ݺߣ
Submit Search
ปรียบเทียบ
•
0 likes
•
1,612 views
ส
สุชญา สกุลวงศ์
Follow
1 of 4
Download now
Download to read offline
More Related Content
ปรียบเทียบ
1.
มาตรฐานการปฏิบัติ การดำเนินงานของแม่เมาะ มาตรฐานการควบคุมด้านอากาศ
เกณฑ์ดัชนีคุณภาพอากาศสำหรับประเทศไทย • ใช้นํ้าฉีดพรมตลอดบนถนนในและนอกบ่อเหมือง ตลอดเวลาการทำงาน • ปรับปรุงสภาพถนนให้เป็นถนนลาดยางมากขึ้น • จำกัดความเร็วของรถวิ่งในบ่อและรอบบ่อไม่เกิน 60 กิโลเมตรต่อชั่วโมง • ปิดคลุมที่สายพานลำเลียงถ่านและจุดเปลี่ยน สายพานงานดินและถ่าน • ติดตั้งระบบฉีดพรมนํ้าที่บุ้งกี้หมุนสำหรับขุดดิน และเครื่องตักถ่าน • ติดตั้งระบบฉีดพรมนํ้าลานกองถ่าน • ปลูกแนวต้นไม้ (Green Belt) เป็นฉากกั้นฝุ่นทาง ทิศเหนือและทิศใต้ของเหมือง ค่ามาตรฐาน การตรวจวัดคุณภาพอากาศ SO2 320 ppm NOx 500 ppm ฝุ่นละออง 180 mg/m3 เหมืองลิกไนต์ มีฝุ่นละอองกระจาย จากการบุกเบิกหน้า ดิน การขนส่งดินและถ่านลิกไนต์ ตลอดจนการทิ้งคืน นอกจากนี้กองถ่านลิกไนต์จะเกิดการสันดาปเองทำให้เกิด ควันและก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ขึ้นด้วยแต่ไม่มีการเปิดเผย ผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศในส่วนนี้ แต่มีการเปิดเผยผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศที่ปล่องของ โรงไฟฟ้าแม่เมาะ และมีการดำเนินงานดังนี้ 1.การติดตั้งเครื่องกำจัดก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ 2.ให้มีถ่านลิกไนต์กำมะถันตํ่าสำรองไว้ใช้ที่โรงไฟฟ้าแม่ เมาะตลอดเวลา โดยใช้ถ่านซึ่งจัดซื้อจากเอกชน มีส่วนผสม ของซัลเฟอร์น้อยกว่า 1 เปอร์เซ็นต์ซัลเฟอร์ และถ่าน
2.
คุณภาพดีของเหมือง แม่เมาะซึ่งมีส่วนผสมของซัลเฟอร์ น้อยกว่า
2 เปอร์เซ็นต์ซัลเฟอร์ 3.ติดตั้งระบบตรวจวัดคุณภาพอากาศที่มีอยู่ให้เป็นระบบ REAL TIME AIR QUALITY MONITORING และ เชื่อมโยงผลการตรวจวัดให้สามารถอ่านค่าได้ตลอด 24 ชั่วโมง ที่ห้องศูนย์ควบคุมการเดินเครื่องของโรงไฟฟ้าแม่ เมาะ และโรงพยาบาลแม่เมาะ 4.กรมควบคุมมลพิษจะสรุปค่าก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ที่ จุดวัดต่างๆ ส่งให้ราษฎรทราบโดยผ่านกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน สัปดาห์ละ 1 ครั้ง ผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศจากปล่องโรงไฟฟ้า กฟผ.ปี 2556 SO2 14-199 ppm NOx 62-372 ppm ฝุ่นละออง 3-26 mg/m3 มาตรฐานระดับเสียงจากการทำเหมืองหิน มาตรฐานระดับเสียง 1. ค่าระดับเสียงสูงสุด ไม่เกิน 115 เดซิเบลเอ 2. ค่าระดับเสียงเฉลี่ย 8 ชั่วโมง ไม่เกิน 75 เดซิเบลเอ 3. ค่าระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง ไม่เกิน 70 เดซิเบลเอ การตรวจวัดระดับเสียง 1. การตรวจวัดค่าระดับเสียงสูงสุด ให้ใช้มาตรระดับเสียง ตรวจวัดระดับเป็นค่า SPL( Sound Pressure Level ) ในขณะ ระเบิดหิน 2. การตรวจวัดค่าระดับเสียงเฉลี่ย 8 ชั่งโมง ให้ใช้มาตรวัด ระดับเสียงตรวจวัดระดับเสียงอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา 8 ชั่วโมง ที่มีการโม่ บด และย่อยหิน 3. การตรวจวัดค่าระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง ให้ใช้มาตร ระดับเสียงตรวจวัดระดับเสียงอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา 24 ชั่วโมงใด ๆ 4. การตั้งไมโครโฟนของมาตรระดับเสียงให้ตั้งในบริเวณ ขอบของเขตประทานบัตรหรือเขตประกอบการ หรือขอบ ด้านนอกของเขตกันชน (Buffer Zone) และในเขตที่มีการ ร้องเรียน ตามวิธีการที่องค์การระหว่างประเทศว่าด้วย มาตรฐาน (International Organization for Standardization) กำหนดไว้ ซึ่งมีรายละเอียดตามที่กำหนดไว้ในภาคผนวก 1 1.ให้ผู้รับจ้างมีการบำรุงรักษาเครื่องจักรกล และระบบ สายพานลำเลียงให้มีสภาพดีอยู่เสมอเพื่อลดระดับเสียงดัง จากการเสียดสีชิ้นส่วนของเครื่องจักร 2.ใช้แผ่นยางรองกันกระแทก บริเวณจุดเปลี่ยนสายพานและ เครื่องโม่เพื่อลดเสียงกระแทก 3.ปลูกต้นไม้เป็นแนวกั้นระหว่างบ่อเหมืองและชุมชนที่ไว ต่อการได้รับผลกระทบ 4.ให้ผู้ปฏิบัติงานในบ่อเหมืองที่อยู่ใกล้กับแหล่งกำเนิดเสียง สวมอุปกรณ์ป้องกันเสียง (Ear Plug) กองทุนพัฒนาไฟฟ้า ได้จ้างทีมวิจัยจาก มหาวิทยาลัย บูรพา สำรวจผลกระทบจากโรงไฟฟ้าแม่เมาะ รอบพื้นที่ รัศมี 15 กิโลเมตร พบภาพรวมของคุณภาพอากาศ ระดับ เสียง และการสั่นสะเทือน ไม่ส่งผลต่อสุขภาพประชาชน และสิ่งปลูกสร้างในพื้นที่ ระดับเสียงของโรงไฟฟ้าแม่เมาะโดยเฉลี่ย ปี 2556 ไม่เกิน ค่ามาตรฐานที่กำหนด
3.
ท้ายประกาศนี้ มาตรฐานการสั่นสะเทือนจากการทำเหมืองหิน ค่ามาตรฐาน
2.0 มม./วินาที กองทุนพัฒนาไฟฟ้า ได้จ้างทีมวิจัยจาก มหาวิทยาลัยบูรพา สำรวจผลกระทบจากโรงไฟฟ้าแม่เมาะ รอบพื้นที่รัศมี 15 กิโลเมตร พบภาพรวมของระดับเสียง และการสั่นสะเทือน ไม่ส่งผลต่อสุขภาพประชาชนและสิ่งปลูกสร้างในพื้นที่ ค่าความสั่นสะเทือนสูงสุด วันที่ 17 เม.ย. 2555 เวลา 12.45 น. ค่าที่วัดได้ 0.3 มม./วินาที มาตรฐานการควบคุมด้านกลิ่น มาตรา 26 และมาตรา 27 ได้ให้อำนาจแก่เจ้าพนักงาน ท้องถิ่นสามารถมีดุลพินิจที่จะชี้ว่าการกระทำใดเป็นเหตุให้ เสื่อมหรืออาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพหรือไม่ และสามารถ ใช้อำนาจทางบริหารห้ามมิให้มีการก่อเหตุรำคาญ หรือให้ ระงับป้องกันเหตุรำคาญนั้นเสีย อย่างไรก็ดีเหตุเดือดร้อนรำคาญนี้ โดยลักษณะตาม ธรรมชาติของปัญหาจะเป็นกรณีที่มีสิ่งรบกวนเกิดขึ้นมา ก่อน แล้วจึงค่อยมาพิจารณาว่าสิ่งรบกวนนั้นเป็นเหตุ เดือดร้อนรำคาญที่ต้องห้ามหรือไม่ ดังนั้นจึงไม่อยู่ในวิสัยที่ สามารถออกมาตรฐานมาควบคุม ป้องกันเอาไว้ก่อนได้ ขณะที่การควบคุมมลพิษอากาศด้านกลิ่นจากโรงงาน อุตสาหกรรมนั้นสามารถควบคุมป้องกันได้โดยตรง โดย กำหนดเป็นมาตรฐานในการกำจัด และจัดการของเสียที่มี สารก่อกลิ่นให้ถูกวิธี อย่างไรก็ตามหากเกิดข้อร้องเรียนที่ยังเป็นปัญหาว่า กิจการนั้น ๆ ได้ก่อเหตุเดือดร้อนรำคาญด้านกลิ่นหรือไม่ก็ 1.บริเวณลานกองถ่าน • ใช้ถ่านในการกองถ่านให้สั้นที่สุด โดยถ่านที่เข้า มากองก่อนจะถูกนำไปใช้ก่อน (First In First Out) • เมื่อย้ายพื้นที่ขุด/ตักถ่านจะเก็บเศษถ่านออกจาก พื้นที่ให้เหลืออยู่น้อยที่สุด 2.ในบ่อเหมือง • เมื่อเปิดหน้าดินจะเหลือดินคลุมถ่านไว้ 1 เมตร เพื่อไม่ให้ถ่านสัมผัสกับอากาศ • บ่อเหมืองที่เข้าตำแหน่งสุดท้าย (Final Limit) หาก มีถ่านโผล่ตามผนังบ่อ จะใช้ดินถมและบดอัด 3.บริเวณที่ทิ้งดิน • ตัดยอดกองและบดอัดดินที่มีเศษถ่านปนอยู่ให้ แน่น
4.
จำเป็นต้องหามาตรการตรวจวัดกลิ่นเพื่อตัดสินว่าจะต้องมี การแก้ปัญหาเพิ่มเติมอย่างไร หากปัญหาความขัดแย้ง
หรือ การร้องเรียนนั้นอยู่ในระดับเจ้าหน้าที่ฝ่ายบริหารปกครอง กรม หรือกระทรวงที่ดูแลอยู่ก็ สามารถหามาตรการในการ ตรวจวัดที่เหมาะสมมาพิจารณา โดยอาจตั้งเป็น คณะกรรมการพิสูจน์กลิ่น หรือพนักงาน เจ้าหน้าที่ใช้ ดุลพินิจของตนเอง หรือโดยอาศัยความเห็นจากประชาชน ในบริเวณที่เกิดเหตุ มาตรฐานการควบคุมด้านนํ้า บทบัญญัติมาตรา 67 นี้เป็นการวางมาตรฐานนํ้าทิ้ง จากการทำเหมืองแร่โดยให้ออกเป็นกฎกระทรวง ซึ่งได้มี การกำหนดมาตรฐานดังกล่าวไว้ใน กฎกระทรวง ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2513) ว่าด้วยอัตราปล่อยนํ้าขุ่นข้นหรือมูลดิน ทรายอันเกิดจากการทำเหมืองออกนอกเขตเหมืองแร่ คือ ความขุ่นข้นหรือมูลดินทรายไม่เกิน 6 กรัมในนํ้าขุ่นข้น หรือมูลดินทรายที่จะปล่อยออกจากเหมืองแร่แล้ว การจัดการด้านนํ้าของเหมืองแม่เมาะมีการดำเนินงานดังนี้ แต่ไม่มีการเปิดเผยรายงานตัวเลขผลการวัดคุณภาพนํ้าหรือ ความขุ่นข้นหรือมูลดินทรายก่อนปล่อยนํ้าออกสู่แหล่งนํ้า สาธารณะ • จัดทำระบบระบายนํ้าเพื่อแยกนํ้าดีและนํ้าเสียออก จากกัน และสร้างที่กักเก็บนํ้าบนที่ทิ้งดิน เพื่อลด การปนเปื้อนของนํ้าจากที่ทิ้งดิน • สร้างระบบเก็บกักนํ้าเพิ่มมากขึ้น เพื่อสำรองนํ้าไว้ ใช้ในช่วงฤดูแล้ง และ ลดปริมาณนํ้าทิ้ง • สร้างคันกั้นนํ้า (CHECK DAM) บริเวณลำห้วย เพิ่มมากขึ้น เพื่อให้มีการตกตะกอนของสาร แขวนลอย • ปลูกพืชคลุมดินเพื่อลดการปนเปื้อน อ้างอิง http://www.doctor.or.th/article/detail/3212 http://maemohmine.egat.co.th/
Download