ประวัติภาษาซี
- 1. ภาษาซี มีข้อดี ดังนี้
-
เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่มีการพัฒนาขึ้นใช้งานเพื่อเ
ป็นภาษามาตรฐานที่ไม่ขึ้น
กับโปรแกรมจัดระบบงานและไม่ขึ้นกับฮาร์ดแวร์
- เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่อาศัยหลักการที่เรียกว่า
"โปรแกรมโครงสร้าง"
จึงเป็นภาษาที่เหมาะกับการพัฒนาโปรแกรมระบบ
- เป็นคอมไพเลอร์ที่มีประสิทธิภาพสูง
ให้รหัสออบเจ็กต์สั้น ทางานได้รวดเร็ว
เหมาะกับงานที่ต้องการ ความรวดเร็วเป็นสาคัญ -
มีความคล่องตัวคล้ายภาษาแอสแซมบลี
ภาษาซีสามารถเขียนแทนภาษาแอสแซมบลีได้ดี
ค้นหาที่ผิดหรือ แก้โปรแกรมได้ง่าย
ภาษาซีจึงเป็นภาษาระดับสูงที่ทางานเหมือนภาษาร
ะดับต่า -
มีความคล่องตัวที่จะประยุกต์เข้ากับงานต่างๆ
ได้เป็นอย่างดี การพัฒนาโปรแกรม เช่น
เวิร์ดโพรเซสซิ่ง สเปรดชีต ดาตาเบส ฯลฯ
มักใช้ภาษาซีเป็นภาษาสาหรับการพัฒนา
-
เป็นภาษาที่มีอยู่บนเกือบทุกโปรแกรมจัดระบบงาน
มีในเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 8 บิต
ไปจนถึง 32 บิต เครื่องมินิคอมพิวเตอร์
และเมนเฟรม -
เป็นภาษาที่รวมข้อดีเด่นในเรื่องการพัฒนา
จนทาให้ป็นภาษาที่มีผู้สนใจมากมายที่จะเรียนรู้หลั
กการของภาษา และวิธีการเขียนโปรแกรม
ข้อเสีย - เป็นภาษาที่เรียนรู้ยาก -
การตรวจสอบโปรแกรมทาได้ยาก -
ไม่เหมาะกับการเขียนโปรแกรมที่เกี่ยวข้องกับการอ
อกรายงานที่มีรูปแบบซับซ้อน มากๆ
ประวัติภาษาซี
จัดทำโดย
1. นำย ธรำเทพ ชุ่มชื่น ม.5/1 เลขที่ 6
- 2. 2. น.ส. วรรณสวรรค์ อ่อนรู้ที่ ม.5/1 เลขที่ 26
เสนอ
คุณครู จุฑำรัตน์ ใจบุญ
โรงเรียนรัษฎำนุประดิษฐ์อนุสรณ์
ภำคเรียนที่1 ปีกำรศึกษำที่2557
ภาษาซี (C)
เป็นภาษาโปรแกรมบนคอมพิวเตอร์ที่มีวัตถุประสง
ค์ทั่วไป พัฒนาขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2515 (ค.ศ. 1972)
โดย เดนนิส ริตชี ที่เบลล์เทเลโฟนแลบอลาทอรีส์
(Bell Telephone Laboratories)
เกิดขึ้นเพื่อสร้างระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ในขณะนั้น
นอกจากภาษาซีออกแบบ
ขึ้นมาเพื่อสร้างซอฟต์แวร์ระบบแล้ว
ภาษาซียังสามารถใช้อย่างแพร่หลายเพื่อพัฒนาซอฟ
ต์แวร์ประยุกต์ที่เคลื่อนย้าย (portable)
ไปบนระบบอื่นได้อีกด้วย
ภาษาซีเป็นภาษาโปรแกรมหนึ่งที่ได้
รับความนิยมมากที่สุดตลอดกาล
มีสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์เพียงส่วนน้อยเท่านั้น
ที่ไม่มีตัวแปลโปรแกรมของ ภาษาซี
ภาษาซีมีอิทธิพลอย่างมากต่อภาษาโปรแกรมที่นิยม
อื่น ๆ
ที่เด่นชัดที่สุดก็คือภาษาซีพลัส
พลัส ซึ่งเดิมเป็นส่วนขยายของภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โปรแกรมในภาษาซีทุกโปรแกรมจะประกอบด้วยฟั
งก์ชันอย่างน้อย หนึ่งฟังก์ชัน คือ ฟังก์ชัน main
โดยโปรแกรมภาษาซีจะเริ่มทางานที่ฟังก์ชัน
main ก่อน ในแต่ละฟังก์ชันจะประกอบด้วย
1. Function heading
ประกอบด้วยชื่อฟังก์ชัน และอาจมีรายการของ
argument อยู่ในวงเล็บ
2. Variable Declaration
ส่วนประกาศตัวแปร สาหรับภาษาซี
ตัวแปรหรือค่าคงที่ทุกตัว
ที่ใช้ในโปรแกรมจะต้องมีการประกาศก่อนว่าจะใช้
งานอย่างไร จะเก็บค่าในรูปแบบใดเช่น integer
หรือ real number
3. Compound Statements
ส่วนของประโยคคาสั่งต่างๆ
ซึ่งแบ่งเป็นประโยคเชิงซ้อน (compound
statement) กับ ประโยคนิพจน์
(expression statement)
โดยประโยคเชิงซ้อนจะอยู่ภายในวงเล็บปีกกาคู่หนึ่
ง {และ} โดยในหนึ่งประโยคเชิงซ้อน
จะมีประโยคนิพจน์ที่แยกจากกันด้วยเครื่องหมาย
semicolon (;) หลายๆ ประโยครวมกัน และ
อาจมีวงเล็บปีกกาใส่ประโยคเชิงซ้อนย่อยเข้าไปอีก
ได้
รูปแบบของการเขียนโปรแกรม
ชนิดของข้อมูล ประกอบไปด้วย 1.
Character (char) ใช้ 1 byte บน Dos
มีค่า -128 ถึง127 นิยมใช้เก็บตัวอักษร 1
ตัวอักษร 2. Integer (int) ใช้ 2 byte มีค่า
-32768 ถึง 32767 และยังมี long ซึ่งคล้าย
integer แต่เก็บด้วย
ช่วงตัวเลขที่ยาวกว่าจึงกินเนื้อที่ ถึง 4 byte 3.
Float ใช้ 2 byte ใช้เก็บตัวเลขทศนิยม
และยังมี double ซึ่งคล้าย float
แต่เก็บด้วยช่วงตัวเลขที่ยาวกว่าจึงกินเนื้อที่ถึง 4
byte 4. ในภาษา C จะไม่มีชนิดข้อมูลเป็น
string แต่จะใช้สายของอักษร หรือ Array
ของ Char แทนความจริงแล้ว
ชนิดของข้อมูลยังสามารถจาแนกไปได้อีกมาก