ݺߣ
Submit Search
ส งแวดล_อม(ส_ดท_าย)
•
Download as PPTX, PDF
•
0 likes
•
325 views
Wongsatorn Singhapan
Follow
ฝึกงาน สำนักสิ่งแวดล้อม 57
Read less
Read more
1 of 35
Download now
More Related Content
ส งแวดล_อม(ส_ดท_าย)
2.
• กรุงเทพมหานครกับปัญหามูลฝอย • ปริมาณมูลฝอยเกิดขึ้นในกรุงเทพมหานครทั่วไปป
3.
มูลฝอยชุมชนที่เกิดขึ้นในกรุงเทพมหานคร จะถูกรวบรวมและขนส่งไปยัง สถานีขนถ่ายมูลฝอย 3
แห่ง ได้แก่ สถานีขนถ่ายมูลฝอยสายไหม สถานีขน ถ่ายมูลฝอยหนองแขม และสถานีขนถ่ายมูลฝอยอ่อนนุช มูลฝอยอินทรีย์ 50% มูลฝอยรีปซเคิล 30% มูลฝอยทั่วไปป 17% มูลฝอยอันตราย 3% สัดส่วนประเภทมูลฝอยในถังมูลฝอยพื้นที่กรุงเทพมหานคร
4.
1.ชุมชนเกตุไพเราะ3, 4, 5
เขตพระโขนง 2.ชุมชนอยู่เจริญวิภาวดี เขตดอนเมือง 3.ชุมชนศรีกาญจน์ เขตดอนเมือง 4.ชุมชนหมู่บ้านสมิทธิโชติ เขตลาดพร้าว 5.ชุมชนหมู่บ้านรานี2 เขตลาดพร้าว 6.ชุมชนหมู่บ้านเนียมกล่า เขตลาดพร้าว 7.ชุมชนเลิศอุบล4 เขตลาดพร้าว 8.ชุมชนบึงบัว เขตลาดกระบัง 9.ชุมชนริมคลองลาดบัวขาว เขตลาดกระบัง 10.ชุมชนหลังวัดราชนัดดา เขตพระนคร 11.ชุมชนท่าวัง เขตพระนคร 12.ชุมชนเคหะธนบุรี 1 เขตบางขุนเทียน 13.ชุมชนทรัพย์สินพัฒนา เขตบางขุนเทียน 14.ชุมชนหลวงพ่อขาว เขตบางขุนเทียน 15.ชุมชนวัดนาคสี่บาท เขตบางขุนเทียน 16.ชุมชนสงวนคา เขตหนองแขม 17.ชุมชนจันทร์ทรัพย์ เขตหนองแขม
6.
- สอบถามข้อมูลชุมชนเบื้องต้นต่อประธานชุมชนและคณะกรรมการชุมชน - สัมภาษณ์ตัวไแทนคนในชุมชน
โดยการสุ่มเลือกคนในชุมชนที่พร้อมที่จะ ให้สัมภาษณ์
7.
• การจดทะเบียนจัดตั้งชุมชนมีผลต่อการพัฒนาชุมชน เช่น
การสนับสนุน จากเขตในเรื่องแผนงาน งบประมาณ เป็นต้น • การจัดตั้งชุมชน ที่มา อานาจหน้าที่ของคณะกรรมการชุมชนอาศัยตาม ระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยชุมชนและกรรมการชุมชน พ.ศ. 2555 • ในกรณีพื้นที่ที่จะจัดตั้งชุมชนเป็นกรรมสิทธิ์ของบุคคลอื่น ต้องปด้รับ ควไามยินยอมจากเจ้าของกรรมสิทธิ์
8.
หน่วไยงานที่เกี่ยวไข้อง • สานักงานเขต – ฝ่ายรักษาความสะอาดและสวนสาธารณะ
มีหน้าที่รักษาควไามสะอาด เรียบร้อย การเก็บมูลฝอย การเก็บค่าธรรมเนียมการขนมูลฝอย ฯลฯ – ฝ่ายสุขาภิบาล มีหน้าที่รักษาสุขาภิบาล อาคารสถานที่ สิ่งแวไดล้อม ควไบคุม มลพิษ ฯลฯ เพื่อมิให้เป็นอันตรายต่อสุขภาพของประชาชน
9.
• สานักสิ่งแวดล้อม – สนับสนุนการดาเนินงานของสานักงานเขต –
ดาเนินการในพื้นที่ที่ปม่ปด้อยู่ในควไามรับผิดชอบของสานักงานเขต – วไางแผน กาหนดแนวไทางการจัดการสิ่งแวไดล้อม – วไิจัย พัฒนาองค์ควไามรู้และให้ควไามรู้ – ส่งเสริมการมีส่วไนร่วไมของประชาชน ฯลฯ
10.
มูลฝอยของกทม. มูลฝอยรีไซเคิล พนักงานเก็บคัดแยก ปวไ้ใช้เอง ฝังกลบ มูลฝอยอินทรีย์ ทาปุ๋ ยหมัก มูลฝอยทั่วไป ฝังกลบ มูลฝอยอันตราย/ติดเชื้อ จ้างเอกชนกาจัดด้วไย วไิธีเฉพาะ
11.
• มีการจัดเก็บค่าธรรมเนียมการเก็บและขนสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอย ตามข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง
ค่าธรรมเนียมการเก็บและ ขนสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอย ตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข พ.ศ. 2546 • ตาม ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง ค่าธรรมเนียมการเก็บและ ขนสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอย ตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2548 กาหนดให้อัตราค่าธรรมเนียมเดือนละ 20 บาท
12.
• อาสาสมัครชักลากขยะ – ถูกจัดตั้งขึ้นเพื่อเก็บขนและรวไบรวไมมูลฝอยภายในชุมชนที่รถเก็บขยะของ กทม.ปม่สามารถเข้าปปปด้ –
ปฏิบัติงานเดือนละ 15 วไัน ค่าจ้างวไันละ 150 บาท
13.
สภาพการอยู่อาศัย- คนในชุมชนอาศัยอยู่ในบ้านพักที่เป็นที่ดินเช่าของประธาน ชุมชน โดยเป็นบ้านพักซึ่งสร้างอยู่บนน้า การจัดการขยะโดยชุมชน-
ทางชุมชนมีการออกกฎห้ามทิ้งขยะนอกบ้าน และให้ จัดเก็บคัดแยกขยะเบื้องต้น โดยจะมีคนเก็บขยะของชุมชนคอยรวบรวมตามบ้าน ซึ่งแต่ละบ้านจะให้ขยะจาพวกขวดน้า เป็นค่าตอบแทน หรือในบางบ้านก็จะเก็บ ขายเอง การจัดการขยะเศษอาหาร- เนื่องด้วยเป็นชุมชนที่อยู่ติดคลองและมีทางน้าใต้ที่อยู่ อาศัยจึงเกิดการจัดการขยะอินทรีย์ผ่านการนาไปเลี้ยงปลาและไก่ และทาปุ๋ ยและน้า หมักชีวภาพ
15.
การจัดการขยะอันตราย- มีจัดที่การรวบรวมไว้ในที่เดียวของชุมชนเพื่อการรอ เก็บโดยรถขยะ การมีส่วนร่วมของครัวเรือนต่อการจัดการขยะของชุมชน- มีการร่วมมือผ่าน การคัดแยกขยะรีไซเคิลรวมไว้และนามาขายให้คนเก็บขยะของชุมชน
รวมถึง การมีการนาขยะอินทรีไปจัดการ หรือแบ่งจัดการในครัวเรือน ในขณะที่ขยะ อันตรายมีการนาไปรวมที่ซึ่งชุมชนจัดไว้
17.
การรณรงค์ส่งเสริมให้มีการจัดการขยะโดยชุมชนโดยชุมชน- ชุมชนมี-- -
การ รณรงค์ดังต่อไปนี้ - ประชาสัมพันธ์เสียงตามสายในทุกครั้งที่มีประชุมชุมชน - ประชาสัมพันธ์พูดคุยตามบ้านในบางวาระ - จัดประชุมชุมชนเดือนละ 1 ครั้ง - แจกหนังสือหรือเอกสารที่ได้รับจากเขต หรือสานักสิ่งแวดล้อม ตามวาระ
19.
สภาพการอยู่อาศัย- ชุมชนมีลักษณะเป็นบ้านเดี่ยวไม้ชั้นเดียว และสองชั้น
มัก ปลูกในที่ดินเช่าเหนือน้า กล่าวคือบ้านส่วนใหญ่มีพื้นที่อยู่บนน้า โดยมีจานวน หนึ่งเป็นบ้านเดี่ยว ที่ปลูกด้วยตัวเจ้าของที่เอง การจัดการขยะโดยชุมชน- มีการจัดการให้เกิดการขายให้ธนาคารขยะ แต่เป็น ธนาคารขยะแบบที่ไม่มีสมุดบัญชี และระบบสะสม เป็นธนาคารขยะประเภทของ มาจ่ายไป โดยจะนาของไปขายต่อให้แก่บริษัทที่รับซื้ออีกที มีบ้างที่บางครัวเรือน รวบรวมมาให้เลย
22.
การจัดการขยะเศษอาหาร- มีบางครัวไเรือนมีการนาขยะเศษอาหารปปจัดทาปุ๋ ย หมักและน้าหมักชีวไภาพ
โดยในบางครัวไเรือนก็จะนาขยะเศษอาหารทิ้งในที่รวไมของ ชุมชน ให้ทางชุมชนมานาปปจัดการเป็นปุ๋ ยหมัก การจัดการขยะอันตราย- มีการตั้งจุดรวไบรวไมของชุมชน ตลอดจนการมีกิจกรรม ขยะอันตรายแลกปข่
24.
การมีส่วนร่วมของครัวเรือนต่อการจัดการขยะของชุมชน- มีการนาขยะมาขาย ให้ธนาคารขยะของชุมชน ตลอดจนให้ควไามร่วไมมือในการจัดกิจกรรมของชุมชน
เช่น มีการเปิดให้มีการล้างถังขยะทุกวไันพุธแรกของเดือนเพื่อปม่ให้มีกลิ่นสะสม การรณรงค์ส่งเสริมให้มีการจัดการขยะโดยชุมชนโดยชุมชน- ชุมชนมีการ รณรงค์ดังต่อปปนี้ - มีการประชาสัมพันธ์เสียงตามสายเดือนละ 1ครั้ง - จัดประชุมกรรมการชุมชนทุกเดือน - มีการประชุมคนในชุมขนตามวไาระ - มีการจัดกิจกรรมร่วไมในวไันพิเศษต่างๆ
26.
ความพึงพอใจในการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน (CBM)- มีการจัดการที่ดีขึ้น กวไ่าแต่ก่อน
โดยจากเดิมจะมีการทิ้งขยะลงปปที่ใต้บ้านแต่ละหลัง ทาให้เกิดการ หมักหมมเป็นน้าเสีย แต่เมื่อมีการจัดการทาให้เกิดควไามสะอาดเรียบร้อยทาให้ สะอาดมากยิ่งขึ้น ปม่มีขยะตกค้างในพื้นที่น้าเหล่านั้น
27.
สภาพการอยู่อาศัย- ชุมชนมีลักษณะ ห้องแถวกึ่งชุมชนแออัด บ้านอยู่ติด และเบียดกัน
บ้านจานวนหนึ่งมี ลักษณะเป็นบ้านแบบห้องเดี่ยว มี เพียงห้องนอนกับห้องน้า คนใน ชุมชนมีอาชีพค้าขายทั่วไป มีบ้าน ปลูกบนน้า ทางเดินแคบ พื้นที่ตั้งถัง ขยะมีน้อย
31.
• เจ้าหน้าที่เขต – ท่าทีต่อผู้นาชุมชน –
การสนับสนุนชุมชน • ประธานชุมชนและกรรมการ – สภาพควไามเป็นจริงในการจัดการขยะและของเสียในชุมชนปม่ตรงกับเอกสาร โครงการ – การนา และการจัดการกับการจัดการขยะ และการส่งเสริมให้ครัวไเรือนมีส่วไน ร่วไม
32.
- ชุมชนแออัด -ชุมชนเมือง -ชุมชนชานเมือง - เคหะชุมชน -
ชุมชนอาคารสูง - ชุมชนหมู่บ้านจัดสรร - ปัจจัยด้านพื้นที่อื่นๆ --- พื้นที่ติดแหล่งน้า, การเข้าถึง, พื้นที่น้อย
33.
• อาชีพ - ผู้ที่มีรายปด้ดีมักปฏิเสธการแยกขยะ -
กลุ่มชุมชนเกษตรกรมักแยกขยะปด้สมบูรณ์กวไ่า ผ่านการแยกทุกประเภท • สภาพควไามเป็นอยู่ - สภาพการจัดตั้งของชุมชน การมีพื้นที่กลางในการจัดการขยะ - การเข้าออกในการลาเลียงขยะรีปซเคิลปปขาย
34.
• วไัฒนธรรมการเมืองแบบคับแคบ (Parochial
political culture) • วไัฒนธรรมการเมืองแบบปพร่ฟ้ า (Subject political culture) • วไัฒนธรรมการเมืองแบบมีส่วไนร่วไม (Participation political culture)
35.
• - ครอบครัวไ •
- โรงเรียน • - ผู้นาชุมชน • - การติดตามของเขต • -การมีส่วไนร่วไมจากประชาชน
Download