาษีซื้อ (Input Tax) หมายถึง
ภาษีมูลค่าเพิ่มที่ผู้ประกอบการได้จ่ายให้กับผู้ขายหรือผู้ให้บริการที่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
หารภาษีซื้อเกิดขึ้นในเดือนใด ก็ให้ถือว่าเป็นภาษีซื้อของเดือนนั้น
ผู้มีหน้าที่เสียภาษี ผู้มีหน้าที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่ม ได้แก่ผู้ผลิต ผู้ขนส่ง ผู้ขายปลีก ผู้ให้บริการ
ผู้ส่งออก ผู้นาเข้า ผู้ประกอบการเหล่านี้จะต้องมีหน้าที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่ม
ไม่ว่าจะประกอบการในรูปของบุคคลธรรมดา คณะบุคคล ห้างหุ้นส่วน บริษัท
องค์กรของรัฐบาลหรือนิติบุคคลใดก็ตาม ผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มมีหน้าที่ต้องจัดทาเอกสาร
และรายงานประเภทต่าง ๆดังนี้
1. ใบกากับภาษี
2. รายงานภาษีขาย
3. รายงานภาษีซื้อ
4. รายงานสินค้าและวัตถุดิบ
ความหมายและลักษณะของใบกากับภาษี
ใบกากับภาษี (Tax Invoice) หมายถึง
เอกสารที่ผู้ขายสินค้าหรือบริการได้ออกให้ผู้ซื้อสินค้าหรือบริการ
แสดงรายละเอียดเกี่ยวกับมูลค่าของสินค้าหรือบริการที่ขาย และจานวนภาษีมูลค่าเพิ่มที่เรียกเก็บ
ซึ่งใบกากับภาษีนี้มี 2 รูปแบบ คือ
1. ใบกากับภาษีแบบเต็มรูป
ใช้สาหรับผู้ประกอบการที่ต้องการแยกภาษีมูลค่าเพิ่มที่เรียกเก็บออกจากราคาสินค้าหรือบริการ
อย่างชัดเจน
ตัวอย่าง ใบกากับภาษีแบบเต็มรูปแบบ
2. ใบกากับภาษีแบบย่อ
ใช้สาหรับผู้ประกอบการที่ขายสินค้าหรือให้บริการรายย่อยโดยแสดงราคาสินค้าหรือบริการที่ร
วมภาษีมูลค่าเพิ่มไว้แล้ว
อย่างไรก็ตาม หลักฐานบางอย่างที่แสดงการชาระภาษีมูลค่าเพิ่มให้แก่ทางราชการ
ก็อาจถือเป็นใบกากับภาษีด้วย เช่น ใบเสร็จรับเงินที่ส่วนราชการออกให้ในการขายทอดตลาด
เอกสารนี้ต้องเก็บไว้เป็นหลักฐานประกอบรายงานภาษีซื้อและรายงานภาษีขายต่อไป
ความหมายและลักษณะของฐานภาษี
ฐานภาษี คือ มูลค่าที่ได้รับหรือพึงได้รับจากการขายสินค้าหรือบริการ ตัวอย่างเช่น บริษัท ก
ซื้อสินค้าจากบริษัท ข ราคา 50,000 บาท ฐานภาษี คือ 50,000 บาท โดยไม่รวมภาษีซื้อ 3,500 บาท
แต่ถ้าบริษัท ก ขายสินค้าได้ 60,000 บาท ฐานภาษี คือ 60,000 บาท โดยไม่รวมภาษีขาย 4,200 บาท ดังนั้น
ภาษีขายมากกว่าภาษีซื้อ 700 บาท ก็เป็นภาษีที่บริษัท ก จะต้องนาส่งรัฐ แต่ถ้าบริษัท ก ขายสินค้าได้ 30,000
บาท ภาษีขาย 2,100 บาท ดังนั้น ภาษีซื้อมากกว่าภาษีขาย 1,400 บาท บริษัท ก จะขอคืนภาษี
หรือจะให้เครดิตไว้ก่อนเพื่อหักกลบภาษีที่จะต้องนาส่งในเดือนถัดไปก็ได้
การขอคืนภาษี
ผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มจะมีสิทธิ์ได้รับคืนภาษี
ถ้าภาษีที่จ่ายไปแล้วในการซื้อสินค้าหรือบริการต่าง ๆ สูงกว่าภาษีที่เกิดจากการขายสินค้าหรือบริการ
โดยมีสิทธิ์ขอคืนภาษีเป็นเงินสด พร้อมกับการยื่นแบบแสดงรายการภาษีของเดือนภาษี ตามแบบ ภ.พ. 30
ซึ่งจะมีรายการขอคือภาษีตอนล่างของแบบฟอร์ม
หรือผู้ประกอบการจะเลือกวิธีเครดิตโดยนาไปหักออกจากภาษีมูลค่าเพิ่มที่จะต้องชาระในเดือนถัดไปก็ได้
ในการขอคืนภาษี ไม่จาเป็นต้องยื่นเอกสารหลักฐานเพิ่มเครดิต
ส่วนกาหนดการคืนภาษีกรมสรรพากรจะคืนภาษีให้เดือนต่อเดือน หากการพิจารณาคืนภาษีล่าช้ากว่ากาหนด
กรมสรรพากรจะจ่ายดอกเบี้ยให้ผู้ประกอบการที่ขอคืนภาษี ในอัตราร้อยละ 1 ต่อเดือน
ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับเงื่อนไขและวิธีการที่อธิบดีกรมสรรพากรกาหนด
ตัวอย่าง รายงานภาษีขาย
ตัวอย่าง รายงานภาษีซื้อ
งบการเงิȨบบซื้อขายปกติ

More Related Content

งบการเงิȨบบซื้อขายปกติ

  • 1. งบการเงิȨบบซื้อขายปกติ ร้าน ........................................ งบกาไรขาดทุน สาหรับงวด 1 ปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม2547 ขาย xxx หัก รับคืน xx ขายสุทธิ xxx ต้นทุนขาย สินค้าต้นปี xxx ซื้อ xxx สินค้ามีไว้เพื่อขาย xxx หัก สินค้าปลายปี xx สินค้าฝากขายคงเหลือ xx xx xxx กาไรขั้นต้น xxx ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ค่าใช้จ่ายในการขาย xxx ค่าใช้จ่ายทั่วไป xxx ค่านายหน้า xxx xxx กาไรสุทธิ xxx
  • 2. การฝากขายสาหรับกิจการที่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม ความหมายและลักษณะของภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีมูลค่าเพิ่ม (ValueAdded Tax) หมายถึง ภาษีอากรซึ่งประเมินจากการขายสินค้าหรือบริการ ผู้ประกอบการขายสินค้าหรือบริการที่ต้องเสียภาษีตามพระราชบัญญัติภาษีมูลค่าเพิ่ม ได้แก่ ผู้ประกอบการขายที่มีรายได้เกิน 1,200,000 บาท ต่อปี ต้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มในอัตราร้อยละ 7 ถ้ามีรายได้อยู่ในระหว่าง 600,000 – 1,200,000 บาท ต่อปี สามารถเลือกจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มในอัตราร้อยละ 7หรือร้อยละ 1.5 ก็ได้ แต่ถ้ารายได้ไม่เกิน 600,000 บาท ต่อปี จะได้รับการยกเว้นไม่ต้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม (อัตราภาษีมูลค่าเพิ่ม อาจเปลี่ยนแปลงได้ขึ้นอยู่กับนโยบายของรัฐบาล) ภาษีขาย (OutputTax) หมายถึง ภาษีมูลค่าเพิ่มที่ผู้ประกอบการได้เรียกเก็บภาษีจากผู้ซื้อ หรือผู้รับบริการ หากภาษีขายเกิดขึ้นในเดือนใด ก็ให้ถือว่าเป็นภาษีขายของเดือนนั้น ภาษีซื้อ (Input Tax) หมายถึง ภาษีมูลค่าเพิ่มที่ผู้ประกอบการได้จ่ายให้กับผู้ขายหรือผู้ให้บริการที่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม หารภาษีซื้อเกิดขึ้นในเดือนใด ก็ให้ถือว่าเป็นภาษีซื้อของเดือนนั้น ผู้มีหน้าที่เสียภาษี ผู้มีหน้าที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่ม ได้แก่ผู้ผลิต ผู้ขนส่ง ผู้ขายปลีก ผู้ให้บริการ ผู้ส่งออก ผู้นาเข้า ผู้ประกอบการเหล่านี้จะต้องมีหน้าที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่ม ไม่ว่าจะประกอบการในรูปของบุคคลธรรมดา คณะบุคคล ห้างหุ้นส่วน บริษัท องค์กรของรัฐบาลหรือนิติบุคคลใดก็ตาม ผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มมีหน้าที่ต้องจัดทาเอกสาร และรายงานประเภทต่าง ๆดังนี้ 1. ใบกากับภาษี 2. รายงานภาษีขาย 3. รายงานภาษีซื้อ 4. รายงานสินค้าและวัตถุดิบ ความหมายและลักษณะของใบกากับภาษี ใบกากับภาษี (Tax Invoice) หมายถึง เอกสารที่ผู้ขายสินค้าหรือบริการได้ออกให้ผู้ซื้อสินค้าหรือบริการ
  • 3. แสดงรายละเอียดเกี่ยวกับมูลค่าของสินค้าหรือบริการที่ขาย และจานวนภาษีมูลค่าเพิ่มที่เรียกเก็บ ซึ่งใบกากับภาษีนี้มี 2 รูปแบบ คือ 1. ใบกากับภาษีแบบเต็มรูป ใช้สาหรับผู้ประกอบการที่ต้องการแยกภาษีมูลค่าเพิ่มที่เรียกเก็บออกจากราคาสินค้าหรือบริการ อย่างชัดเจน ตัวอย่าง ใบกากับภาษีแบบเต็มรูปแบบ
  • 5. อย่างไรก็ตาม หลักฐานบางอย่างที่แสดงการชาระภาษีมูลค่าเพิ่มให้แก่ทางราชการ ก็อาจถือเป็นใบกากับภาษีด้วย เช่น ใบเสร็จรับเงินที่ส่วนราชการออกให้ในการขายทอดตลาด เอกสารนี้ต้องเก็บไว้เป็นหลักฐานประกอบรายงานภาษีซื้อและรายงานภาษีขายต่อไป ความหมายและลักษณะของฐานภาษี ฐานภาษี คือ มูลค่าที่ได้รับหรือพึงได้รับจากการขายสินค้าหรือบริการ ตัวอย่างเช่น บริษัท ก ซื้อสินค้าจากบริษัท ข ราคา 50,000 บาท ฐานภาษี คือ 50,000 บาท โดยไม่รวมภาษีซื้อ 3,500 บาท แต่ถ้าบริษัท ก ขายสินค้าได้ 60,000 บาท ฐานภาษี คือ 60,000 บาท โดยไม่รวมภาษีขาย 4,200 บาท ดังนั้น ภาษีขายมากกว่าภาษีซื้อ 700 บาท ก็เป็นภาษีที่บริษัท ก จะต้องนาส่งรัฐ แต่ถ้าบริษัท ก ขายสินค้าได้ 30,000 บาท ภาษีขาย 2,100 บาท ดังนั้น ภาษีซื้อมากกว่าภาษีขาย 1,400 บาท บริษัท ก จะขอคืนภาษี หรือจะให้เครดิตไว้ก่อนเพื่อหักกลบภาษีที่จะต้องนาส่งในเดือนถัดไปก็ได้ การขอคืนภาษี ผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มจะมีสิทธิ์ได้รับคืนภาษี ถ้าภาษีที่จ่ายไปแล้วในการซื้อสินค้าหรือบริการต่าง ๆ สูงกว่าภาษีที่เกิดจากการขายสินค้าหรือบริการ โดยมีสิทธิ์ขอคืนภาษีเป็นเงินสด พร้อมกับการยื่นแบบแสดงรายการภาษีของเดือนภาษี ตามแบบ ภ.พ. 30 ซึ่งจะมีรายการขอคือภาษีตอนล่างของแบบฟอร์ม หรือผู้ประกอบการจะเลือกวิธีเครดิตโดยนาไปหักออกจากภาษีมูลค่าเพิ่มที่จะต้องชาระในเดือนถัดไปก็ได้ ในการขอคืนภาษี ไม่จาเป็นต้องยื่นเอกสารหลักฐานเพิ่มเครดิต ส่วนกาหนดการคืนภาษีกรมสรรพากรจะคืนภาษีให้เดือนต่อเดือน หากการพิจารณาคืนภาษีล่าช้ากว่ากาหนด กรมสรรพากรจะจ่ายดอกเบี้ยให้ผู้ประกอบการที่ขอคืนภาษี ในอัตราร้อยละ 1 ต่อเดือน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับเงื่อนไขและวิธีการที่อธิบดีกรมสรรพากรกาหนด ตัวอย่าง รายงานภาษีขาย