ݺߣ
Submit Search
สรุปอิȨตอร์Ȩตและการสืบค้Ȩ้อมูล
•
Download as DOC, PDF
•
2 likes
•
8,131 views
Happy Sara
Follow
สรุป เนื้อหาประวัติอินเตอร์เน็ตและการสืบค้น
Read less
Read more
1 of 12
Download now
More Related Content
สรุปอิȨตอร์Ȩตและการสืบค้Ȩ้อมูล
1.
ความหมายของ อินเตอร์เน็ต วิวัฒนาการของ
อินเตอร์เน็ต สรุปกลุ่มที่ 6 อินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล อินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล อินเตอร์เน็ต (Internet) มาจากคำาว่า Inter Connection Network หมายถึง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ ที่มีการเชื่อมต่อระหว่างเครือข่าย หลายๆ เครือข่ายทั่วโลก โดยใช้ภาษาที่ใช้สื่อสารกันระหว่างคอมพิวเตอร์ที่ เรียกว่า โพรโทคอล (Protocol) และมี“ไอพี-แอดเดรส” (IP-Address) ใน การระบุชื่อเครื่องในแต่ละจุดที่เชื่อมต่อ อินเตอร์เน็ตนั้น สามารถสื่อสารกัน ได้หลายเส้นทาง ตามความต้องการ โดยไม่กำาหนดตายตัว และไม่จำาเป็น ต้องไปตามเส้นทางโดยตรง อาจจะผ่านจุดอื่น ๆ หรือเลือกไปเส้นทางอื่นได้ หลายๆ เส้นทาง การ ติดต่อสื่อสาร ผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต นั้นอาจ เรียกว่า การติดต่อสื่อสารแบบไร้มิติ ปี พ.ศ.2500 โซเวียตได้ปล่อยดาวเทียม (Sputnik) ทำาให้ สหรัฐอเมริกาได้ตระหนักถึงปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้น ปี พ.ศ. 2512 กองทัพสหรัฐต้องเผชิญหน้ากับความเสี่ยงทางการ ทหาร และความเป็นไปได้ในการถูกโจมตี ด้วยอาวุธปรมาณู หรือนิวเคลียร์ 1
2.
สรุปกลุ่มที่ 6 อินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
การถูกทำาลายล้าง ศูนย์คอมพิวเตอร์ และระบบการสื่อสารข้อมูล อาจทำาให้ เกิดปัญหาทางการรบอินเตอร์เน็ต ซึ่งเป็นโครงการของ ARPAnet (Advanced Research Projects Agency Network) ซึ่งเป็นหน่วยงานที่ สังกัด กระทรวงกลาโหม ของสหรัฐ (U.S.Department of Defense - DoD) ARPA ได้รับทุนสนันสนุน จากหลายฝ่าย ซึ่งหนึ่งในผู้สนับสนุนก็คือ Edward Kenedy และเปลี่ยนชื่อจาก ARPA เป็น DARPA(Defense Advanced Research Projects Agency) พร้อมเปลี่ยนแปลงนโยบายบาง อย่างได้ทดลองการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ คนละชนิด จาก 4 แห่งเข้าหากัน เป็นครั้งแรก คือ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย สถาบันวิจัยสแตนฟอร์ด มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย และมหาวิทยาลัยยูทาห์ เครือข่ายทดลองประสบ ความสำาเร็จอย่างมาก- ค.ศ.1975(พ.ศ.2518) จึงได้เปลี่ยนจากเครือข่าย ทดลอง เป็นเครือข่ายที่ใช้งานจริง ซึ่ง DARPA ได้โอนหน้าที่รับผิดชอบ โดยตรงให้แก่ หน่วยการสื่อสารของกองทัพสหรัฐ ปี พ.ศ. 2526 DARPA ตัดสินใจนำา TCP/IP (Transmission Control Protocal/Internet Protocal) มาใช้กับคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องใน ระบบ ทำาให้เป็นมาตรฐานของวิธีการติดต่อ ในระบบเครือข่าย Internet จน กระทั่งปัจจุบัน ปี พ.ศ. 2529 อยู่ในแต่ละเครือข่ายเพื่อสร้าง ฐานข้อมูลแบบกระจาย การกำาหนดชื่อโดเมน (Domain Name System) ปี พ.ศ.2530 ประเทศไทยได้มีการเชื่อมโยงเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ครั้งแรก โดยมีจุดประสงค์เพื่อเชื่อมโยงกับมหาวิทยาลัยต่างๆ ทั้งในประเทศ และต่างประเทศ โดยมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และสถาบันเทคโนโลยี แห่งเอเชีย (AIT) เชื่อมโยงกับมหาวิทยาลัยเมลเบิร์นในออสเตรเลีย แต่ไม่ได้ รับความนิยมเท่าที่ควร เนื่องจากการส่งข้อมูลล่าช้า 2
3.
ยุคของอินเตอร์เน็ต สรุปกลุ่มที่ 6
อินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล ปี พ.ศ. 2535 ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่ง ชาติ (Nectect) ร่วมกับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีแห่ง เอเชีย (AIT) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และหา วิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ร่วมมือกันเช่าสายโทรศัพท์เพื่อต่อพ่วงคอมพิวเตอร์ แต่ละสถาบันเข้าด้วยกัน โดยเรียกเครือข่ายสมัยนั้นว่า“เครือข่ายไทยสาร” ปี พ.ศ. 2537 เครือข่ายไทยสารเติบโตขึ้นเรื่อยๆ และมีหน่วยงาน ต่างๆของราชการเข้ามาเชื่อมต่อในเครือข่ายมากขึ้น เรื่อยๆจึงได้ร่วมมือกับ บริษัทเอกชนเปิดให้บริการอินเตอร์เน็ตแก่บริษัทต่างๆ หรือบุคคลทั่วไปที่ สนใจ โดยเรียกบริษัทเอกชนที่ให้บริการทางอินเตอร์เน็ตเชิงพาณิชย์ว่า ISP (Internet Service Provider) "Internet 1.0" ยุคแรก ในยุคนี้พัฒนาการของอินเตอร์เน็ตจะเป็นเพื่อการสื่อสาร ระหว่างบุคคลที่ใช้ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับอินเตอร์เน็ต เทคโนโลยีที่สำาคัญที่พัฒนาใช้งานกับอินเตอร์เน็ตเพื่อการสื่อสารในยุคนี้ ได้แก่ อีเมล (Email) และ ยูสเน็ต (UseNet) "Internet 2.0" ยุคต่อมาเป็น ยุคของการเชื่อมต่อเพื่อสื่อสารระหว่างบุคคลกับ คอมพิวเตอร์ (Human-to-Computer Communication) เทคโนโลยีสำาคัญที่ 3
4.
การทำางานของ อินเตอร์เน็ต สรุปกลุ่มที่
6 อินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล พัฒนาขึ้นเพื่อใช้งานอินเตอร์เน็ตในยุคนี้ได้แก่ เว็บ (Web หรือ World Wide Web) เว็บเปิดโอกาสให้บุคคลสามารถเข้าใช้คอมพิวเตอร์เพื่อทำางาน ใดงานหนึ่งจากระยะไกลได้ผ่านกระบวนการใช้งานที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน "Internet 3.0" ยุคที่สามของอินเตอร์เน็ตเป็นยุคที่เรากำาลัง จะก้าวไปสู่เป็น ยุคของการ สื่อสารเพื่อการเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์กับคอมพิวเตอร์ (Computer-to- Computer Communication) ในยุคที่สามนี้จะเป็นยุคที่ “ระบบงาน” จะติดต่อสื่อสารกันเพื่อให้สารสนเทศ ซึ่งกันและกันเพื่อให้บริการแก่ผู้ใช้ กล่าวคือในมุมมองเชิงแนวความคิด (Conceptual Prospective) แล้ว ในยุคนี้ “ระบบงาน” จะให้ “บริการ” สารสนเทศของตนแก่ระบบงานอื่นๆ และใช้บริการสารสนเทศจากระบบงา นอื่นๆ เพื่อประกอบเป็นบริการของตนให้แก่ผู้ใช้ การสื่อสารข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์จะมีโปรโตคอล (Protocol) ซึ่งเป็น ระเบียบวิธีการสื่อสารที่เป็นมาตรฐานของการเชื่อมต่อกำาหนดไว้ โปรโตคอล ที่เป็นมาตรฐานสำาหรับการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต คือ TCP/IP (Transmission Control Protocol/Internet Protocol) เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อม ต่อเข้ากับเครือข่ายอินเตอร์เน็ตจะต้องมีหมายเลขประจำาเครื่องที่เรียกว่า IP Address เพื่อเอาไว้อ้างอิงหรือติดต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์อื่นๆ ในเครือข่าย ซึ่ง IP ในที่นี้ก็คือ Internet Protocol ตัวตัวเดียวกับใน TCP/IP นั่นเอง IP address ถูกจัดเป็นตัวเลขชุดหนึ่งขนาด 32 บิต ใน 1 ชุดนี้จะมีตัวเลขถูก แบ่งออกเป็น 4 ส่วน ส่วนละ 8 บิตเท่าๆ กันเวลาเขียนก็แปลงให้เป็นเลขฐาน 4
5.
สรุปกลุ่มที่ 6 อินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
สิบก่อนเพื่อความง่ายแล้วเขียนโดยคั่นแต่ละส่วนด้วยจุด (.) ดังนั้นในตัวเลข แต่ละส่วนนี้จึงมีค่าได้ไม่เกิน 256 คือตั้งแต่ 0 จนถึง 255 เท่านั้น เช่น IP address ของเครื่องคอมพิวเตอร์ของสถาบันราชภัฎสวนดุสิต คือ 203.183.233.6 ซึ่ง IP Address ชุดนี้จะใช้เป็นที่อยู่เพื่อติดต่อกับเครื่องพิว เตอร์อื่นๆในเครือข่าย โดเมนเนม (Domain name system :DNS) เนื่องจากการติดต่อสื่อสารกันในระบบอินเตอร์เน็ตใช้โปรโตคอล TCP/IP เพื่อสื่อสารกันโดยจะต้องมี IP address ในการอ้างอิงเสมอ แต่ IP address นี้ถึงแม้จะจัดแบ่งเป็นส่วนๆแล้วก็ยังมีอุปสรรคในการที่ต้องจดจำา ถ้าเครื่องที่อยู่ในเครือข่ายมีจำานวนมากขึ้นการจดจำาหมายเลข IP ดูจะเป็น เรื่องยาก และอาจสับสนจำาผิดได้แนวทางแก้ปัญหาคือการตั้งชื่อหรือตัว อักษรขึ้นมาแทนที่ IP address ซึ่งสะดวกในการจดจำามากกว่า เช่น IP address คือ 203.183.233.6 แทนที่ด้วยชื่อ dusit.ac.th ผู้ใช้งานสามารถ จดจำาชื่อ dusit.ac.th ได้ง่ายกว่าการจำาตัวเลข โดเมนที่ได้รับความนิยมกันทั่วโลก ที่ถือว่าเป็นโดเมนสากล มีดังนี้ คือ .comย่อมาจาก commercial สำาหรับธุรกิจ .edu ย่อมาจาก education สำาหรับการศึกษา .int ย่อมาจาก International Organization สำาหรับองค์กรนานาชาติ .org ย่อมาจาก Organization สำาหรับหน่วยงานที่ไม่แสวงหากำาไร .net ย่อมาจาก Network สำาหรับหน่วยงานที่มีเครือข่ายของตนเอง และทำาธุรกิจด้านเครือข่าย 5
6.
สรุปกลุ่มที่ 6 อินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
การขอจดทะเบียนโดเมน การขอจดทะเบียนโดเมนต้องเข้าไปจะทะเบียนกับหน่วยงานที่รับผิด ชอบ ชื่อโดเมนที่ขอจดนั้นไม่สามารถซำ้ากับชื่อที่มีอยู่เดิม เราสามารถตรวจ สอบได้ว่ามีชื่อโดเมนนั้นๆ หรือยังได้จากหน่วยงานที่เราจะเข้าไปจดทะเบียน การขอจดทะเบียนโดเมน มี 2 วิธี ด้วยกัน คือ 1. การขอจดะเบียนให้เป็นโดเมนสากล (.com .edu .int .org .net ) ต้องขอจดทะเบียนกับ www.networksolution.com ซึ่งเดิม คือ www.internic.net 2. การขอทดทะเบียนที่ลงท้ายด้วย .th (Thailand) ต้องจดทะเบียนกับ www.thnic.net โดเมนเนมที่ลงท้าย ด้วย .th ประกอบด้วย .ac.th ย่อมาจาก Academic Thailand สำาหรับสถานศึกษาใน ประเทศไทย .co.th ย่อมาจาก Company Thailand สำาหรับบริษัทที่ทำาธุรกิจ ในประเทศไทย .go.th ย่อมาจาก Government Thailand สำาหรับหน่วยงานต่างๆ ของรัฐบาล .net.th ย่อมาจาก Network Thailand สำาหรับบริษัทที่ทำาธุรกิจ ด้านเครือข่าย .or.th ย่อมาจาก Organization Thailand สำาหรับหน่วยงานที่ ไม่แสวงหากำาไร .in.th ย่อมาจาก Individual Thailand สำาหรับของบุคคลทั่วๆ ไป 6
7.
การใช้งาน อินเตอร์เน็ต บริการต่างๆ
บน อินเตอร์เน็ต สรุปกลุ่มที่ 6 อินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล การใช้อินเตอร์เน็ตเราจำาเป็นจะต้องรู้จักโปรแกรมที่ใช้ในการใช้งาน อินเตอร์เน็ตเรียกว่า “บราวเซอร์” บราวเซอร์ (Browser) คือ เครื่องมือที่ช่วยให้สามารถท่องเที่ยวไปในโลก อินเตอร์เน็ตได้อย่างไร้ขีดกั้นทางด้านพรมแดนหน้าตาของ browser แตก ต่างกันไปตามแต่การออกแบบการใช้งานของแต่ละค่ายโปรแกรม ใน ปัจจุบันบราวเซอร์มีให้ผู้ใช้อินเตอร์เน็ตเลือกอย่างมากมาย และได้มีการจัด อันดับที่ได้รับความนิยมในปี 2014 ดังนี้ 1. เวิลด์ไวด์เว็บ World Wide Web : WWW เป็นบริการหนึ่งบน อินเตอร์เน็ต โดยประกอบด้วยเอกสารที่รวบรวมข้อมูลข่าวสารไว้จำานวนมาก ที่เก็บไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ต่าง ๆทั่วโลก โดยข้อมูลบน WWW อาจอยู่ใน รูปแบบของ ข้อความ ภาพ เสียง หรือ มัลติมีเดีย เรียกสั้น ๆ ว่า web ใช้ มาตรฐานการสื่อสาร เอชทีทีพี (HTTP protocol ) โดยจะแสดงผลผ่าน Web 7
8.
สรุปกลุ่มที่ 6 อินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
2. จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Mail)บริการส่งจดหมาย อิเล็กทรอนิกส์ สามารถส่ง ข้อความ รูปภาพ เสียงภาพเคลื่อนไหว ไปพร้อม กับจดหมายได้ 3.บริการโอนย้ายไฟล์ (File Transfer Protocol)บริการขน ถ่ายแฟ้มข้อมูล ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต 4. บริการสนทนาบนอินเตอร์เน็ต(Instant Message)ระบบการ ส่งข้อความทันที ระหว่างสองคน หรือกลุ่มคนใน เน็ตเวิร์ก เดียวกัน เช่น การ ส่งข้อความผ่านทางอินเตอร์เน็ต 5. บริการค้นหาข้อมูลบนอินเตอร์เน็ต (Search Engine)โปรแกรมที่ช่วยในการสืบค้นหาข้อมูล โดยเฉพาะข้อมูลบน อินเตอร์เน็ต โดยครอบคลุมทั้งข้อความ รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว เพลง ซอฟต์แวร์ แผนที่ ข้อมูลบุคคล กลุ่มข่าว และอื่น ๆ ซึ่งแตกต่างกันไปแล้วแต่ โปรแกรมหรือผู้ให้บริการแต่ละราย. เสิร์ชเอนจินส่วนใหญ่จะค้นหาข้อมูล จากคำาสำาคัญ (คีย์เวิร์ด) ที่ผู้ใช้ป้อนเข้าไป จากนั้นก็จะแสดงรายการผลลัพธ์ ที่มันคิดว่าผู้ใช้น่าจะต้องการขึ้นมา ในปัจจุบัน เสิร์ชเอนจินบางตัว เช่น กูเกิล จะบันทึกประวัติการค้นหาและการเลือกผลลัพธ์ของผู้ใช้ไว้ด้วย และจะนำา ประวัติที่บันทึกไว้นั้น มาช่วยกรองผลลัพธ์ในการค้นหาครั้งต่อ ๆ ไป 6. บริการกระดานข่าวหรือ เว็บบอร์ด (Web board)เว็บไซต์ที่ ใช้สำาหรับการแลกเปลี่ยนบทสนทนา การพูดคุย การอภิปรายในสังคม ออนไลน์ นอกจากชื่อเว็บบอร์ดแล้ว ยังมีเรียกกันหลายชื่อไม่ว่า กระดานข่าว กระดานข่าวสาร กระดานข่าวอิเล็กทรอนิกส์ กระดานสนทนา กระดาน สนทนาออนไลน์ ฟอรัม เว็บฟอรัม เมสเซจบอร์ด บุลลิทินบอร์ด ดิสคัชชัน บอร์ด ฯลฯ หรือเรียกอย่างสั้นว่า บอร์ด 8
9.
ขั้นตอนและวิธีการสืบค้นข้อมูล บนอินเตอร์เน็ต สรุปกลุ่มที่
6 อินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล 7. ห้องสนทนา (Chat Room)บริการสนทนาผ่านเครือข่าย อินเตอร์เน็ต ทำาให้ผู้ใช้งานสามารถพูดคุยโต้ตอบกันได้โดยทันที 8. บริการสังคมออนไลน์ (Social Media หรือ Social Network)เป็นเว็บไซต์ที่ให้บริการสร้างสังคมเครือข่ายผ่านระบบ อินเตอร์เน็ต เช่น www.facebook.com ส่วน http://twitter.com เป็น micro blog site ซึ่งเป็น Social Media ชนิดหนึ่ง อินเตอร์เน็ตเป็นแหล่งรวบรวมข้อมูลขนาดใหญ่ซึ่งมีข้อมูลหลากหลาย ประเภทและมีแนวโน้มจะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วดังนั้นการค้นหาข้อมูลที่ ต้องการได้อย่างรวดเร็วนั้น ไม่ใช่เรื่องง่าย ๆ สำาหรับผู้ที่ไม่คุ้นเคยกับแหล่ง ข้อมูลนี้ นั่นคือ มักประสบปัญหาไม่ทราบว่าข้อมูลที่ต้องการนั้นอยู่ในเว็บไซต์ ใด ดังนั้นจึงได้มีเว็บไซต์ที่ให้บริการค้นหาข้อมูลต่าง ๆ บนอินเตอร์เน็ต ที่ เรียกว่า เครื่องมือช่วยค้น หรือ เซิร์ชเอ็นจิน (Search Engine) Search Engine คือเครื่องมือที่ใช้ในการค้นหาข้อมูลในอินเตอร์เน็ต การสืบค้นข้อมูล คือ การนำาความรู้เกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต มาประยุกต์ใช้ใน การศึกษาหาความรู้ ได้แก่ การสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตในการสืบค้น ข้อมูลนั้นถ้าหากเราทราบแหล่งข้อมูลหรือเว็บไซต์ เราก็สามารถพิมพ์หรือ ระบุ URL ในช่อง Address ได้เลย แต่ถ้าหากเราไม่ทราบว่าแหล่งข้อมูลนั้น อยู่ที่ใด เราสามารถใช้เว็บไซต์ที่เป็น Search Engine ช่วยในการค้นหาได้ อย่างรวดเร็ว ขั้นตอนการสืบค้นข้อมูล ขั้นตอนการสืบค้นข้อมูลด้วยโปรแกรม Search Engine โดยใช้งาน ผ่านเว็บไซต์ Google.com สามารถใช้งานได้ดังนี้ 9
10.
สรุปกลุ่มที่ 6 อินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
1. เปิดโปรแกรม Web Browser ตัวอย่างเช่น Internet Explorer หรือ Mozilla Firefox 2. ป้อนคำาหรือวลีที่ต้องการค้นข้อมูลลงในช่องสำาหรับกรอกคำาค้น ข้อมูลหลังจากนั้นกดปุ่ม Enter จะได้ข้อมูลที่ต้องการค้นหาดังภาพด้านล่าง 3. เมื่อต้องการค้นข้อมูลที่เป็นรูปภาพสามารถกดลิงค์ “ค้นรูป” จะได้ รูปภาพดังภาพด้านล่าง 4. การค้นหาข้อมูลระดับสูงหรือการค้นหาแบบพิเศษสามารถกดเลือกที่ ลิงค์ด้านล่างของหน้าจอ 5. การค้นหาขั้นสูงของ google search engine สามารถกำาหนด ขอบเขตของการสืบค้นข้อมูลได้ ประโยชน์ของเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ดังนี้ 1. สามารถใช้เป็นแหล่งค้นคว้าหาข้อมูล ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลทาง วิชาการ ข้อมูลด้านการบันเทิง ด้านการแพทย์และอื่น ๆ ที่น่าสนใจ 2. ระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตจะทำาหน้าที่เสมือนเป็นห้องสมุดขนาด ใหญ่ 3. นักศึกษาในมหาวิทยาลัย สามารถใช้อินเตอร์เน็ต ติดต่อกับมหา วิทยาลัยอื่นๆ เพื่อค้นหาข้อมูลที่กำาลังศึกษาอยู่ได้ ทั้งที่ข้อมูลเป็น ข้อความ เสียง ภาพเคลื่อนไหวต่าง ๆ เป็นต้น 4. ค้นหาข้อมูลต่าง ๆ เพื่อช่วยในการตัดสินใจทางธุรกิจ 5. สามารถซื้อขายสินค้าผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต 6. ผู้ใช้ที่เป็นบริษัทหรือองค์กรต่างๆก็สามารถเปิดให้บริการและ สนับสนุนลูกค้าของ ตนผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตได้ เช่น การ ให้คำาแนะนำา สอบถามปัญหาต่างๆ ให้แก่ลูกค้า แจกจ่ายตัว 10
11.
สรุปกลุ่มที่ 6 อินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
โปรแกรมทดลองใช้ (Shareware) หรือโปรแกรมแจกฟรี (Freeware) เป็นต้ 7. การพักผ่อนหย่อนใจ สันทนาการ เช่น การค้นหาวารสารต่างๆ ผ่าน ระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตที่เรียกว่า Magazine Online รวมทั้ง หนังสือพิมพ์และข่าวสารอื่นๆ โดยมีภาพประกอบที่จอคอมพิวเตอร์ เหมือนกับวารสาร ตามร้านหนังสือทั่วๆ ไป 8. สามารถฟังวิทยุผ่านระบบอินเตอร์เน็ตได้ 9. สามารถดึงข้อมูล (Download) ภาพยนตร์ตัวอย่างทั้งภาพยนตร์ ใหม่และเก่ามาดูได้ มารยาท ระเบียบ และข้อบังคับในการใช้อินเตอร์เน็ต บัญญัติ 10 ประการ 1. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำาร้ายหรือละเมิดผู้อื่น 2. ต้องไม่รบกวนการทำางานของผู้อื่น 3. ต้องไม่สอดแนม แก้ไข หรือเปิดดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น 4. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการโจรกรรมข้อมูลข่าวสาร 5. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์สร้างหลักฐานที่เป็นเท็จ 6. ต้องมีจรรยาบรรณการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ 7. ให้ระมัดระวังในการละเมิดหรือสร้างความเสียหายให้ผู้อื่น 8. ให้แหล่งที่มาของข้อความ ควรอ้างอิงแหล่งข่าวได้ 9. ไม่กระทำาการรบกวนผู้อื่นด้วยการโฆษณาเกินความจำาเป็น 10. ดูแลและแก้ไขหากตกเป็นเหยื่อจากโปรแกรมอันไม่พึงประสงค์ เพื่อ ป้องกันมิให้คนอื่นเป็นเหยื่อ 11
12.
สรุปกลุ่มที่ 6 อินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
Internet ใช้ว่า อินเทอร์เน็ต หรือ อินเตอร์เน็ต คณะกรรมการบัญญัติศัพท์คอมพิวเตอร์ ของราชบัณฑิตยสถาน บัญญัติ Internet ว่า ?อินเทอร์เน็ต? เพราะถือว่า Internet (ขึ้นต้นด้วยตัวใหญ่) เป็นชื่อเฉพาะที่ต้องสื่อสารกันเป็นสากลทั่วโลก จึงให้ใช้คำาทับศัพท์ และได้ถอดทับศัพท์ตาม หลักเกณฑ์ที่กำาหนดว่า t ที่เป็นพยัญชนะต้นให้ใช้ ท (ไม่ใช้ข้อยกเว้นที่ว่า inter- ให้ใช้ อินเตอร์) ส่วน internet (i ตัวเล็ก) ราชบัณฑิตยสถานไม่ได้บัญญัติไว้ อาจเป็นศัพท์ทั่วไป ส่วนคำาถามที่ว่า บริษัทที่ทำาธุรกิจด้านนี้ใช้ว่า อินเตอร์เน็ต เป็นการ ใช้ผิดหรือไม่ ชื่อบริษัทถือเป็นชื่อเฉพาะ จะไม่ใช้ตามหลักเกณฑ์ก็ได้ 12
Download