ݺߣ
Submit Search
มะม่วงป็Ȩืชที่มีความสำคัญของประทศไทยซึ่งมีผู้ที่ปลูกและรับประทาȨป็ȨันึϸบหȨ่งของ
•
Download as DOCX, PDF
•
0 likes
•
945 views
Hero Siamza
Follow
e
Read less
Read more
1 of 3
Download now
Download to read offline
More Related Content
มะม่วงป็Ȩืชที่มีความสำคัญของประทศไทยซึ่งมีผู้ที่ปลูกและรับประทาȨป็ȨันึϸบหȨ่งของ
1.
ขั้นตอนการเคลือบผิวผลไม้ การเคลือบผิวมะม่วง วัสดุอุปกรณ์
1.มะมว่ง 2.ไคโตซาน 3.ถุงมือยาง 4.น้า 5.ถังน้า วิธีการการเคลือบผิวมะม่วง 1. ล้างมะมว่งให้สะอาดแล้วนาไปผึ่งให้แห้ ง 2. นาไคโตซานมาเคลือบผิวให้ทั่ว 3. ทิ้งไวใ้ห้แห้ง อ้างอิง http://www.kmutt.ac.th/titec/gtz/mango-detail-upload1. html http://th.wikipedia.org/wiki/ http://www.gpo.or.th/rdi/html/chitin.html โครงงาน IS การยืดอายุของมะม่วงด้วยการเคลือบผิวจา กสารในธรรมชาติ จัดทาโดย นายธนดล อรุณภักดี เลขที่ 4 นายพนธกร สายทองเถื่อน เลขที่ 26 นายอดิศักด์ิ สิงห์อาจ เลขที่ 27 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/5 เสนอ คุณครู ธนาศักด์ิ เสี่ยมแหลม โรงเรียนชุมแพศึกษา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา เขต 25
2.
มะมว่งเป็นพืชที่มีความสาคัญของประเท ศไทยซึ่งมีผู้ที่ปลูกและรับประทานเป็นอันดับหนึ่ งของประเทศไทยและนอกจากนี่มะมว่งได้เป็นพื
ชเศรษฐกิจที่สาคัญของประเทศไทยโดยมีตลาดส่ งออกที่สาคัญคือประเทศญี่ปุ่น ประเทศในยุโรป และ ประเทศสหรัฐอเมริกาเนื่องจากผลมะมว่งมีคุณภา พดี มีคุณคา่ทางโภชนาการ อร่อย หอม รสชาติหวานอมเปรี้ยวเล็กน้อย ซึ่งเป็นที่ชื่นชอบของชาวตา่งชาติปัจจุบันการส่งอ อกมะมว่งสดยังต้องอาศัยการขนส่งทางเครื่องบิน เพราะมะมว่งเป็นผลไมที้่มีอายุการเก็บรักษาสั้น จึงจา เป็นต้องเลือกใช้วิธีการขนส่งที่สั้นที่สุดเพื่อรั กษาคุณภาพผลของมะมว่งให้ยังเป็นที่ต้องการขอ งผู้บริโภค ดังน้นกลุม่ของพวกเราจึงพยายามที่จะหา วิธีที่ยืดอายุของมะมว่งให้นานที่สุดและไมเ่ป็นอัน ตรายกบัผู้บริโภคและกลุ่มของพวกเราก็ได้พบกับ วิธีการเคลือบผิวจากสารในธรรมชาติซึ่งไมเ่ป็นอั นตรายกบัผู้บริโภค มะม่วง มะมว่ง (mango) เป็นผลไมใ้นเขตร้อนมีชื่อวิทยาศาสตร์คือMangife raindicaLinn. อยูใ่นวงศ์Anacardiaceaeมีถิ่นกาเนิดอยูใ่นประเท ศอินเดียและพมา่และประเทศในแถบเอเซียตะวนั ออกเฉียงใต้ได้แกไ่ทยพมา่และมาเลเซียมะมว่งเป็ นผลไมที้่ปลูกง่ายสามารถขึ้นได้ดีในสภาพดินแท บทุกชนิดประกอบกบัผลมีรสชาติอร่อยสามารถรั บประทานได้ทั้งผลดิบผลสุกสามารถแปรรูปเก็บไ วรั้บประทานนอกฤดูกาลได้ สารยืดอายุการเก็บรักษาผลผลิตหลังการเก็บเกี่ยว สารไคติน ไคติน มีชื่อทางเคมีวา่ Poly [b-(1®4)-2- acetamido-2-deoxy-D-glucopyranose] ซึ่งพบมากในเปลือกกุง้ กระดองปู แกนปลาหมึก ผนังเซลล์ของเชื้อจุลินทรีย์และเห็ดรา อยา่งไรก็ตามการผลิตเชิงพาณิชย์มกัจะใช้เปลือก กุง้ กระดองปูและแกนปลาหมึกเป็นวตัถุดิบ โดยผา่นกระบวนการผลิตที่ไมยุ่ง่ยากนัก ได้แก่ กระบวนการสกดัโปรตีน โดยใช้โซเดียมไฮดรอกไซด์เจือจาง และกระบวนการสกดัแร่ธาตุ โดยใช้กรดเกลือเจือจาง ผลิตภัณฑ์ที่ได้จะเรียกวา่ “ไคติน” ไคโตซาน ไคโตซานเป็นไบโอโพลิเมอร์ธรรมชาติอ ยา่งหนึ่ง ซึ่งมีองค์ประกอบสาคัญในรูปของ D – glucosamine พบได้ในธรรมชาติ โดยเป็นองค์ประกอบอยูใ่นเปลือกนอกของสัตว์พ วกกุง้ ปู แมลงและเชื้อราเป็นสารธรรมชาติที่มีลักษณะโด ดเดน่เฉพาะตัวคือที่เป็นวสัดุชีวภาพ (Biometerials) ยอ่ยสลายตามธรรมชาติ มีความปลอดภัยในการนามาใช้กับมนุษย์ ไมเ่กิดผลเสียและปลอดภัยตอ่สิ่งแวดล้อม
3.
ไมเ่กิดการแพ้ ไมไ่วไฟและไมเ่ป็นพิษ (non–
phytotoxic)ตอ่พืชนอกจากนี้ยังส่งเสริมการเพิ่มป ริมาณของสิ่งมีชีวิตที่มีประโยชน์
Download