ݺߣ
Submit Search
การพัฒȨที่มาจากชาวบ้าน/ท้องถิ่นจัึϸารตนอง
•
Download as DOCX, PDF
•
1 like
•
918 views
ด
ดำรง โยธารักษ์
การพัฒȨที่มาจากชาวบ้าȨ้องถิ่ȨัดการตȨอง
Read less
Read more
1 of 8
Download now
Downloaded 10 times
More Related Content
การพัฒȨที่มาจากชาวบ้าน/ท้องถิ่นจัึϸารตนอง
1.
1 การพัฒนาที่มาจากชาวบ้าน1 (กระบวนการจัดการตนเอง)
ดร.ดารง โยธารักษ์ ๐๘๙ – ๘๗๑๔๕๑๒ สถาบันการเรียนรู้เพื่อจัดการตนเอง2 จังหวัดนครศรีธรรมราช บทความชนิ้นเี้ขียนขึน้จากประสบการณ์ในการทางานของผมกับชุมชนแถวภาคใต้ เป็นการนาเสนอการพัฒนาชุมชน ท้องถิ่น ประเทศ ในอุดมคติหรือในจินตนาการ3 ถ้าจะพูดเป็นภาษาทางด้านรัฐศาสตร์ก็จะเป็นการศึกษาแนวทางปรัชญาการเมือง4 เพื่อนาเสนอถึงแนวทางการสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน/ท้องถิ่นในทุกด้านไม่ว่าจะเป็นด้านการจัดการท รัพยากรซึ่งเป็นฐานสาคัญต่อการประกอบอาชีพที่สอดคล้องกับทรัพยากรของตนเอง/ชุมชน/ท้องถิ่น เพื่อการมีเศรษฐกิจที่มนั่คงทัง้การเงินและสุขภาพที่สมดุลกัน การจัดการด้านยุติธรรมชุมชนที่ชาวบ้านสามารถออกกฎกติกาในชุมชนเพื่อลดปัญหาความขัดแ ย้งได้เอง เป็นต้น เมื่อชุมชน/ท้องถิ่นเข้มแข็ง5 ประเทศก็จะเข้มแข็ง ในที่สุด 1 หลายท่านเมื่อเห็นหัวข้อแล้วคงนึกว่าเป็นไปไม่ได้ เพราะท่านอาจยังเชื่อว่าชาวบ้านยัง โง่ จน เจ็บ เหมือนในอดีตที่ผ่านมา แต่ถ้าท่านเปลี่ยนวิธีคิดใหม่ โดยคิดว่าชาวบ้านมีศักยภาพเพียงแต่เราไม่ค่อยให้โอกาสเขาได้แสดงต่างหาก ท่านก็อาจจะเห็นว่ามีทางเป็นไปได้ 2 สถาบันการเรียนรู้เพื่อจัดการตนเอง ตัง้ขึน้มาเพื่อ ๑,รับจัดกระบวนการเรียนรู้ให้กับเยาวชนที่โรงเรียน/สังคมคิดว่าโง่และเกเร ๒.รับจัดกระบวนการทาแผนพัฒนาท้องถิ่นเพื่อให้ชุมชน/ท้องถนิ่เข้มแข็ง(พึ่งตนเองได้) ๓.รับจัดอบรมทั่วไปตามวัตถุประสงค์ของหน่วยงาน 3 จินตนาการ หมายถึง ภาพฝันที่มีฐานข้อมูลรองรับ กล่าวคือ ในกรณีชุมชนเข้มแข็งหรือชุมชนพึ่งตนเองได้ มีให้เห็นในหลายชุมชน เช่น ชุมชนไม้เรียง จังหวัดนครศรีธรรมราช ชุมชนคลองเป๊ยะ จังหวัดสงขลา ชุมชนบ้านหนองกลางดง จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เป็นต้น และผู้เขียนได้พัฒนาแนวทางการทาประชาเข้าใจมาจากชุมชนดังกล่าว แต่อย่างไรก็ตามกระบวนการดังกล่าวยังไม่เป็นที่สาเร็จมากนักในภาพรวมของประเทศหรืออาจกล่าวได้ว่ายังเป็นภาพในจินตนาการ 4 ปรัชญาการเมือง หมายถึง การที่นักวิชาการพยายามที่จะหาแนวทางหารูปแบบการเมืองการปกครองที่คิดว่าเหมาะสมกับยุคสมัยหรือดีที่สุดตามหลักการและความคิดเห็ นของนักวิชาการคนนัน้ต่อสาธารณะ 5 ชุมชนเข้มแข็ง หมายถึง ชุมชนที่มีกระบวนการเรียนรู้ข้อมูลทุนของชุมชนโดยชุมชนจนชุมชนสามารถจัดการทุนของตนเองได้ สามารถกาหนดทิศทางของตนเองได้ และมีการจัดการอย่างเป็นระบบ เป็นชุมชนที่พึ่งตนเองได้ ผมคิดว่าการเปิดประตูสอู่าเชี่ยนของประเทศไทยด้วยการเน้นการเรียนรู้ภาษาอังกฤษอย่างที่เป็นอยใู่นปัจจุบันนัน้ไม่เพียงพอและในทางกลับกั
2.
2 จินตนาการในการพัฒนาการศึกษาของท้องถิ่น ผมลองจินตนาการดูว่าถ้าเราเริ่มพัฒนาเยาวชนในระดับตาบลโดยให้เยาวชนทุกคนในแต่ละตาบล
ต้องเรียนในพืน้ที่ที่ตนกาเนิด ดังนัน้เด็กทุกคนไม่ว่าจะเป็นลูกของผู้นาทุกระดับ เช่น ผู้บริหารท้องถิ่น ท้องที่ สมาชิกสภา รวมถึงประชาชนทุกคนต้องเรียนในพืน้ที่6 (ห้ามเรียนข้ามเขต) ผลจะเกิดอะไรขึน้ ผมคิดว่าคนทุกคนในพืน้ที่ต้องการให้บุตรหลานของตนได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพ ดังนัน้ทุกภาคส่วนในพืน้ที่ดังกล่าวจาเป็นต้องทุ่มเททรัพยากรเพื่อการศึกษาของบุตรหลานของตนอย่างไม่ ต้องสงสัย คนในชุมชน/ท้องถิ่นจะกระตือรือร้นเรื่องการศึกษา คณะกรรมการโรงเรียนก็จะถูกคัดเลือกจากคนที่มีความสามารถจริง ไม่ใช่เป็นคนที่มีฐานะเพื่อโรงเรียนจะได้ขอเงินบริจาคเหมือนกับทุกวันนี้ คณะกรรมการศึกษาโรงเรียนจะทาหน้าที่ดังที่ปรากฏในกฎหมาย เช่น ต้องพิจารณาหลักสูตร พิจารณาทิศทางการพัฒนาโรงเรียน เป็นต้น บเป็นความคิดที่ตืน้เขินมาก เพราะการเตรียมตัวสอู่าเชี่ยนนัน้ต้องเตรียมความพร้อมของชุมชนต่างหากเพราะถ้าชุมชนยังไม่พร้อม ชุมชนยังอ่อนแอ ชุมชนยังพงึ่ตนเองไม่ได้ ชุมชนยังไม่รู้ว่าตนเองมีดีอะไรที่จะให้เพอื่นบ้านมาดูมาชม หรือถ้าเพอื่นไม่มาก็สามารถยืนอยบู่นฐานทรัพยากรของตัวเองได้ ดูเหมือนว่ารัฐบาลกาลังเตรียมคนไทยให้เป็นแค่ลูกจ้างต่างชาติที่เข้ามาตัง้โรงงานในบ้านเรา ผมคิดว่าที่ผ่านมารัฐบาลตัง้โจทย์ว่าเราจะเตรียมคนไทยให้เป็นลูกจ้างที่ดีได้อย่างไรกระมัง เราจึงได้เห็นโครงการดังที่ทากันอยใู่นปัจจุบัน นี่ถ้ารัฐบาลตัง้โจทย์ใหม่ว่าจะเตรียมคนไทยให้เป็นนายจ้างได้อย่างไร เขาก็คงไม่คิดโครงการดังที่เห็นอยใู่นปัจจุบันที่เน้นเฉพาะเรื่องภาษาเท่านัน้ กล่าวคือ ผมไม่เห็นโครงการชวนคิดชวนคุยถึงเราได้อะไร เราเสียอะไร เราจะเตรียมตัวอย่างไรกับอาเชี่ยนนอกจากการเรียนรู้ภาษาอังกฤษและภาษาชาติต่างๆในอาเชี่ยน เป็นต้น 6พ ร ะ ร า ช บัญ ญั ติ ก า ร ศึ ก ษ า แ ห่ง ช า ติ พุท ธ ศัก ร า ช ๒ ๕ ๔ ๒ ม า ต ร า ๑ ๐ ร ะ บุว่า ก า ร จัด ก า ร ศึ ก ษ า ต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการรับการศึกษาขนั้พืน้ฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปีที่รัฐต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไม่เก็ บ ค่ า ใ ช้ จ่ า ย ซึ่ ง ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ รั ฐ ธ ร ร ม นู ญ พุ ท ธ ศั ก ร า ช ๒ ๕ ๕ ๐ ม า ต ร า ๔ ๙ ที่ ว่ า บุคคลย่อมมีสิทธิเสมอกันในการรับการศึกษาไม่น้อยกว่าสิบสองปีที่รัฐจะต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย จะพบว่า โรงเรียน ให ญ่ๆ โรงเรียน ดังๆ ในตัวจังหวัด ใน ตัว อาเภอกา ลังทาผิดรัฐธ รรมนูญ และ พระราช บัญ ญัติการศึก ษาแ ห่งชา ติ เพราะการไปดูดเอาเด็กต่างพืน้ที่เข้ามาเรียนกันอย่างแออัด แล้วเร่งสร้างอาคารโดยไม่คานึงถึงระบบนิเวศในโรงเรียน (land use) เ พี ย ง เ พ ร า ะ โ ร ง เ รี ย น ดั ง ก ล่ า ว แ ข่ ง กั น ส ร้ า ง เ ด็ ก เ ก่ ง ( ท่ อ ง จ า เ ก่ ง ) ไ ม่ กี่ ค น เ พื่ อ โ ฆ ษ ณ า ดึ ง ดู ด ใ ห้ พ่ อ แ ม่ ที่ ช อ บ ท า ต า ม ก ร ะ แ ส ส่ง ลูก ใ ห้ ม า เ รี ย น อ ย่า ง ไ ม่ มี ค ว า ม สุข ใ น โ ร ง เ รี ย น ดั ง ก ล่า ว พฤติกรรมดังกล่าวเป็นการกระทาที่ขัดกับรัฐธรรมนูญในประเด็นความเสมอภาค และการไม่เลือกปฏิบัติตามหลักสิทธิมนุษยชน เป็นต้น
3.
3 ถ้าผมมีโอกาสเป็นคณะกรรมการศึกษาโรงเรียน ผมจะเสนอและโน้มน้าวให้โรงเรียนจัดกระบวนการเรียนรู้ให้ลูกของผมสามารถตัง้คาถามได้
เพราะผมเชื่อว่า ความรู้ดีๆย่อมมาจากการตัง้คาถามที่ดีและแหลมคม ลูกของผมต้องสามารถเขียนตาราได้เองจากการจัดกระบวนการอ่านคาตอบจากตาราในชัน้เรียนแล้วตัง้คา ถามจากคาตอบดังกล่าว บทแล้วบทเล่าจนครบกระบวนวิชาตามหลักสูตร โดยไม่ต้องแบกหนังสือไปโรงเรียน ครูใช้แค่กระดาษเอสี่ ปากกา เป็นสื่อการสอนเพราะผมเชื่อว่ายิ่งครูมีเครื่องไม้เครื่องมือมากเท่าไรลูกผมก็จะทาอะไรไม่เป็นมากเท่านัน้ (พึ่งแต่เทคโนโลยีจนไม่สามารถพึ่งตนเองได้) การประเมินก็เช่นกัน ผมอยากเห็นการประเมินที่ผลงานและพัฒนาการของเด็กเป็นหลัก ส่วนการประเมินด้วยข้อสอบตัวเลือกนัน้อาจเป็นส่วนประกอบ เป็นต้น เมื่อลูกผมจบการศึกษาในระดับประถม มัธยม จากท้องถิ่นของตนเองเรียนรู้จนสามารถรู้จักกระบวนการจัดการทุนของชุมชน โดยมีกระบวนวิชาที่เป็นพืน้ฐาน เช่น วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ ภาษาไทย โดยไม่ต้องมีวิชาศีลธรรม หน้าที่พลเมือง เพราะวิชาศีลธรรม หน้าที่พลเมืองต้องเป็นพืน้ฐานในการเรียนทุกวิชาดังกล่าว กล่าวคือ ทุกวิชาต้องเรียนให้มีเนอื้หาสาระของแต่ละวิชาโดยมีศีลธรรม และหน้าที่ของความเป็นพลเมืองเป็นตัวกากับ ลูกของผมต้องสามารถคิดวิเคราะห์ได้ว่าตัวเองชอบทาอะไร อะไรที่ตัวเองถนัด ทาอะไรแล้วมีความสุข ทาอะไรที่พ่อแม่มีความสุข ทาอะไรที่ชุมชนมีความสุข ประเทศชาติได้ประโยชน์ เป็นต้น กล่าวคือลูกของผมต้องสามารถจัดการตนเองได้ พึ่งตนเองได้ในระดับประถมและมัธยม ในระดับอุดมศึกษาต้องเรียนในจังหวัด เพราะมหาวิทยาลัยต้องเป็นพี่เลีย้งในการพัฒนาให้กับท้องถิ่น อาเภอ จังหวัด ดังนัน้ลูกของผมจะได้เข้าใจฐานทรัพยากรของอาเภอ จังหวัด และสามารถใช้ทรัพยากรดังกล่าวมาพัฒนาเป็นอาชีพสาหรับเลีย้งตัวเองและครอบครัว ตามอาชีพที่ตนเองถนัดและเมื่อทาแล้วมีความสุข การพัฒนาชุมชน/ท้องถิ่นในจินตนาการ
4.
4 ผู้บริหารท้องถิ่นจะต้องเป็นผู้ประสานชาวบ้านให้ร่วมกันระดมความคิดในการพัฒนาท้องถิ่นทุกเรื่อ ง
ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการจัดการทรัพยากรดิน นา้ ป่า การจัดการโครงสร้างพืน้ฐาน การจัดการด้านสุขภาพ การจัดการด้านการบริหารความขัดแย้ง ด้านยุติธรรมชุมชน ชาวบ้านควรออกกติกาในการจัดการด้านต่างๆกันเองในชุมชน กติกาดังกล่าวก็คือวัฒนธรรมชุมชน หรือกฎหมายนั่นเอง และหน่วยงานหรือกระทรวงต่างๆก็ต้องนาเอากติกาของชุมชน/ท้องถิ่นทวั่ประเทศไปวางยุทธศาสตร์เพื่อมา หนุนเสริมชุมชน/ท้องถิ่น กล่าวคือกฎหมายที่ดีต้องมาจากวัฒนธรรมหรือวิถีชีวิต ซึ่งปัจจุบันเรากลับไปลอกมาจากที่ที่มีวัฒนธรรมต่างกัน จึงทาให้ชาวบ้านไม่รู้กฎหมาย ความไม่ยุติธรรมที่เกิดขึน้ในปัจจุบันเพราะความสามารถในการเข้าถึงทรัพยากรดิน นา้ ป่า ไม่เสมอภาคกัน ชาวบ้านไม่ได้ออกกติกาเพื่อการใช้ทรัพยากรที่มีผลกระทบต่อเขา ทาให้เขาไม่รักทรัพยากร ส่วนกลางก็เอือ้ประโยชน์ให้กับคนบางกลุ่มที่เข้าถึงอานาจรัฐ เกิดความเหลื่อมลา้ กลายเป็นเรื่องมือใครยาวสาวได้สาวเอา วิธีการพัฒนาชุมชน/ท้องถิ่นให้ชาวบ้านเกิดความรักท้องถิ่นดังกล่าว ผมเสนอให้ใช้กระบวนการประชาเข้าใจ ไม่ใช่ทาแค่ประชาคม การทาประชาเข้าใจเป็นกระบวนการทาข้อมูลให้มีพลังเพื่อให้ระเบิดจากข้างใน ขัน้ตอนการทาประชาเข้าใจมีดังนคีื้อ ๑.ให้ชาวบ้านทาข้อมูลครอบครัวของตนเองโดยการทาบัญชีครัวเรือน ข้อมูลจากการบันทึกบัญชีครัวเรือนมีหลายประเภท เช่น ข้อมูลรายได้ หนสีิ้น ข้อมูลรายจ่าย ข้อมูลสุขภาพ ข้อมูลทรัพยากร เป็นต้น ๒.ชวนชาวบ้านนุเคราะห์ข้อมูล7 (กระบวนการสร้างภาพความสาเร็จ แนวทางสู่ความสาเร็จ สร้างตารางวิเคราะห์แนวทางเลือก จนได้โครงการไปสู่ความสาเร็จ ขัน้ตอนของการทาโครงการให้สาเร็จ ชาวบ้านเขียนโครงการได้เองจากข้อมูลดังกล่าว) 7 ข้อมูลแต่ละด้านจะมีเทคนิคนุเคราะห์ต่างกัน เช่น ข้อมูลทรัพยากร ข้อมูลสุขภาพของครอบครัว ข้อมูลเศรษฐกิจ (รายได้ การออม หนี้สิน)จะใช้เทคนิคการประชุมเงียบ (เขียนก่อนพูด) และชวนคุยเพื่อให้เกิดการเรียนรู้สถานการณ์ของข้อมูล ปัญ หา สาเหตุของปัญหาหรือภาพความสาเร็จ และแนวทางแก้ไข ในขณะที่ข้อมูลด้านรายจ่ายจะใช้เทคนิคการประชุมเงียบและทาข้อมูลให้มีพลังโดยการหาค่าเฉลี่ยของรายจ่ายแต่ละรายการเทียบเคียงไปสู่ ข้อมูลระดับกลุ่ม/ระดับหมู่บ้าน/ระดับตาบล จากรายจ่ายของครอบครัวต่อเดือน/ต่อปี ถึงรายจ่ายของกลุ่มต่อเดือน/ต่อปี
5.
5 ๓.จากประสบการณ์ของผู้เขียนพบว่า การจัดเวทีนุเคราะห์ข้อมูลครึ่งวันสามารถจัดกระบวนการให้ได้โครงการ
๑ โครงการ ดังนัน้เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานต่างๆโดยเฉพาะเจ้าหน้าที่วิเคราะห์แผนขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่น ถ้าได้นาระบวนการทาประชาเข้าใจไปใช้โดยทางานร่วมกับผู้บริหารท้องถิ่นในการประสานให้ชาวบ้านมาร่ วมทาโครงการ เช่น ประชุม ๑ ครัง้ได้ ๑ โครงการ ดังนัน้ประชุม ๒๐ ครัง้ก็ได้ ๒๐ โครงการ เป็นต้น และเมื่อนาโครงการต่างๆดังกล่าวมาบูรณาการรว่มกันก็จะเป็นแผนพัฒนาตาบลที่มาจากชาวบ้าน โดยที่นักวิชาการหรือเจ้าหน้าที่เป็นเพียงพี่เลีย้ง (facilitator) เมื่อโครงการพัฒนาของท้องถิ่นทุกโครงการได้มาจากการทาเวทีประชาเข้าใจ ผู้บริหารก็สามารถประสานให้ชาวบ้านที่มีความกระตือรือร้นที่จะพัฒนาท้องถิ่น (เห็นคนเหล่านัน้ได้จากการจัดเวทีประชาเข้าใจ) มาทาแผนยุทธศาสตร์พัฒนาท้องถิ่น ตรงนจี้ะเห็นได้ว่าแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาท้องถิ่นมาจากชาวบ้าน แต่ในปัจจุบันเราให้ผู้บริหารกับทีมที่ปรึกษาไม่กี่คนมาช่วยกันคิดแล้วนาเสนอผ่านเวทีเลือกตัง้ ตรงนเี้องที่ขัดกับหลักการพัฒนาที่มาจากข้างล่าง กล่าวได้ว่า การทาประชาเข้าใจเป็นกระบวนการที่ทาให้คนในท้องถิ่นสามารถเรียนรู้กระบวนการจัดการทุนของตนเอง จนสามารถจัดการทุนของตนเองได้ และสามารถกาหนดทิศทางของตนเองได้ อีกทัง้มีการจัดการอย่างเป็นระบบ โดยมีเจ้าหน้าที่จากหน่วยงานของรัฐที่อยู่ในพืน้ที่เป็นพี่เลี้ยง ประเด็นสาคัญก็คือ เจ้าหน้าที่รัฐที่อยู่ในพืน้ที่ต้องเรียนรู้กระบวนการทาประชาเข้าใจ ซึ่งเป็นเครื่องมือที่พัฒนาต่อยอดมาจากการทาประชาคม การทาประชาเข้าใจเป็นกระบวนการพัฒนาชุมชนจากข้างล่างสู่ข้างบน เป็นกระบวนการพัฒนาที่มองว่าชาวบ้านมีศักยภาพ ซึ่งต่างการพัฒนาที่มาจากข้างบนตามหลักคิดที่มองชาวบ้านว่า โง่ จน เจ็บ ดังที่หลายคนเข้าใจ รายจ่ายของหมู่บ้านต่อเดือน/ต่อปี และรายจ่ายของตาบลต่อเดือน/ต่อปี จนทราบรายจ่ายทัง้ตาบลของรายการที่นุเคราะห์ และถ้าอยากให้รายจ่ายดังกล่าวอยู่ในตาบล ก็ให้ช่วยกันคิดหาหนทางจนได้แนวทางที่จะให้รายจ่ายดังกล่าวอยู่ในตาบล เช่น แนวทางการตัง้กลุ่มกิจกรรมต่างๆเป็นต้น
6.
6 ปัญหาของการทาแผนพัฒนาแบบสั่งการจากข้างบนหรือแบบรวมศูนย์อานาจก็คือ ชาวบ้านไม่ได้ร่วมกันคิดตลอดทุกขัน้ตอน
ดังนัน้ชาวบ้านจึงไม่มีความรู้สึกเป็นเจ้าของโครงการ จนได้ยินคากล่าวเปรียบเทียบอยู่เสมอว่า “พองบหมด โครงการก็หมด เหลือแต่ป้ายชื่อ” แม้ว่าหน่วยงานรัฐเองก็พยายามแก้ไขคากล่าวหาโดยการให้ชาวบ้านได้มีโอกาสเข้าร่วมโดยการเชิญมาปร ะชุมเพื่อรับทราบปัญหา แล้วเจ้าหน้าที่ก็รวบรวมปัญหามาเขียนโครงการ/แผนงาน พร้อมงบประมาณ กระบวนการดังกล่าวเรียกว่า การทาประชาคม ผลปรากฏว่าชาวบ้านก็ยังไม่มีความรู้สึกเป็นเจ้าของโครงการ/กิจกรรม จากการสารวจพบว่า หน่วยงานราชการยังไม่มีเครื่องมือที่จะทาให้ชาวบ้านเกิดความรู้สึกเป็นเจ้าของโครงการ/กิจกรรม เครื่องมือที่ผู้เขียนนาเสนอคือ การทาประเข้าใจ เพราะเป็นเครื่องมือที่ผ่านการทดสอบว่าสามารถทาให้ชาวบ้านเกิดความรู้สึกเป็นเจ้าของโครงการ/กิจกรรม ได้8 กล่าวโดยสรุปก็คือ แผนพัฒนาทวั่ไปแตกต่างจากแผนแม่บทชุมชนทัง้ในแง่ของกระบวนการและเป้าหมาย ผลผลิต ผลลัพธ์ ดังนคีื้อ 8 ชุมชนไม้เรียง อาเภอฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นชุมชนแรกในภาคใต้ที่ใช้กระบวนการเรียนรู้ข้อมูลทุนของชุมชน โดยชุมชนจนสามารถจัดการทุนของตนเองได้ กระบวนการดังกล่าว เสรี พงศ์พิศ จากมูลนิธิหมู่บ้านที่เข้าไปศึกษาชุมชนไม้เรียงและชุมชนต่างๆทั่วประเทศ เรียกว่า ประชาพิจัย
7.
7 แผน เป้าหมาย
กระบวนกา ร ผลผลิต ผลลัพธ์ แผนพัฒ นาทวั่ไป (แผนผู้ใ หญ่ลี) โครงการ/ง บประมา ณ ประชาคม เริ่มจากปัญ หา (ความทุกข์) ความต้องก าร (ความโลภ) โครงการ/แผนงานที่มาจากปัญหาความต้องการ(w ant) นักวิชาการเ ข้มแข็ง แผนแม่บ ทชุมชน (แผนผู้ใ หญ่วิบูล ย์) พึ่งตนเองไ ด้ ประชาเข้าใ จ เริ่มจากควา มสุข (ภาพความ สาเร็จ) ความจาเป็ น (ร่วมกันนุเค ราะห์ข้อมูล) โครงการ/แผนงานที่มาจากการนุเคราะห์ข้อมูลปัญ หาความต้องการจนกลายเป็นความจาเป็น(need) และการสร้างภาพความสาเร็จ นักวิชาการ และชาวบ้า น เข้มแข็ง แผนภูมิที่ ๑ ข้อแตกต่างระหว่างแผนพัฒนาทั่วไปกับแผนแม่บทชุมชน ข้อเสนอแนะ กระทรวงยุติธรรมควรเร่งประสาน/สนับสนุนให้ชุมชน/ท้องถิ่นจัดกระบวนการให้ชุมชนร่วมกันแก้ปั ญหาข้อขัดแย้งในชุมชนด้วยชุมชนเอง (ในระดับของคดีที่ทุกฝ่าย เช่น ศาล อัยการ พนักงานสอบสวน ชาวบ้าน ยอมรับได้) โดยมีเจ้าหน้าที่ของกระทรวงเป็นพี่เลีย้ง (ประสาน/สนับสนุน/ให้ข้อคิดเห็น) โดยอาจเริ่มทาให้เป็นชุมชนต้นแบบก่อน แล้วค่อยขยายไปตามศักยภาพของชุมชน
8.
8 ผมคิดว่าหากทุกกระทรวงมีเป้าหมายที่เหมือนกันคือ พัฒนาให้ชุมชนพึ่งตนเองได้
เช่น กระทรวงเกษตรมุ่งพัฒนาให้ชาวบ้านทาเกษตรพึ่งตนเองได้ กระทรวงพลังงานมุ่งพัฒนาให้ท้องถิ่นพึ่งตนเองเรื่องพลังงานได้ กระทรวงทรัพยากรฯมุ่งพัฒนาให้ชุมชนจัดการทรัพยากรของเขาได้เอง กระทรวงมหาดไทยเร่งกระจายอานาจให้ท้องถิ่นจัดการตนเองได้ตามศักยภาพ กระทรวงศึกษาธิการมุ่งพัฒนาให้เยาวชนสามารถจัดการตนเองได้ เป็นต้น เมื่อชุมชน/ท้องถิ่นจัดการตนเองได้ ประเทศก็จะพึ่งตนเองได้ ชุมชน/ท้องถิ่น/ประเทศที่พึ่งตนเองได้ก็คือชุมชน/ท้องถิ่น/ประเทศที่เข้มแข็งนนั่เอง
Download