ݺߣ
Submit Search
สาระสำคัญྺองศาสนา
•
Download as PPTX, PDF
•
1 like
•
4,396 views
Min Kannita
Follow
สาระสำคัญྺองศาสนา ม.4 นะคะ
Read less
Read more
1 of 30
Download now
Download to read offline
More Related Content
สาระสำคัญྺองศาสนา
2.
พระพุทธศาสนา มีทฤษฎีและวิธีการ ที่เป็นสากล
3.
ทฤษฎี หมายถึง หลักการ
คาว่า วิธีการ หมายถึง แบบอย่างหรือกฎเกณฑ์ และ คาว่า สากล หมายถึง ทัว่ไป ดังนนั้ พระพุทธศาสนามีทฤษฎีและวิธีการที่เป็นสากล หมายถึง พระพุทธศาสนามีหลักคาสัง่สอนที่เป็นหลักการ และกฎเกณฑ์ เป็นที่ยอมรับกันทัว่ไปว่าถูกต้อง หลักคาสัง่สอนที่จัดเป็นทฤษฎีและวิธีการที่เป็นสากล หลายเรื่อง เช่น หลักกฎแห่งกรรม หลักแห่งเหตุและปัจจัย หลักการพัฒนามนุษย์ 4 ด้าน แต่ที่พระพุทธองค์ทรงนามา สอนมากเป็นพิเศษ คือ หลักอริยสัจ 4 หรือ หลักความจริง แห่งชีวิต 4 ประการ ได้แก่
4.
1. ชีวิตแลโลกนี้มีปัญหา (
ทุกข์ ) ชีวิตที่เกิดมาในโลกนี้ล้วน มีปัญหาทั้งสิ้น ปัญหาที่มนุษย์ต้องเผชิญ มีทั้งปัญหาที่เป็น ปัญหาสากล เช่น ปัญหาการเกิด แก่ เจ็บ ตาย ความไม่สม ปรารถนา และ ความพลัดพรากจาก บุคคล สัตว์ สิ่งของ 2. ปัญหามีสาเหตุ มิได้เกิดขึ้น ลอยๆ ( สมุทัย ) ปัญหาที่มนุษย์ เผชิญอย่ดูังกล่าวข้างต้น มิใช่เกิดขึ้น ลอยๆ หรือเกิดขึ้นโดยบังเอิญโดยไม่ มีเหตุปัจจัย ทุกปัญหา เกิดขึ้นอย่างมีสาเหตุทงั้สิ้น
5.
3. มนุษย์สามารถแก้ปัญหาได้ด้วยตนเอง (
นิโรธ )เนื่องจาก ปัญหาทุกปัญหาย่อมมีสาเหตุ การแก้ปัญหาได้ต้องสืบสาวหา สาเหตุให้พบแล้วแก้ที่สาเหตุนั้น ซึ่งเรื่องนี้พระพุทธศาสนาได้สอน ไว้ว่า มนุษย์มีศักยภาพหรือความสามารถเพียงพอที่จะแก้ปัญหา ให้ลุล่วงไปได้ด้วยตัวมนุษย์เอง ้4. กา) รแก้ปัญหานนั้ต้องใช้ปัญญา และความเพียร(มรรค)ใน กระบวนการแก้ปัญหานนั้จา เป็นต้อง ใช้ปัญญา(ความรูและวิริยะ (ความเพียร)อย่างเกื้อหนุนกัน จึงจะ สามารถแก้ปัญหาให้สาเร็จลุล่วงไป ได้
6.
พระพุทธศาสนามี ข้อปฏิบัติ ที่ยึดทางสายกลาง
7.
พระพุทธศาสนามีข้อปฏิบัติ ที่ยึดทางสายกลาง พระพุทธศาสนามีข้อปฏิบัติที่ยึดทางสายกลาง
มัชฌิมาปฏิปทา หมายถึง ทางสายกลางข้อ ปฏิบัติ เป็นกลางๆ ไม่หย่อนจนเกินไปและไม่ตึง จนเกินไป นั่นคือการรู้จักปฏิบัติตนให้พอดี ให้รู้จัก ประมาณ ซึ่งเรียกว่า มรรคมีองค์ 8
8.
1. การปฏิบัติตามทางสายกลาง คือ
มัชฌิมาปฏิปทา เป็นข้อปฏิบัติตรงกลางระหว่างปลายสุด 2 ทางคือ ทางย่อ หย่อน หรือความหมกมุ่นในกาม กับทางตึงเครียด คือการ ทรมานตนให้ ลาบากทางสายกลางเป็นข้อ ปฏิบัติที่พอเหมาะ พอดี คนส่วนมากยกเว้นคนจาพวกดอกบัวใต้น้า สามารถปฏิบัติได้ทุกคน
9.
2) การปฏิบัติอย่างกลาง ๆ
ระหว่างความหย่อน เกินไปกับ ความตึงเกินไป เช่น การทาความเพียรในการปฏิบัติ ถ้ามี ความเพียรหย่อนเกินไปหรือตึงเกินไป ก็ไม่บรรลุมรรค ผล ต้องมีความเพียรพอดี คืออย่างกลาง ๆ จึงจะบรรลุ เปรียบเหมือนกับการขึ้น สายพิณ 3 แบบ คือขึ้น หย่อนไป ดีดไม่ดัง ขึ้นตึงไป ดีดก็ขาด ต้องขึ้น พอดี ดีดแล้วจะ มีเสียง ไพเราะ
10.
3) ความรู้จักประมาณ หรือมัตตัญญุตา
ในการ กระทาต่าง ก็เป็นการปฏิบัติอย่างกลางๆ เช่น ความรู้จักประมาณใน การบริโภคอาหาร ไม่บริโภคจนมากเกินไป ไม่บริโภคน้อย เกินไป บริโภคแต่พอสมควร รวมทงั้ความรู้จักประมาณใน เรื่องอื่นๆ ด้วย จึงมีพุทธศาสน สุภาษิตว่า มตฺตญฺญุตา สทา สาธุ ความรู้จัก ประมาณทาให้สาเร็จประโยชน์ทุกเมื่อ
11.
4) การทาใจเป็นกลาง หรือมีอุเบกขา
ในโลกธรรม โลก ธรรมมี 8 ประการ จาแนกเป็นฝ่ายที่น่าปรารถนา เรียกว่า อิฏฐารมณ์และฝ่ายที่ไม่น่าปรารถนา เรียกว่า อนิฏฐารมณ์ฝ่ายที่น่าปรารถนา 4 ประการ คือ ลาภ ยศ สรรเสริญ สุข ฝ่ายที่ไม่น่า ปรารถนา 4 ประการคือ เสื่อมลาภ เสื่อมยศ นินทา ทุกข์
12.
5) ไม่ส่งเสริมคนผิด และไม่ซ้าเติมคนผิด
คนทาผิดแล้ว ให้แก้ไข ให้กลับตัวเป็นคนดี หลักศรัทธา หมายถึง ความเชื่อ เชื่ออย่างมีเหตุผลอาจแบ่ง ความเชื่อ ออกเป็น 2 ประเภทง่าย ๆ 1. ความเชื่อแบบปิดกั้นปัญญา หมายถึง การ ใช้การบังคับให้เชื่อ โดยไม่มีข้อสงสัย เป็นสิ่งที่ ต้องถือปฏิบัติโดยไม่ต้องถามหาเหตุผล 2. ความเชื่อแบบสื่อนาสู่ปัญญา หมายถึง ความเชื่อที่มีเหตุผล วิเคราะห์ในสิ่งที่ควรเชื่อ หรือไม่ควรเชื่อ
13.
ไตรสิกขา 3
14.
1.ศีลสิกขา การเล่าเรียนฝึกฝนและอบรมในด้าน ความประพฤติ
คือประพฤติดีทางกาย คือมีสัมมากัมมันตะ การกระทาชอบ ได้แก่ สุจริตทางกาย มีสัมมาวาจา เจรจาชอบ ได้แก่สุจริตทางวาจา มี สัมมาอาชีวะ เลี้ยงชีพชอบ คือมีอาชีพที่ สุจริต
15.
2.จิตตสิกขา การฝึกฝนอบรมทางจิตใจ มีจิตใจที่มีประสิทธิภาพ
หรือมี เกราะป้องกันจิต มีสุขภาพจิตที่ดี คือมีสัมมาวายามะ พยายาม ชอบ มีสัมมาสติ ระลึกชอบ คือ มีสติ ระลึกแต่สิ่งที่เป็นกุศลจิต เช่น ไม่ มีราคะ โทสะ โมหะ มีสัมมาสมาธิ จิตตงั้มัน่ชอบ คือ การเพ่งพินิจด้วยจิตที่เป็นสมาธิ แน่วแน่ การมีจิตตงั้มัน่ต่อการ กระทา สิ่งใดสิ่งหนึ่ง เป็นต้น
16.
3.ปัญญาสิกขา การฝึกฝนอบรมทางปัญญา คือมีความรู้ทัว่
มีปรีชาหยัง่รู้ เหตุผล มีความรู้ความเข้าใจชัดเจน รู้จักแยกแยะเหตุผล รู้ดีชัว่ รู้คุณโทษ รู้ประโยชน์มิใช่ประโยชน์ โดยให้มี สมัมาทิฐิความเห็นชอบ คือ มี ความรู้ความเข้าใจ มีสัมมาสังกัปปะ ดาริชอบ คือ การดาริออกจากกามทงั้หลาย ไม่พยาบาทจองเวร หรือ เบียดเบียนคนอื่น การไม่เอา เปรียบใคร ในอริยสัจ 4 มรรค ผล นิพพาน
17.
มรรค 8 ประการ
18.
มรรค 8 ประการ
1. สัมมาทิฐิ คือความเห็นชอบ เช่นเห็นว่า ทาดี ได้ดี ทาชัว่ได้ชัว่ เห็นว่าพ่อแม่มีพระคุณต่อเรา เห็นว่า ร่างกายเป็นของไม่เที่ยง เป็นทกุข์ เป็นต้น 2. สัมมาสังกัปปะ คือความดาริชอบ ได้แก่ คิดที่จะไม่โลภ อยากได้ ของผู้อื่นหรือคิดที่จะหลุดพ้นจาก อานาจ ของสิ่งน่าปรารถนายัว่ยวนใจ คิดที่จะไม่ พยาบาท อาฆาตผู้อื่น และคิดที่จะไม่ เบียดเบียนใครให้เดือนร้อน
19.
3. สัมมาวาจา คือ
การเจรจาชอบ หมายถึง การ พูดจาที่เว้นจากลักษณะของการพูดชัว่ 4 ประการ ได้แก่ การพูดเท็จ การพูดส่อเสียด การพูดคาหยาบ และการพูด เพ้อเจ้อไร้สาระ โดยการพูด แต่สิ่งที่เป็นจริงมี ประโยชน์ พูดด้วยความเมตตา พูดจา ไพเราะ พูดในเวลาที่ควรพูด
20.
4. สัมสมกัมมันตะ คือ
การทางานชอบ หมายถึง การ ประพฤติหรือการทางานอย่างใดอย่างหนึ่งโดยเว้นจากการ ประพฤติดีชัว่ทางกาย 3 ประการ คือ การฆ่าสัตว์ การลัก ทรัพย์ และประพฤติในกาม 5. สัมมาอาชีวะ คือ การเลี้ยงชีพชอบ โดย เว้นจากการเลี้ยงชีพในทางที่ผิด เช่น การ หลอกลวงเขากิน ปล้น การปล้นเขา การ บังคับผู้อื่นให้ค้าประเวณี การค้ายาเสพติด เป็นต้น
21.
6. สัมมาวายามะ คือ
ความเพียรพยายามชอบ หมายถึง ความเพียรพยายามทาสิ่งที่ถูกต้อง ได้แก่ความเพียร พยายาม ระมัดระวังตนมิให้ทาความชัว่ ที่เกิดขึ้นกับตนเอง เพียรพยายามทา ความดีให้เกิดขึ้นกับตน เพียรรักษาความดีที่เกิดขึ้น ในตน ให้อยู่ตลอดไป
22.
7. สัมมสติ คือความระลึกชอบ
หมายถึง การตงั้สติ กา หนดพิจารณาให้เห็นสิ่งทั้งหลายที่ปรากฏตามสภาพ ความเป็นจริง ได้แก่การพิจารณาร่างกาย จิต และ ความรู้สึกของตนให้เห็นตาม สภาพที่เป็นจริง 8. สัมมาสมาธิคือ ความตั้งใจมัน่ชอบ ได้แก่ การตงั้จิตแน่วแน่อยู่กับสิ่งหนึ่งโดยชอบ
23.
หลักธรรมที่เป็น สากล
24.
หลักธรรมที่เป็นสากล เป็นหลักธรรมที่สามารถถือประพฤติ ปฏิบัติได้ทุกชาติ
ทุกภาษา ทุกชนชนั้ของสังคม หากประพฤติ ปฏิบัติตามก็จะสามารถดารงชีวิตอยู่ในโลกนี้ได้อย่างสันติสุข หลักความเป็นกฎ ธรรมชาติ ได้แก่ถือว่า ความจริงนั้นเป็นกฎ ธรรมชาติ เป็นสิ่งที่มีอยู่ ตามธรรมดาของมัน หลักของความเป็นเหตุเป็น ผล หรือความเป็นเหตุปัจจัย แบบอิงอาศัยกันของสิ่ง ทงั้หลาย เรียกว่า “กฎปฏิจจสมุปบาท”
25.
หลักศรัทธา หลักกฎแห่งกรรม เป็นหลักศรัทธาที่นามาสู่
ปัญญานั่นคือ ความไม่เชื่อ อะไรง่าย ๆ จะต้องเชื่อความ จริงที่พิสูจน์ได้ ทดลองได้ หลักธรรมนี้ได้แก่“กาลาม สูตร” หลักการแก้ปัญหาด้วยการกระทาของมนุษย์ตามหลัก เป็นหลักที่ว่าด้วยกรรม (การ กระทา) และวิบากกรรม (ผลของ การกระทา) คือ การกระทากรรม ใดก็ตามก็ย่อมได้รับผลกรรมนนั้ เหตุผล ตอบสนอง เป็นหลักที่มนุษย์สามารถแก้ปัญหาด้วยการกระทาของ ตนเองและด้วยสติปัญญาของตนเอง ไม่ใช่หวังอ้อนวอนจาก ปัจจัยภายนอกหรือสิ่งที่เหนือธรรมชาติ
26.
หลักพระธรรมวินัย หลักการของพระธรรมวินัยหรือคาสัง่ใน พระพุทธศาสนาที่ถือว่าเป็นสากลสามารถนาไปปฏิบัติได้
1) สอนให้พึ่งตนเอง 2) สอนให้ทาความดีด้วยการเสียสละ 3) สอนให้เอาชนะใจตนเอง 4) สอนให้ลงมือปฏิบัติเพื่อให้รู้ แจ้งเห็นจริง 5) สอนให้ถือความถูกต้องเป็นหลัก 6) สอนให้ก้าวหน้าในความดีเสมอ 7) สอนให้รักษากาย วาจา ใจ ด้วยศีล 8) สอนแบบจาแนกแจงแจงตามเหตุผล 9) สอนโดยคานึงถึงความแตกต่างของคน 10) มีการสอนเป็นระดับ ได้แก่ ในระดับโลกิยะ และระดับ โลกุตระ
27.
วิธีการแก้ปัญหาด้วยปัญญาของมนุษย์ก็คือ หลักธรรม “อริยสัจ
4” ได้แก่ 1) ทุกข์ คือ เริ่มด้วยปัญหา ต้องรู้ปัญหาเกิดจากอะไร 2) สมุทัย คือ สืบสาวหาสาเหตุของปัญหา 3) นิโรธ คือ กา หนดจุดหมายที่จะดับหรือแก้ปัญหานนั้ ๆ 4) มรรค คือ ปฏิบัติตามวิธีการให้ถึงความดับหรือแก้ปัญหา นั้น ๆ ได้
28.
หลักไตรลักษณ์ (The Three
Characteristics of Existence) เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า สามัญลักษณะ แปลว่า ลักษณะที่ทัว่ไปหรือเสมอเหมือนกันแก่สิ่งทั้งปวง ประกอบด้วย 1) อนิจจตา (Impermanence) ได้แก่ ความไม่เที่ยง ความไม่คงที่ ความไม่ยัง่ยืน ภาวะที่เกิดขึ้นแล้วเสื่อมและสลายไป 2) ทุกขตา (Stress and Conflict) ได้แก่ ความเป็นทุกข์ ภาวะที่ถูก บีบคนั้ด้วยการเกิดขึ้นและสลายตัว ภาวะที่กดดันฝืนและขัดแย้งอยู่ในตัว 3) อนัตตตา (Soullessness or Non-Self) ได้แก่ ความเป็นอนัตตา ความไม่ใช่ตัวตนความไม่มีตัวตนที่แท้จริงของมันเอง ความไม่เป็นตัวของตัวเอง แต่เป็นไปตามเหตุปัจจัย
29.
ที่มา www.nayoktech.ac.th/~amon/in3.html www.kr.ac.th/ebook/surakeat/b1.htm
www.trueplookpanya.com/new/cms_detail/kn owledge www.mediacenter.mcu.ac.th/data/caipyo/m4/. php
Download