ผู้พิพากษา
- 2. ผู้พิพากษา
• อาชีพ ที่เป็นความใฝ่ฝันของนักกฎหมายอันดับหนงึ่ก็คือผู้พิพากษา ซงึ่เป็นที่ทราบกันดีอยู่
แล้วว่าเป็นอาชีพที่มีบทบาทในการตัดสินอรรคคดีความ ต่างๆ และกว่าที่บุคคลธรรมดาจะ
ได้นงั่บัลลังก์ศาล ก็ต้องผ่านการสอบคัดเลือกกันอย่างชนิดสุดสุดกันทีเดียว มาดูกันครับว่า
จะเป็นผู้พิพากษาได้นัน้ต้องผ่านการคัดเลือกอย่างไร
• การสอบเป็นผู้พิพากษา
• การสอบเข้าเป็นผู้พิพากษาในตาแหน่งผู้ช่วยผู้พิพากษา มีวิธีการคัดเลอืกอยู่ 3 แบบด้วยกัน
โดยแต่ละแบบจะมีคุณสมบัติในการสอบแตกต่างกันออกไป คือ
• การสอบคัดเลือก (สนามใหญ่)
• จะ มีการเปิดสอบเป็นคราว ๆ ไป โดยสานักคณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรมจะเป็น
ผู้ดาเนินการ ตัง้แต่แจกใบสมัคร ส่งไปตรวจร่างกายและจิตใจ ตรวจสอบคุณสมบัติ ประกาศ
รายชื่อผู้มีสิทธิสอบ ดาเนินการสอบ ประกาศผลสอบ และบรรจุเข้ารับราชการ
• คุณสมบัติของผู้สมัครสอบคัดเลือก
• ต้องมีคุณสมบัติ และไม่มีลักษณะต้องห้ามดังนี้
- 3. • 1. มีสัญชาติไทยโดยการเกิด
• 2. ผู้สมัครสอบคัดเลือกหรือผู้สมัครทดสอบความรู้ ต้องมีอายุไม่ต่า กว่ายี่สิบห้าปีบริบูรณ์ ผู้สมัคร
เข้ารับการคัดเลือกพิเศษ ต้องมีอายุไม่ต่า กว่าสามสิบห้าปีบริบูรณ์
• 3. เป็นผู้เลื่อมใสในการปกครองระบอบประชาธิปไตยตามรัฐธรรมนูญด้วยความบริสุทธ์ิใจ
• 4. เป็นสามัญสมาชิกแห่งเนติบัณฑิตสภา
• 5. ไม่เป็นผู้มีความประพฤติเสื่อมเสียหรือบกพร่องในศีลธรรมอันดี
• 6. ไม่เป็นผู้มีหนี้สินล้นพ้นตัว
• 7. ไม่เป็นผู้อยู่ระหว่างถูกสั่งให้พักราชการหรือถูกสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อน ตาม
พระราชบัญญัตินี้หรือตามกฎหมายอื่น
• 8. ไม่เป็นผู้เคยถูกลงโทษไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากราชการ รัฐวิสาหกิจหรือหน่วยงาน
อื่นของรัฐ
• 9. ไม่เป็นผู้เคยต้องรับโทษจา คุกโดยคา พิพากษาถึงที่สุดให้จา คุก เว้นแต่เป็นโทษสา หรับความผิด
ที่ได้กระทา โดยประมาท หรือความผิดลหุโทษ
• 10. ไม่เป็นคนไร้ความสามารถ คนเสมือนไร้ความสามารถ คนวิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือน ไม่
สมประกอบ หรือมีกายหรือจิตใจไม่เหมาะสมที่จะเป็นข้าราชการตุลาการหรือ เป็นโรคที่ระบุไว้
ในระเบียบ ก.ต.
- 4. บันไดขั้นแรกสู่บังลังค์ผู้พิพากษา
บันไดขั้นแรกของการก้าวสู่บัลลังค์ผู้พิพากษาคงหนีไม่พ้นการต้องสา เร็จการ ศึกษาระดับปริญญาตรีใน
คณะนิติศาสตร์ ซึ่งมีเปิดสอนเกือบทุกมหาวิทยาลัย ไม่ว่าจะเป็นมหาวิทยาลัยของรัฐ เอกชน มหาวิทยาลัยเปิด
หรือแม้กระทั่งในส่วนภูมิภาคก็มีราชภัฎประจา จังหวัด เปิดสอนอยู่อย่างครบครัน ส่วนจะเลือกเรียนที่ไหนนั้นก็
คงจะขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายๆประการของผู้เรียน การเรียนในคณะนิติศาสตร์ในระดับปริญญาตรีมีหลักสูตรสี่ปี
ไม่เพียงแต่เด็กมัธยมปลายที่ก้าวเข้ารั้วมหาลัยในฐานะน้องใหม่เฟรชชี่เท่า นั้นที่หันมาสนใจเรียนนิติศาสตร์
เพิ่มขึ้นแต่นิติศาสตร์ยังกลายเป็นคณะยอด ฮิตของคนทา งานที่ต้องการความรู้เพิ่มเติม และมองหาปริญญาใบที่
สอง มีหลายจะสถาบันที่เปิดสอนคณะนิติศาสตร์ภาคบัณฑิต ที่ยอดฮิตก็อย่างมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่เปิดรับให้ผู้สา เร็จการศึกษาในสาขาวิชาอื่นมาศึกษาได้โดยมีหลักสูตร สาม ปี
นิติศาสตร์เป็นศาสตร์ที่เกี่ยวกับกฎเกณฑ์ของสังคม แม้ผู้เรียนอาจจะไม่ได้ หวังไกลไปถึงบัลลังค์ผู้พิพากษา
แต่ความรู้เกี่ยวกับข้อกฎหมายที่ได้รับจาก สาขาวิชานี้ก็สามารถนา ไปใช้ได้จริงในชีวิตประจา วันและดูเหมือนว่า
ชาว นิติศาสตร์ส่วนใหญ่เกือบครึ่งเลือกเรียนในคณะนี้ จะมุ่งเป้าไปที่ตา แหน่งผู้พิพากษาเป็นอันดับหนึ่ง แม้ว่าใน
แต่ละปีจะมีผู้ผ่านการสอบคัดเลือกและได้รับการบรรจุแต่งตั้งเพียง หลักร้อยเท่านั้น แต่การคัดเลือกผู้พิพากษา
นั้นกลับไม่ใช่การสอบแข่งขัน เอาคะแนนสูงสุดแต่จะเรียกว่าเป็นระบบการสอบแข่งขันกับตัวเองก็คงไม่ผิดนัก
คือหากสามารถสอบผ่านเกณฑ์ที่ก.ต.กา หนดไว้ก็สามารถเข้าเป็นผู้ช่วยผู้พิพากษา ได้
- 5. ความหมายของคาวาผู้พิพากษา
ผู้พิพากษา หมายถึง ข้าราชการตุลาการผู้มีอา นาจและหน้าทที่ในการพิจารณาพิพากษาอรรถคดี
ผู้พิพากษาตามความหมายทางด้านกฎหมายประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา1 (1)
นิยามคา ว่าศาลหมายความว่าศาลยุติธรรมหรือผู้พิพากษาที่มีอา นาจพิจารณาความแพ่งและประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา2 (1) ศาลหมายความถึงศาลยุติธรรมหรือผู้พิพากษาซึ่งมี
อา นาจทา การอันเกี่ยวกับคดีอาญา
- 6. จริยธรรมผู้พิพากษา
• เ ดิมมีเพียงธรรมเนียมปฏิบัติในการวางตัวของผู้พิพากษาที่ปฏิบัติติดต่อกันมาเท่านัน้ สงิ่ใด
กระทาได้ สงิ่ใดกระทาไม่ได้ เป็นธรรมเนียมปฏิบัติต่อๆ กันมา เพราะผู้พิพากษาในประเทศ
มีเพียงจานวนน้อย ต่อมาจานวนผู้พิพากษาได้เพิ่มขึน้ ธรรมเนียมปฏิบัติต่างๆ ที่เคยปฏิบัติ
กันมา บางอย่าง ก็มีการเปลี่ยนแปลง แก้ไข เพราะการเปลี่ยนแปลง ของสังคมภายนอก
ทาให้การปฏิบัติตัว ของผู้พิพากษา บางครัง้ มองดูแล้ว ไม่เหมาะสมบ้าง ทปี่ระชุม
คณะกรรมการ ตุลาการครัง้ที่ ๖/๒๕๒๗ เห็นวา่ ผู้พิพากษาบางท่าน ประพฤติตนในบางสิ่ง
บางอย่าง ซงึ่ที่ประชุมยังโต้เถียงกันอยู่ว่า การกระทาดังกล่าวนัน้ เหมาะสมหรือไม่ เพราะยัง
ไม่มีกฏเกณฑ์วางไว้ เป็นที่แน่นอน ที่ประชุมจึงมีความเห็นว่า น่าจะมีระเบียบ หรือ
คาแนะนา หรือมีการวางแนวปฏิบัติไว้ ให้ผู้พิพากษาประพฤติ เพราะแม้จะมีวินัย อยู่ใน
กฎหมายว่า ด้วยระเบียบ ข้าราชการฝ่ายตุลาการ ก็เป็นเพียงกา รวางหลักเกณฑ์ไว้กว้างๆ
บางเรื่องยังคลุมไปไม่ถึง และบางเรื่อง เป็นเรื่องละเอียดอ่อน ที่ไม่ได้เขียนไว้ จึงตัง้
คณะกรรมการ วางหลักเกณฑ์ เรียกว่า ประมวลจริยธรรม ข้าราชการตุลาการขึน้ ซงึ่ในด้าน
จริยธรรม เกี่ยวกับกิจการอื่น และเกี่ยวการดารงตน และครอบครัวนัน้ ได้บัญญัติไว้ทัง้หมด
๑๖ ข้อ ซึ่งจะนามาให้ดู ดังต่อไปนี้
- 7. • ๑. ผู้พิพากษาจักต้องไม่เป็นกรรมการ
ผู้จัดการ ที่ปรึกษาหรือดา รงตา แหน่งอื่นใด ในห้างหุ้นส่วน บริษัท ห้างร้าน หรือธุรกิจของเอกชน
เว้นแต่เป็นกิจกรรม ที่มิได้แสวงหากา ไร ผู้พิพากษาจักต้องไม่ประกอบอาชีพ หรือวิชาชีพ หรือ
กระทา กิจการใด อันจะกระทบกระเทือน ต่อการปฏิบัติหน้าที่ หรือเกียรติศักด์ิของผู้พิพากษา
• ๒. ในกรณีจา เป็นผู้พิพากษาอาจได้รับมอบหมายหรือแต่งตั้งจากหน่วยราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือ
หน่วยงานอื่น ของรัฐ ให้ปฏิบัติ หน้าที่อันเกี่ยวกับหน่วยราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานนั้น
ได้ ในเมื่อการปฏิบัติ หน้าที่ดังกล่าว ไม่กระทบกระเทือน ต่อการปฏิบัติหน้าที่ หรือเกียรติศักด์ิ
ของผู้พิพากษา ทั้งจักต้อง ได้รับอนุญาต จากกระทรวงยุติธรรม แล้วการเป็นกรรมการใน
รัฐวิสาหกิจ หรือกิจการอื่นของรัฐ ในทา นองเดียวกัน จักต้องได้รับอนุมัติจาก ก.ต.ด้วยผู้พิพากษา
ไม่พึงแสดงปาฐกถา บรรยาย สอน หรือเข้าร่วมสัมมนา อภิปราย หรือแสดงความคิดเห็นใดๆ ต่อ
สาธารณชน ซึ่งอาจกระทบกระเทือน ต่อการปฏิบัติหน้าที่ หรือเกียรติศักด์ิ ของผู้พิพากษา
• ๓. ผู้พิพากษาไม่พึงเป็นกรรมการ สมาชิก หรือเจ้าหน้าที่ของสมาคม สโมสร ชมรม หรือ
องค์การใดๆ หรือเข้าร่วม ในกิจการใด ๆ อันจะกระทบกระเทือน ต่อการปฏิบัติหน้าที่ หรือ
เกียรติศักด์ิ ของผู้พิพากษา
• ๔. ผู้พิพากษาไม่พึงรับเป็นผู้จัดการมรดก ผู้จัดการทรัพย์สิน หรือผู้ปกครองทรัพย์
- 8. ๕. ผู้พิพากษาไม่พึงรับเป็นอนุญาโตตุลาการ หรือผู้ประนอมข้อพิพาท
๗. ผู้พิพากษาจักต้องสนับสนุน การปกครองระบอบประชาธิปไตย ตามรัฐธรรมนูญ ซึ่งมีพระมหากษัตริย์ ทรง
เป็นพระประมุขแห่งรัฐ
๘. ผู้พิพากษาจักต้องไม่เป็นกรรมการ สมาชิก หรือเจ้าหน้าที่ในพรรคการเมือง หรือกลุ่ม
๙. ผู้พิพากษาจักต้องเคารพและปฏิบัติตามกฎหมายอย่างเคร่งครัด
๑๐. ผู้พิพากษาพึงปรับปรุงตนเองให้ดีขึ้นเป็นลา ดับ
๑๑. ผู้พิพากษาจักต้องไม่ยินยอมให้บุคคลในครอบครัว ก้าวก่ายการปฏิบัติหน้าที่ของตน หรือ ของผู้อื่น
๑๒. ผู้พิพากษาพึงยึดมั่นในระบบคุณธรรม และจักต้องไม่แสวงหาตา แหน่ง ความดีชอบ หรือประโยชน์อื่นใด
๑๓. ผู้พิพากษาจักต้องระมัดระวังมิให้การประกอบวิชาชีพ
๑๔. ผู้พิพากษาและคู่สมรสจักต้องไม่รับทรัพย์สินหรือประโยชน์ใดๆ
๑๕. ผู้พิพากษาและคู่สมรสจักต้องไม่รับของขวัญของกา นัล
๑๖. ผู้พิพากษาจักต้องละเว้นการคบหาสมาคมกับคู่ความ หรือบุคคลอื่น ซึ่งมีส่วนได้เสีย หรือ ผลประโยชน์
เกี่ยวข้อง กับคดีความ
- 9. อา นาจหน้าที่ของผู้พิพากษา
• ในฐานะที่ศาลเป็นองค์กรหนึ่งของรัฐจึงจาเป็นต้องมีการบริหารงาน
ภายในองค์กรเช่นเดียวกับองค์กรของรัฐอื่นๆ ดังนัน้ อานาจหน้าที่ของผู้
พิพากษาจึงอาจได้เป็นสองประเภทใหญ่ๆ คือ[1]
• (๑) อานาจหน้าที่ในส่วนงานธุรการ
• (๒) อานาจหน้าที่ในงานส่วนตุลาการ ซึ่งแบ่งออกได้เป็น
การบริหารจัดการคดีและการพิจารณาพิพากษาคดี