ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
การค้น
search
• ความหมายของการค้น
• ผู้มีอานาจค้น
• ประเภทของการค้น
• หลักเกณฑ์ในการค้นในที่รโหฐาน
• ข้อยกเว้น
• การค้นต้องกระทาในเวลากลางวัน (มาตรา96)
• อานาจของเจ้าพนักงานผู้ค้น
• วิธีปฏิบัติในการค้น
• วิธีปฏิบัติเมื่อค้นแล้ว
• การค้นในพระบรมมหาราชวัง
• การค้นตัวบุคคล มี 3 กรณี
• การค้นในสถานการณ์พิเศษ
• อานาจในการค้นของสิงคโปร์
• อ้างอิงจาก
ความหมายของการค้น
• ค้น คือ การรวบรวมพยานหลักฐานและการดาเนินการเพื่อทราบ
ข้อเท็จจริงหรือพิสูจน์ความผิดและเอาตัวผู้กระทาความผิดมาลงโทษอัน
เป็นอานาจหน้าที่ของพนักงานสอบสวนและการค้นย่อมเป็นมาตรการที่
สาคัญอย่างหนึ่งในการอันที่จะทาให้การสืบสวน สอบสวน ไต่สวนมูล
ฟ้ อง การพิจารณา และการบังคับให้เป็นไปตามคาพิพากษาของศาล
บังเกิดผลผลสมความมุ่งหมายได้ เช่น การค้นหาวัตถุที่ใช้ในการกระทา
ผิด หรือที่มีไว้เป็นความผิด หรือการค้นหาบุคคลเพื่อจับกุมในฐานะที่
เป็นผู้กระทาผิดซึ่งกระทาในที่สาธารณสถาน
เมนู
• ผู้มีอานาจค้นตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มี ๒
ประเภท คือ พนักงานฝ่ายปกครองหรือตารวจ ( มาตารา ๖๑, ๗๐, ๙๒,
๙๗, ๑๐๔ ) และพนักงานสอบสวนตาม (มาตรา ๑๓๒(๒) ) ราษฎรแม้
จะมีอานาจจับในบางกรณีก็ไม่มีอานาจค้นไม่ว่ากรณีใด
ผู้มีอานาจค้น
ประเภทของการค้น
• การค้นมี ๒ ประเภท คือ การค้นในที่รโหฐานและการค้นตัวบุคคล
ความหมายของที่รโหฐาน คือ ที่ต่างๆที่มิใช่ที่สาธารณสถาน
การค้นในที่รโหฐานกระทาได้ด้วยเหตุ ๒ ประการ คือ เพื่อหาตัวคนหรือ
เพื่อหาสิ่งของ (มาตรา ๕๗ , ๙๘)
หลักเกณฑ์ในการค้นในที่รโหฐาน
• การค้นต้องมีหมายค้น มาตรา ๙๒ การค้นในที่รโหฐานต้องมีหมาย
ค้นและหมายค้นนั้นจะต้องออกโดยผู้มีอานาจและมีเหตุที่จะออกหมาย
นั้นได้
ข้อยกเว้น
• ในการที่พนักงานฝ่ายปกครองหรือตารวจเข้าค้นในที่รโหฐานได้โดย
ไม่ต้องมีหมายค้น ในกรณีดังต่อไปนี้
1. เมื่อมีเสียงร้องให้ช่วยจากข้างในที่รโหฐาน หรือมีเสียงหรือ
พฤติการณ์อื่นใดอันแสดงว่ามีเหตุร้ายเกิดขึ้นในที่รโหฐาน เช่น มีเสียง
คนทะเลาะกัน หรือมีเสียงปืนดังขึ้นในบ้าน
2. เมื่อปรากฏความผิดซึ่งหน้ากาลังกระทาลงในที่รโหฐาน แต่
ต้องเป็นความผิดซึ่งหน้าที่ปรากฏต่อเจ้าพนักงานเอง ถ้าปรากฏต่อ
บุคคลอื่น เจ้าหน้าพนักงานผู้ได้รับคาบอกเล่าไม่มีอานาจเข้าไปโดย
ไม่มีหมาย
ถัดไป
ตัวอย่าง (ก) กานันตรวจค้นบ้านของจาเลยโดยทราบจากบุคคลอื่นว่า
จาเลยได้ตั้งกล้องตะเกียงสูบฝิ่นโดยไม่ได้รับอนุญาต จาเลยขัดขวางโดยปิดและดัน
ประตูไม่ยอมให้เข้าการตรวจค้น จาเลยไม่มีความผิดฐานต่อสู้ขัดขวางเจ้าพนักงาน
โดยเหตุผลว่า กรณีที่เป็นข้อยกเว้นให้เจ้าพนักงานเข้าตรวจได้โดยไม่ต้องมีหมายค้น
จะต้องตีความโดยเคร่งครัด คือ ต้องเป็นกรณีที่เจ้าพนักงานเห็นด้วยตัวเอง (ฎีกา
๔๘๑/๒๔๙๑)
• 3. เมื่อบุคคลที่ได้กระทาความผิดซึ่งหน้าขณะที่ถูกไล่จับหนีเข้าไป หรือมีเหตุ
อันแน่นแฟ้ นควรสงสัยว่าได้เข้าไปซุกซ่อนตัวอยู่ในที่รโหฐาน เช่น มีผลเมืองดี
หลายคนบอกให้ทราบ หรือในบริเวณที่นั้นมีที่รโหฐานแห่งหนึ่งอยู่
แห่งเดียวเป็นต้น
• 4. เมื่อมีพยานหลักฐานตามสมควรว่ามีสิ่งของที่มีไว้เป็นความผิด หรือ
ได้มาโดยการกระทาความผิด หรือ ได้ใช้ หรือมีไว้เพื่อใช้ในการกระทาความผิด
หรืออาจเป็นพยานหลักฐานพิสูจน์การกระทาความผิด ได้ซ่อนหรืออยู่ในนั้น
ประกอบทั้งต้องเหตุอันสมควรเชื่อว่าเนื่องจากการเนิ่นช้ากว่าจะเอาหมายค้นมาได้
สิ่งของนั้นจะถูกโยกย้ายหรือทาลายเสียก่อน
• 5. เมื่อที่รโหฐานนั้นผู้จะต้องถูกจับเป็นเจ้าบ้านและการจับนั้นมีหมายจับหรือ
จับตาม มาตรา ๗๘ การเข้าไปในที่รโหฐานตามข้อยกเว้นนี้เป็นการเข้าไปเพื่อ
จับกุมผู้เป็นเจ้าบ้าน ถ้าเป็นการจับกุมบุคคลอื่นที่อยู่อาศัยกับเจ้าบ้านก็จะเข้าไปเอง
ไม่ได้ ผู้เป็นเจ้าบ้านในที่นี้หมายถึง ผู้เป็นหัวหน้าครอบครัวและเป็นผู้มีสิทธิ
ครอบครองที่รโหฐานนั้น ผู้ที่เป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์แต่มิใช่เป็นผู้ครอบครองอยู่
• เช่น ให้ผู้อื่นเช่าย่อมไม่เป็นเจ้าของบ้าน
• การค้นต้องกระทาในเวลากลางวัน (มาตรา96)
เป็นหลักทั่วไปว่าการค้นในที่รโหฐานต้องกระทาในเวลากลางวัน
คือ ระหว่างพระอาทิตย์ขึ้นและตก ถ้ากระทาในเวลากลางคืน การค้นย่อมมิ
ชอบด้วยกฎหมาย อย่างไรก็ดี มาตรา 96 ได้กาหนดข้อยกเว้นไว้ให้ค้นใน
เวลากลางคืนได้ใน3กรณี
1.เมื่อลงมือในเวลากลางวันถ้ายังไม่เสร็จจะค้นต่อในเวลา
กลางคืนก็ได้(มาตรา96(1)) เช่น เมื่อเจ้าพนักงานเข้าค้นโดยชอบในเวลา
กลางวันแล้ว ยังหาบุคคลหรือสิ่งของไม่พบ หรือค้นได้สิ่งของบ้างแล้วแต่ยัง
ไม่ครบตามที่ต้องการเจ้าพนักงานมีอานาจค้นต่อไปในเวลากลางคืนได้
เพื่อป้ องกันการหลีกเลี่ยง หรือยักย้ายบุคคล หรือสิ่งของที่ต้องการ
• 2.ในกรณีฉุกเฉินอย่างยิ่ง หรือซึ่งมีกฎหมายอื่นบัญญัติให้ค้นได้เป็น
กรณีพิเศษจะทาการค้นในเวลากลางคืนก็ได้ เช่น ถ้าไม่ทาการค้นใน
เวลากลางคืนจะเกิดภยันตรายแก่ชีวิตหรือร่างกายของบุคคลที่ต้องการ
ค้นให้พบตัว หรือบุคคลนั้นอาจหลบหนีไปเสียก็ได้ หรือพยานหลักฐาน
อาจถูกทาลายก็ได้ ทั้งคดีนั้นจะต้องมีลักษณะร้ายแรง ไม่ใช่คดี
เล็กๆน้อยๆด้วย
• 3.การค้นเพื่อจับผู้ดุร้ายหรือผู้ร้ายสาคัญ จะทาในเวลากลางคืนก็ได้
แต่ต้องการได้รับอนุญาตพิเศษจากศาลตามหลักเกณฑ์ และ
วิธีการที่กาหนดในข้อบังคับศาลฎีกา มาตรา 96(3)
• ผู้ดุร้าย หมายถึง อาจไม่ใช่ผู้กระทาความผิดก็ได้ เช่น เป็นคนที่มี
จิตใจไม่ปกติเคยทาร้ายคนอื่นมาก่อนแล้ว แต่ต้องเป็นกรณีที่เจ้า
พนักงานจะจับตัวได้ เช่น มีพฤติการณ์อันควรสงสัยว่า ผุ้ร้ายอาจจะ
กระทาความผิด ทานองเดียวในที่รโหฐานนั้นอีก
• ส่วนผู้ร้ายสาคัญ หมายถึง ผู้ที่กระทาความผิดในคดีที่มีลักษณะ
ร้ายแรง เช่นในคดีฆ่าคนโดยเจตนาหรือปล้นทรัพย์เป็นต้น
อานาจของเจ้าพนักงานผู้ค้น
• 1.ถ้าเจ้าของหรือคนที่อยู่ในนั้น ซึ่งจะค้นมิยอมให้เข้าไป เจ้า
พนักงานมีอานาจใช้กาลัง เพื่อเข้าไปในกรณีจาเป็น จะเปิดหรือทาลาย
ประตูบ้าน หน้าต่าง สิ่งกีดขวางอื่นก็ได้(มาตรา 94 วรรค 2)
• 2.ถ้ามีเหตุอันควรสงสัยว่า บุคคลซึ่งอยู่ในที่ ซึ่งเจ้าพนักงานกาลัง
ค้นหรือจะค้น จะขัดขวาง ถึงกับทาให้การค้นไรผล เจ้าพนักงานผู้ค้นมี
อานาจเอาตัวผู้นั้นควบคุมไว้หรืออยู่ในความดูแลเท่าที่จาเป็น เพื่อมิให้
ขัดขวางถึงกับทาให้การค้นนั้นไร้ผล(มาตรา 100 วรรคแรก)
• 3.ถ้ามีเหตุอันควรสงสัยว่าบุคคลดังกล่าวตามข้อ 2 ได้เอา
สิ่งของที่ต้องการพบซุกซ่อนในร่างกายเจ้าพนักงานผู้ค้นมีอานาจ
ค้นตัวผู้นั้นได้
วิธีปฏิบัติในการค้น
• 1.ให้พนักงานฝ่ายปกครองหรือตารวจที่ทาการค้นในที่รโหฐานสั่งเจ้าของหรือ
คนที่อยู่ในนั้นหรือผู้รักษาสถานที่ ซึ่งจะค้นให้ยอมเข้าไปโดยมิห่วงห้าม อีกทั้งให้
ความสะดวกในอันที่จะจัดการตามหมาย ทั้งนี้ให้พนักงานผู้นั้นแสดงหมาย หรือ
ถ้าค้นได้โดยไม่มีหมายก็ให้แสดงนามและตาแหน่ง
• 2.ก่อนลงมือค้นให้เจ้าพนักงานผู้ค้นแสดงความบริสุทธิ์เสียก่อน และเท่าที่
สามารถจะทาได้ให้ค้นต่อหน้าผู้ครอบครองสถานที่หรือบุคคลในครอบครัวของผู้
นั้นหรือถ้าค้นต่อหน้าบุคคลเช่นว่านั้นไม่ได้ ก็ให้ค้นต่อหน้าบุคคลอื่นอย่างน้อยสอง
คน ซึ่งเจ้าพนักงานได้ขอร้องมาเป็นพยาน
• 3.ในการค้นนั้นเจ้าพนักงานต้องพยายามไม่ให้มีการเสียหายและ
กระจัดกระจายเท่าที่จะทา
วิธีปฏิบัติเมื่อค้นแล้ว
• 1.สิ่งของที่ยึดไว้ในการค้น ให้ห่อหรือบรรจุหีบห่อตีตราไว้ หรือ ให้
ทาเครื่องหมายไว้เป็นสาคัญเพื่อป้ องกันการกลั่นแกล้งสับเปลี่ยนสิ่งของ
ที่ค้นได้
• 2.เจ้าพนักงานทุกคนต้องบันทึกรายละเอียดแห่งการค้นและสิ่งของ
ที่ค้นได้ต้องมีบัญชีรายละเอียดไว้
• 3.เจ้าพนักงานที่ค้นโดยมีหมาย ต้องรีบส่งบันทึกและบัญชี
ดังกล่าวพร้อมด้วยสิ่งของที่ยึดมาถ้าพอจะส่งได้ ไปยังผู้ออกหมาย
หรือเจ้าพนักงานอื่นตามที่กาหนดไว้
การค้นในพระบรมมหาราชวัง
• พระราชวัง วัง พระราชนิเวศน์ พระตาหนัก หรือในที่ซึ่ง
พระมหากษัตริย์ พระราชินี พระรัชทายาท พระบรมวงศ์ตั้งแต่สมเด็จ
เจ้าฟ้ าขึ้นไป หรือผู้สาเร็จราชการแทนพระองค์ประทับหรือพานัก
มาตรา ๙๑ ให้นาบทบัญญัติแห่งมาตรา๘๑/๑ มาบังคับโดยอนุโลม
การค้นตัวบุคคล มี3กรณี
1.การค้นตัวบุคคลในที่สาธารณะ(มาตรา93) เช่น
- เมื่อมีเหตุอันควรสงสัยว่าบุคคลนั้นมีสิ่งของในความครอบครองเพื่อจะใช้
ในการกระทาความผิด เช่น อาวุธที่จะใช้ในการชิงทรัพย์ ทาร้ายร่างกาย
เป็นต้น
- เมื่อมีเหตุอันควรสงสัยว่าบุคคลนั้นมีสิ่งของชึ่งได้มาโดยการกระทาผิด
เช่น ทรัพย์ที่ถูกลักเอามาจากเจ้าทรัพย์ เป็นต้น
- เมื่อมีเหตุอันควรสงสัยว่าบุคคลนั้นมีสิ่งของในครอบครองชึ่งมีไว้
เป็นความผิด เช่น ธนบัตรปลอม
2. การค้นตัวในที่รโหฐาน
(มาตรา 100วรรค2) การค้นตัวบุคคลในที่รโหฐานจะทาได้ต่อเมื่อ
เจ้าหน้าที่มีอานาจเข้าค้นในที่รโหฐานนั้นโดยชอบก่อนแล้วและจะกระทา
ได้ก็ต่อเมื่อมีเหตุอันควรสงสัยว่าบุคคลนั้นจะขัดขวางถึงกับการค้นไร้ผล
เมื่อได้เอาตัวบุคคลนั้นควบคุมไว้ หรือให้อยู่ในความดูของเจ้าพนักงานใน
ขณะนั้น แล้วเจ้าพนักงานมีอานาจค้นตัวบุคคลนั้นเพื่อเอาสิ่งของที่ต้องการ
ได้ดังวิธีการที่บัญญัติไว้ใน มาตรา ๘๕
3. การค้นตัวบุคคลผู้ถูกจับ ( มาตรา ๘๕ ) เจ้าพนักงานผู้จับหรือรับ
ตัวผู้ถูกจับไว้มีอานาจค้นตัวผู้ต้องหาหรือยึดสิ่งของต่างๆที่อาจใช้เป็น
พยานหลักฐานได้
การค้นในสถานการณ์พิเศษ
ตามพระราชบัญญัติกฎอัยการศึก 2457 คือ กฎหมายที่ให้อานาจหน้าที่ฝ่าย
ทหารลิดรอนสิทธิเสรีภาพบางประการ ของประชาชนได้ตามความจาเป็น เพื่อรักษา
ความสงบเรียบร้อยในบ้านเมือง เช่น กรณีที่เกิดสงครามหรือจารจล อานาจเกี่ยวกับ
การค้นของเจ้าหน้าที่ทหาร ตามมาตรา 9 ตามพระราชบัญญัติกฎอัยการศึก มีอานาจ
ที่จะตรวจค้น ดังต่อไปนี้
1. ที่จะตรวจค้น บรรดาสิ่งซึ่งจะเกณฑ์หรือต้องห้าม หรือต้องยึดหรือมีไว้ใน
ครอบครองโดยมิชอบด้วยกฎหมาย ทั้งมีอานาจที่จะตรวจค้นได้ไม่ว่าที่ตัวบุคคล ใน
ยานพาหนะ เคหสถาน สิ่งปลูกสร้าง หรือที่ใดๆ และไม่ว่าเวลาใดๆ ทั้งสิ้น
2. ที่จะตรวจข่าวสาร จดหมาย โทรเลข หีบ ห่อ หรือสิ่งอื่นใดที่ส่งหรือมีไปมา
ถึงกัน ในเขตที่ประกาศใช้กฎอัยการศึก
3. ที่จะตรวจหนังสือ สิ่งพิมพ์ หนังสือพิมพ์ ภาพโฆษณา บทหรือคาประพันธ์
อานาจในการค้นของสิงคโปร์
• มาตรา 173 ประมวลกฎหมายอาญา (ของประเทศสิงคโปร์)
พนักงานฝ่ายปกครองหรือตารวจมียศไม่ต่ากว่าจ่า หรือ
เจ้าหน้าที่ตรวจคนเข้าเมืองหรือบุคคลโดยเฉพาะที่ได้รับอนุญาต
ผู้หญิงที่ถูกควบคุมตัวมา จะถูกนาตัวมายังสถานที่ปลอดภัย
โดยเจ้าพนักงานซึ่งเป็นหญิง
ผู้หญิงที่ปฏิเสธการค้นจากเจ้าพนักงาน หรือขัดขวางหรือเป็น
อุปสรรค ผู้หญิงดังกล่าวจะมีความผิดตามกฎหมายและต้องระวาง
โทษปรับไม่เกิน $1,000 (31,821 บาท) หรือจาคุกไม่เกินหนึ่งปี
หรือทั้งจาทั้งปรับ
อ้างอิงจาก
• หนังสือกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เล่ม ๑
ศาสตราจารย์คะนึง ฦๅไชย
แก้ไขเพิ่มเติมโดย
อาจารย์ไพโรจน์ วายุภาพ
รองศาสตราจารย์ณรงค์ ใจหาญ
• SINGAPORE PENAL CODE
คณะผู้จัดทา
• นายวีระพล พิลโยรฤทธิ์ 541772143 AA
• นายนวพงศ์ สุจา 541772132 AA
• นายวีรกร กุลสุพรรณรัตน์ 541772149 AA
• นายประพันธ์ ปัญบือ 541772173 AB
• นายเอกพรรดิ์ กรองมาดี 541772172 AB
• นายสุรเสกข์ โอบอ้อม 541772084 AB
• นางสาวอรนุช เชอมือ 541772087 AB
• นางสาวนฤมล ธงชัย 541772096 AB
• นางสาวมนิสรา มูลเดิน 541772078 AB
• นายพงษ์พัฒน์ หมอยาดี 541772094 AB
• นายสมพนธ์ วิวัตรพัฒนากุล 541772015 AB
สานักวิชากฎหมาย
มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย

More Related Content

การค้น

  • 2. • ความหมายของการค้น • ผู้มีอานาจค้น • ประเภทของการค้น • หลักเกณฑ์ในการค้นในที่รโหฐาน • ข้อยกเว้น • การค้นต้องกระทาในเวลากลางวัน (มาตรา96) • อานาจของเจ้าพนักงานผู้ค้น
  • 3. • วิธีปฏิบัติในการค้น • วิธีปฏิบัติเมื่อค้นแล้ว • การค้นในพระบรมมหาราชวัง • การค้นตัวบุคคล มี 3 กรณี • การค้นในสถานการณ์พิเศษ • อานาจในการค้นของสิงคโปร์ • อ้างอิงจาก
  • 4. ความหมายของการค้น • ค้น คือ การรวบรวมพยานหลักฐานและการดาเนินการเพื่อทราบ ข้อเท็จจริงหรือพิสูจน์ความผิดและเอาตัวผู้กระทาความผิดมาลงโทษอัน เป็นอานาจหน้าที่ของพนักงานสอบสวนและการค้นย่อมเป็นมาตรการที่ สาคัญอย่างหนึ่งในการอันที่จะทาให้การสืบสวน สอบสวน ไต่สวนมูล ฟ้ อง การพิจารณา และการบังคับให้เป็นไปตามคาพิพากษาของศาล บังเกิดผลผลสมความมุ่งหมายได้ เช่น การค้นหาวัตถุที่ใช้ในการกระทา ผิด หรือที่มีไว้เป็นความผิด หรือการค้นหาบุคคลเพื่อจับกุมในฐานะที่ เป็นผู้กระทาผิดซึ่งกระทาในที่สาธารณสถาน เมนู
  • 5. • ผู้มีอานาจค้นตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มี ๒ ประเภท คือ พนักงานฝ่ายปกครองหรือตารวจ ( มาตารา ๖๑, ๗๐, ๙๒, ๙๗, ๑๐๔ ) และพนักงานสอบสวนตาม (มาตรา ๑๓๒(๒) ) ราษฎรแม้ จะมีอานาจจับในบางกรณีก็ไม่มีอานาจค้นไม่ว่ากรณีใด ผู้มีอานาจค้น
  • 6. ประเภทของการค้น • การค้นมี ๒ ประเภท คือ การค้นในที่รโหฐานและการค้นตัวบุคคล ความหมายของที่รโหฐาน คือ ที่ต่างๆที่มิใช่ที่สาธารณสถาน การค้นในที่รโหฐานกระทาได้ด้วยเหตุ ๒ ประการ คือ เพื่อหาตัวคนหรือ เพื่อหาสิ่งของ (มาตรา ๕๗ , ๙๘)
  • 7. หลักเกณฑ์ในการค้นในที่รโหฐาน • การค้นต้องมีหมายค้น มาตรา ๙๒ การค้นในที่รโหฐานต้องมีหมาย ค้นและหมายค้นนั้นจะต้องออกโดยผู้มีอานาจและมีเหตุที่จะออกหมาย นั้นได้
  • 8. ข้อยกเว้น • ในการที่พนักงานฝ่ายปกครองหรือตารวจเข้าค้นในที่รโหฐานได้โดย ไม่ต้องมีหมายค้น ในกรณีดังต่อไปนี้ 1. เมื่อมีเสียงร้องให้ช่วยจากข้างในที่รโหฐาน หรือมีเสียงหรือ พฤติการณ์อื่นใดอันแสดงว่ามีเหตุร้ายเกิดขึ้นในที่รโหฐาน เช่น มีเสียง คนทะเลาะกัน หรือมีเสียงปืนดังขึ้นในบ้าน 2. เมื่อปรากฏความผิดซึ่งหน้ากาลังกระทาลงในที่รโหฐาน แต่ ต้องเป็นความผิดซึ่งหน้าที่ปรากฏต่อเจ้าพนักงานเอง ถ้าปรากฏต่อ บุคคลอื่น เจ้าหน้าพนักงานผู้ได้รับคาบอกเล่าไม่มีอานาจเข้าไปโดย ไม่มีหมาย ถัดไป
  • 9. ตัวอย่าง (ก) กานันตรวจค้นบ้านของจาเลยโดยทราบจากบุคคลอื่นว่า จาเลยได้ตั้งกล้องตะเกียงสูบฝิ่นโดยไม่ได้รับอนุญาต จาเลยขัดขวางโดยปิดและดัน ประตูไม่ยอมให้เข้าการตรวจค้น จาเลยไม่มีความผิดฐานต่อสู้ขัดขวางเจ้าพนักงาน โดยเหตุผลว่า กรณีที่เป็นข้อยกเว้นให้เจ้าพนักงานเข้าตรวจได้โดยไม่ต้องมีหมายค้น จะต้องตีความโดยเคร่งครัด คือ ต้องเป็นกรณีที่เจ้าพนักงานเห็นด้วยตัวเอง (ฎีกา ๔๘๑/๒๔๙๑) • 3. เมื่อบุคคลที่ได้กระทาความผิดซึ่งหน้าขณะที่ถูกไล่จับหนีเข้าไป หรือมีเหตุ อันแน่นแฟ้ นควรสงสัยว่าได้เข้าไปซุกซ่อนตัวอยู่ในที่รโหฐาน เช่น มีผลเมืองดี หลายคนบอกให้ทราบ หรือในบริเวณที่นั้นมีที่รโหฐานแห่งหนึ่งอยู่ แห่งเดียวเป็นต้น
  • 10. • 4. เมื่อมีพยานหลักฐานตามสมควรว่ามีสิ่งของที่มีไว้เป็นความผิด หรือ ได้มาโดยการกระทาความผิด หรือ ได้ใช้ หรือมีไว้เพื่อใช้ในการกระทาความผิด หรืออาจเป็นพยานหลักฐานพิสูจน์การกระทาความผิด ได้ซ่อนหรืออยู่ในนั้น ประกอบทั้งต้องเหตุอันสมควรเชื่อว่าเนื่องจากการเนิ่นช้ากว่าจะเอาหมายค้นมาได้ สิ่งของนั้นจะถูกโยกย้ายหรือทาลายเสียก่อน • 5. เมื่อที่รโหฐานนั้นผู้จะต้องถูกจับเป็นเจ้าบ้านและการจับนั้นมีหมายจับหรือ จับตาม มาตรา ๗๘ การเข้าไปในที่รโหฐานตามข้อยกเว้นนี้เป็นการเข้าไปเพื่อ จับกุมผู้เป็นเจ้าบ้าน ถ้าเป็นการจับกุมบุคคลอื่นที่อยู่อาศัยกับเจ้าบ้านก็จะเข้าไปเอง ไม่ได้ ผู้เป็นเจ้าบ้านในที่นี้หมายถึง ผู้เป็นหัวหน้าครอบครัวและเป็นผู้มีสิทธิ ครอบครองที่รโหฐานนั้น ผู้ที่เป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์แต่มิใช่เป็นผู้ครอบครองอยู่ • เช่น ให้ผู้อื่นเช่าย่อมไม่เป็นเจ้าของบ้าน
  • 11. • การค้นต้องกระทาในเวลากลางวัน (มาตรา96) เป็นหลักทั่วไปว่าการค้นในที่รโหฐานต้องกระทาในเวลากลางวัน คือ ระหว่างพระอาทิตย์ขึ้นและตก ถ้ากระทาในเวลากลางคืน การค้นย่อมมิ ชอบด้วยกฎหมาย อย่างไรก็ดี มาตรา 96 ได้กาหนดข้อยกเว้นไว้ให้ค้นใน เวลากลางคืนได้ใน3กรณี 1.เมื่อลงมือในเวลากลางวันถ้ายังไม่เสร็จจะค้นต่อในเวลา กลางคืนก็ได้(มาตรา96(1)) เช่น เมื่อเจ้าพนักงานเข้าค้นโดยชอบในเวลา กลางวันแล้ว ยังหาบุคคลหรือสิ่งของไม่พบ หรือค้นได้สิ่งของบ้างแล้วแต่ยัง ไม่ครบตามที่ต้องการเจ้าพนักงานมีอานาจค้นต่อไปในเวลากลางคืนได้ เพื่อป้ องกันการหลีกเลี่ยง หรือยักย้ายบุคคล หรือสิ่งของที่ต้องการ
  • 12. • 2.ในกรณีฉุกเฉินอย่างยิ่ง หรือซึ่งมีกฎหมายอื่นบัญญัติให้ค้นได้เป็น กรณีพิเศษจะทาการค้นในเวลากลางคืนก็ได้ เช่น ถ้าไม่ทาการค้นใน เวลากลางคืนจะเกิดภยันตรายแก่ชีวิตหรือร่างกายของบุคคลที่ต้องการ ค้นให้พบตัว หรือบุคคลนั้นอาจหลบหนีไปเสียก็ได้ หรือพยานหลักฐาน อาจถูกทาลายก็ได้ ทั้งคดีนั้นจะต้องมีลักษณะร้ายแรง ไม่ใช่คดี เล็กๆน้อยๆด้วย • 3.การค้นเพื่อจับผู้ดุร้ายหรือผู้ร้ายสาคัญ จะทาในเวลากลางคืนก็ได้ แต่ต้องการได้รับอนุญาตพิเศษจากศาลตามหลักเกณฑ์ และ วิธีการที่กาหนดในข้อบังคับศาลฎีกา มาตรา 96(3)
  • 13. • ผู้ดุร้าย หมายถึง อาจไม่ใช่ผู้กระทาความผิดก็ได้ เช่น เป็นคนที่มี จิตใจไม่ปกติเคยทาร้ายคนอื่นมาก่อนแล้ว แต่ต้องเป็นกรณีที่เจ้า พนักงานจะจับตัวได้ เช่น มีพฤติการณ์อันควรสงสัยว่า ผุ้ร้ายอาจจะ กระทาความผิด ทานองเดียวในที่รโหฐานนั้นอีก • ส่วนผู้ร้ายสาคัญ หมายถึง ผู้ที่กระทาความผิดในคดีที่มีลักษณะ ร้ายแรง เช่นในคดีฆ่าคนโดยเจตนาหรือปล้นทรัพย์เป็นต้น
  • 14. อานาจของเจ้าพนักงานผู้ค้น • 1.ถ้าเจ้าของหรือคนที่อยู่ในนั้น ซึ่งจะค้นมิยอมให้เข้าไป เจ้า พนักงานมีอานาจใช้กาลัง เพื่อเข้าไปในกรณีจาเป็น จะเปิดหรือทาลาย ประตูบ้าน หน้าต่าง สิ่งกีดขวางอื่นก็ได้(มาตรา 94 วรรค 2) • 2.ถ้ามีเหตุอันควรสงสัยว่า บุคคลซึ่งอยู่ในที่ ซึ่งเจ้าพนักงานกาลัง ค้นหรือจะค้น จะขัดขวาง ถึงกับทาให้การค้นไรผล เจ้าพนักงานผู้ค้นมี อานาจเอาตัวผู้นั้นควบคุมไว้หรืออยู่ในความดูแลเท่าที่จาเป็น เพื่อมิให้ ขัดขวางถึงกับทาให้การค้นนั้นไร้ผล(มาตรา 100 วรรคแรก) • 3.ถ้ามีเหตุอันควรสงสัยว่าบุคคลดังกล่าวตามข้อ 2 ได้เอา สิ่งของที่ต้องการพบซุกซ่อนในร่างกายเจ้าพนักงานผู้ค้นมีอานาจ ค้นตัวผู้นั้นได้
  • 15. วิธีปฏิบัติในการค้น • 1.ให้พนักงานฝ่ายปกครองหรือตารวจที่ทาการค้นในที่รโหฐานสั่งเจ้าของหรือ คนที่อยู่ในนั้นหรือผู้รักษาสถานที่ ซึ่งจะค้นให้ยอมเข้าไปโดยมิห่วงห้าม อีกทั้งให้ ความสะดวกในอันที่จะจัดการตามหมาย ทั้งนี้ให้พนักงานผู้นั้นแสดงหมาย หรือ ถ้าค้นได้โดยไม่มีหมายก็ให้แสดงนามและตาแหน่ง • 2.ก่อนลงมือค้นให้เจ้าพนักงานผู้ค้นแสดงความบริสุทธิ์เสียก่อน และเท่าที่ สามารถจะทาได้ให้ค้นต่อหน้าผู้ครอบครองสถานที่หรือบุคคลในครอบครัวของผู้ นั้นหรือถ้าค้นต่อหน้าบุคคลเช่นว่านั้นไม่ได้ ก็ให้ค้นต่อหน้าบุคคลอื่นอย่างน้อยสอง คน ซึ่งเจ้าพนักงานได้ขอร้องมาเป็นพยาน • 3.ในการค้นนั้นเจ้าพนักงานต้องพยายามไม่ให้มีการเสียหายและ กระจัดกระจายเท่าที่จะทา
  • 16. วิธีปฏิบัติเมื่อค้นแล้ว • 1.สิ่งของที่ยึดไว้ในการค้น ให้ห่อหรือบรรจุหีบห่อตีตราไว้ หรือ ให้ ทาเครื่องหมายไว้เป็นสาคัญเพื่อป้ องกันการกลั่นแกล้งสับเปลี่ยนสิ่งของ ที่ค้นได้ • 2.เจ้าพนักงานทุกคนต้องบันทึกรายละเอียดแห่งการค้นและสิ่งของ ที่ค้นได้ต้องมีบัญชีรายละเอียดไว้ • 3.เจ้าพนักงานที่ค้นโดยมีหมาย ต้องรีบส่งบันทึกและบัญชี ดังกล่าวพร้อมด้วยสิ่งของที่ยึดมาถ้าพอจะส่งได้ ไปยังผู้ออกหมาย หรือเจ้าพนักงานอื่นตามที่กาหนดไว้
  • 17. การค้นในพระบรมมหาราชวัง • พระราชวัง วัง พระราชนิเวศน์ พระตาหนัก หรือในที่ซึ่ง พระมหากษัตริย์ พระราชินี พระรัชทายาท พระบรมวงศ์ตั้งแต่สมเด็จ เจ้าฟ้ าขึ้นไป หรือผู้สาเร็จราชการแทนพระองค์ประทับหรือพานัก มาตรา ๙๑ ให้นาบทบัญญัติแห่งมาตรา๘๑/๑ มาบังคับโดยอนุโลม
  • 18. การค้นตัวบุคคล มี3กรณี 1.การค้นตัวบุคคลในที่สาธารณะ(มาตรา93) เช่น - เมื่อมีเหตุอันควรสงสัยว่าบุคคลนั้นมีสิ่งของในความครอบครองเพื่อจะใช้ ในการกระทาความผิด เช่น อาวุธที่จะใช้ในการชิงทรัพย์ ทาร้ายร่างกาย เป็นต้น - เมื่อมีเหตุอันควรสงสัยว่าบุคคลนั้นมีสิ่งของชึ่งได้มาโดยการกระทาผิด เช่น ทรัพย์ที่ถูกลักเอามาจากเจ้าทรัพย์ เป็นต้น - เมื่อมีเหตุอันควรสงสัยว่าบุคคลนั้นมีสิ่งของในครอบครองชึ่งมีไว้ เป็นความผิด เช่น ธนบัตรปลอม
  • 19. 2. การค้นตัวในที่รโหฐาน (มาตรา 100วรรค2) การค้นตัวบุคคลในที่รโหฐานจะทาได้ต่อเมื่อ เจ้าหน้าที่มีอานาจเข้าค้นในที่รโหฐานนั้นโดยชอบก่อนแล้วและจะกระทา ได้ก็ต่อเมื่อมีเหตุอันควรสงสัยว่าบุคคลนั้นจะขัดขวางถึงกับการค้นไร้ผล เมื่อได้เอาตัวบุคคลนั้นควบคุมไว้ หรือให้อยู่ในความดูของเจ้าพนักงานใน ขณะนั้น แล้วเจ้าพนักงานมีอานาจค้นตัวบุคคลนั้นเพื่อเอาสิ่งของที่ต้องการ ได้ดังวิธีการที่บัญญัติไว้ใน มาตรา ๘๕ 3. การค้นตัวบุคคลผู้ถูกจับ ( มาตรา ๘๕ ) เจ้าพนักงานผู้จับหรือรับ ตัวผู้ถูกจับไว้มีอานาจค้นตัวผู้ต้องหาหรือยึดสิ่งของต่างๆที่อาจใช้เป็น พยานหลักฐานได้
  • 20. การค้นในสถานการณ์พิเศษ ตามพระราชบัญญัติกฎอัยการศึก 2457 คือ กฎหมายที่ให้อานาจหน้าที่ฝ่าย ทหารลิดรอนสิทธิเสรีภาพบางประการ ของประชาชนได้ตามความจาเป็น เพื่อรักษา ความสงบเรียบร้อยในบ้านเมือง เช่น กรณีที่เกิดสงครามหรือจารจล อานาจเกี่ยวกับ การค้นของเจ้าหน้าที่ทหาร ตามมาตรา 9 ตามพระราชบัญญัติกฎอัยการศึก มีอานาจ ที่จะตรวจค้น ดังต่อไปนี้ 1. ที่จะตรวจค้น บรรดาสิ่งซึ่งจะเกณฑ์หรือต้องห้าม หรือต้องยึดหรือมีไว้ใน ครอบครองโดยมิชอบด้วยกฎหมาย ทั้งมีอานาจที่จะตรวจค้นได้ไม่ว่าที่ตัวบุคคล ใน ยานพาหนะ เคหสถาน สิ่งปลูกสร้าง หรือที่ใดๆ และไม่ว่าเวลาใดๆ ทั้งสิ้น 2. ที่จะตรวจข่าวสาร จดหมาย โทรเลข หีบ ห่อ หรือสิ่งอื่นใดที่ส่งหรือมีไปมา ถึงกัน ในเขตที่ประกาศใช้กฎอัยการศึก 3. ที่จะตรวจหนังสือ สิ่งพิมพ์ หนังสือพิมพ์ ภาพโฆษณา บทหรือคาประพันธ์
  • 21. อานาจในการค้นของสิงคโปร์ • มาตรา 173 ประมวลกฎหมายอาญา (ของประเทศสิงคโปร์) พนักงานฝ่ายปกครองหรือตารวจมียศไม่ต่ากว่าจ่า หรือ เจ้าหน้าที่ตรวจคนเข้าเมืองหรือบุคคลโดยเฉพาะที่ได้รับอนุญาต ผู้หญิงที่ถูกควบคุมตัวมา จะถูกนาตัวมายังสถานที่ปลอดภัย โดยเจ้าพนักงานซึ่งเป็นหญิง ผู้หญิงที่ปฏิเสธการค้นจากเจ้าพนักงาน หรือขัดขวางหรือเป็น อุปสรรค ผู้หญิงดังกล่าวจะมีความผิดตามกฎหมายและต้องระวาง โทษปรับไม่เกิน $1,000 (31,821 บาท) หรือจาคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือทั้งจาทั้งปรับ
  • 22. อ้างอิงจาก • หนังสือกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เล่ม ๑ ศาสตราจารย์คะนึง ฦๅไชย แก้ไขเพิ่มเติมโดย อาจารย์ไพโรจน์ วายุภาพ รองศาสตราจารย์ณรงค์ ใจหาญ • SINGAPORE PENAL CODE
  • 23. คณะผู้จัดทา • นายวีระพล พิลโยรฤทธิ์ 541772143 AA • นายนวพงศ์ สุจา 541772132 AA • นายวีรกร กุลสุพรรณรัตน์ 541772149 AA • นายประพันธ์ ปัญบือ 541772173 AB • นายเอกพรรดิ์ กรองมาดี 541772172 AB • นายสุรเสกข์ โอบอ้อม 541772084 AB • นางสาวอรนุช เชอมือ 541772087 AB • นางสาวนฤมล ธงชัย 541772096 AB • นางสาวมนิสรา มูลเดิน 541772078 AB • นายพงษ์พัฒน์ หมอยาดี 541772094 AB • นายสมพนธ์ วิวัตรพัฒนากุล 541772015 AB สานักวิชากฎหมาย มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย