ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
อารยธรรมกรีก
จัดทำโดย ม.6.5 
นำงสำววำริ มะเริงสิทธิ์ เลขที่ 35 
นำงสำวธมลภัษฎ์พฒุิพัฒน์วรกลุ เลขที่45
อำรยธรรมกรีก
ปัจจัยทำงภมูิศำสตร์ 
ที่ส่งผลต่อ 
อำรยธรรมกรีก
ปัจจัยทำงภมูิศำสตร์ที่ส่งผลต่ออำรยธรรมกรีก 
ภมูิประเทศของกรีก ประกอบด้วยภเูขำ พื้นดิน และ 
ทะเล โดยกรีกมีพื้นที่รำบน้อย พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นภเูขำ 
และหมู่เกำะในทะเลอีเจียน ประชำชนอำศัยอยู่ตำม 
หมู่บ้ำนในบริเวณที่รำบเล็กๆในหบุเขำที่ล้อมรอบด้วย 
ภเูขำสงู ซึ่งเป็นอปุสรรคสำคัญในกำรติดต่อสื่อสำรซึ่ง 
สภำพภมูิศำสตร์เช่นนี้ทำให้แยกชมุชนต่ำงๆออกจำก 
กันส่งผลให้แต่ละเมืองแตกแยกเป็ นนครรัฐต่ำง ๆ 
มำกมำยซึ่งเป็นอิสระไม่ขึ้นแก่กัน
นครรัฐที่สำคัญได้แก่ นครรัฐเอเธนส์และนครรัฐสปำร์ตำ 
พื้นดินส่วนใหญ่ของกรีกขำดควำมอดุมสมบูรณ์และมี 
พื้นดินขนำดเล็กประกอบกับมีแม่น้ำสำยสนั้ ๆน้ำไหลเชี่ยว 
และพัดพำเอำควำมอดุมสมบรูณ์ของดินไปและจำกลักษณะ 
ภมูิประเทศที่มีลักษณะคล้ำยแหลมยื่นไปในทะเลทำให้กรีกมี 
ชำยฝั่งทะเลที่ยำวซึ่งควำมเว้ำแหว่งของทะเลเป็ นที่กำบัง 
คลื่นลมได้เป็นอย่ำงดีใช้เป็นอ่ำวสำหรับจอดเรือ ทำให้ชำว 
กรีกเป็นคนชอบค้ำขำยทำงทะเลนอกจำกนี้ดินแดนกรีกยงั 
เป็ นดินแดนที่มีทรัพยำกรธรรมชำติมำกมำย เช่น เหล็ก 
ทอง เงิน หินอ่อน เป็นต้น
ดินแดนของกรีกบนพื้นแผ่นดินในทวีปยโุรปแบ่งได้เป็น 3 ส่วน 
คือ 
ภาคเหนือ ได้แก่ แคว้นมาซิโดเนีย เทสซาลี และอิไพรัส 
ภาคกลาง ได้แก่บริเวณที่เป็นเนินเขาสูง เป็นที่ตงั้ของนครทีบส์ 
นครเดลฟี ช่องเขาเทอร์มอปิเล และยอดเขาพาร์แนสซัส ซึ่งเป็นที่ 
สถิตของอะพอลโล หรือสรุิยเทพตรงปลายสุดของด้านตะวันออก 
คือ แคว้นอัตติกา ซึ่งมีเมืองหลวง คือนครเอเธนส์ แหล่งกา เนิดการ 
ปกครองระบอบประชาธิปไตย 
บริเวณคาบสมุทรเพโลพอนนีซัส อยู่ตอนใต้อ่าวคอรินท์เป็น 
ที่ตงั้ของนครรัฐสปาร์ตา ที่มีชอื่เสียงด้านการรบ และโอลิมเปีย ซึ่ง 
เป็นที่สิงสถิตของบรรดาเทพเจ้ากรีก
อารยธรรมกรีก
อำรยธรรมกรีก 
สมัย 
ประวัติศำสตร์
อำรยธรรมไมนวน 
เป็นอารยธรรมที่เกิดขึ้นที่เกาะครีตโดยมี 
ชาวครีตหรือชาวครีตันเป็นชนพื้นเมืองของเกาะ 
นี้ กษัตริย์ที่มีอา นาจมากที่สุด คือ พระเจ้ามินอส 
พระราชวังที่สา คัญ คือพระราชวังคนอสซุส
พระรำชวังคȨซสุพระรำชวังของกษัตริย์ไมโȨ
ควำมเสื่อมของอำรยธรรมไมโนน 
1. เกิดจำกกำรปะทขุองภเูขำไฟที่ทำลำยเมือง 
2. กำรรกุรำนของพวกไมซินีจำกแผ่นดินใหญ่
อำรยธรรมไมซินี 
เป็นอารยธรรมของพวกไมซีเนียนมีศูนย์กลางอยู่ที่เมือง 
ไมซีเนบนคาบสมทรเพโลพอนนีซัส โดยบรรพบุรุษของชาวไมซี 
เนียน คือ พวกเอเคียน มีความสามารถในการรบและการค้า 
ซึ่งพวกนี้โจมตีเกาะครีต ทา ลายพระราชคนอสซุส และได้สร้าง 
เมืองไมซีเนขึ้นซึ่งมีป้ อมปราการที่แข็งแรงทาให้พวกเอเคียนมี 
ชื่อใหม่ว่าไมซีเนียนตามชื่อเมืองต่อมาพวกเอเคียนได้ไปทา 
สงครามกับเมืองทรอยในสงครามโทจันเนื่องจากเมืองทรอย 
ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของเอเชียไมเนอร์ซึ่งเป็น 
คู่แข่งทางการค้ากับเมืองไมซีเนจนสา เร็จ
มรดกของอารยธรรมไมซีเน คือ การนับถือเทพ 
เจ้าหลายองค์รวมทั้งเทพเจ้าซุส เฮรา และโพไซดอน 
เป็นตน้ 
ความเสื่อมของอารยธรรมไมซีเน คือถูกพวก 
ดอเรียนซึ่งเป็นชาวกรีกเผ่าหนึ่งเข้ามารุกรานจนทา ให้ 
ความเจริญหยุดลงชัว่ขณะ
แผȨี่แสึϸที่ตั้งྺองอารยธรรมไมซีȨ
อำรยธรรมของ 
กรีก
ประกอบด้วย อารยธรรมเฮเลนิก และอารยธรรม 
เฮเลนิสติค 
- อำรยธรรมเฮเลนิก หรือยคุคลำสสิก 
ในสมัยนี้มีการสร้างอาณานิคมเกิดขึ้นมีการปฏิรูปทาง 
เศรษฐกิจและผู้นา ชุมชนเริ่มตั้งสภาและกลุ่มต่างๆ เพื่อจัด 
กิจกรรมสาธารณะที่อกอราซึ่งเป็นที่พบปะสังสรรค์กันของ 
ผู้คนในนครรัฐซึ่งยุคคลาสสิคนี้ได้เกิดนครรัฐขนาดใหญ่ 2 
นครรัฐ ได้แก่ นครรัฐสปาร์ตาและนครรัฐเอเธนส์
นครรัฐสปำร์ตำ 
ชาวสปาร์ตาเป็นชาตินักรบเนื่องจากต้องต่อสเู้พื่อให้ได้ 
ครอบครองลาโคเนียและเมอซีเนียและเพื่อป้ องกันการกบฏของ 
ลาโคเนียและเมอซีเนีย ชาว สปาร์ตาจึงต้องสร้างกองทัพให้ 
เข้มแข็ง จรทาให้ชาวสปาร์ตากลายเป็ นชาตินักรบมีการ 
ปกครองแบบคณาธิปไตย และเนื่องจากสภาพภูมิประเทศของ 
ชาว สปาร์ตาไม่มีท่าเรือที่ดีและตงั้อยู่อย่างโดดเดี่ยวขนาบ 
ด้วยภูเขาจึงทา ให้ชาวสปาร์ตาขาดการติดต่อจากโลกภายนอก 
และยังเป็นผลให้สปาร์ตาเป็นรัฐที่มีความสามารถในการรบอีก 
ด้วย
นครรัฐเอเธนส์ 
เนื่องจำกชำวเอเธนส์อพยพแบบค่อยเป็ น 
ค่อยไปเข้ำมำในคำบสมุทรกรีกและสภำพภูมิ 
ประเทศของชำวเอเธนส์มั่งคั่งด้วยแร่ธำตแุละ 
ท่ำเรือที่ดีจึงทำให้มีพัฒนำกำรทำงด้ำนกำรค้ำ 
และมีควำมเจริญทำงด้ำนวัฒนธรรมจึงทำให้นคร 
รัฐแห่งนี้ปกครองด้วยระบอบประชำธิปไตยทำให้ 
ช ำ ว เ อ เ ธ น ส์เ ป็ น นัก ป ร ะ ช ำ ธิป ไ ต ย แ ล ะ รัก 
ควำมก้ำวหน้ำ
อารยธรรมกรีก
ในยุคคลลาสสิคนี้เกิดสงครามครั้งยิ่งใหญ่2 ครั้ง 
ได้แก่ สงครามเปอร์เซียและสงครามเพโลพอนเนเชียน 
1. สงครำมเปอร์เซีย 
สาเหตุเกิดจากความขัดแย้งระหว่างเอเธนส์กับ 
เปอร์เซียเพราะเปอร์เซียขยายอานาจเข้ามาในเอเชียไม 
เนอร์ ผลของสงคราม คือเอเธนส์ชนะเปอร์เซีย
2. สงครำมเพโลพอนเนเชียน 
ชาวกรีกเกิดความคิดในการเตรียมการป้ องกันชาว 
เปอร์เซีย นครรัฐต่างๆของกรีกจึงต่างเข้ามาเป็นสมาชิก และสมาชิก 
แต่ละนครรัฐมีสิทธิเท่าเทียมทา ให้นครรัฐกรีกร่วมกันตงั้สหพันธ์แห่ง 
เกาะเดลอส สหพันธรัฐใช้เป็นศูนย์กลางและเป็นที่เก็บทรัพย์สมบัติแต่ 
ในความเป็นจริงแล้วนครรัฐเอเธนส์มีอิทธิพลในการเป็นผู้นา ต่อมา 
สหพันธรัฐเปลี่ยนสภาพเป็นจักรวรรดิของเอเธนส์เอเธนส์ใช้เงินเพื่อ 
ผลประโยชน์ของตนเอง ลดฐานะสมาชิกอื่น ๆให้อยู่ในฐานะบริวาร 
และห้ามไม่ให้รัฐสมาชิกแยกตัวออกจากสหพันธ์เมื่อรัฐใดก่อกบฏก็จะ 
ใชก้า ลังปราบโดยยึดกองทหารเรือและเก็บเครื่องราชบรรณาการ
วิธีนี้ทาให้นครรัฐสปาร์ตากลัวว่า เอเธนส์จะเป็นผู้นากรีก 
ทั้งหมดและเนื่องจากสภาพสังคมของทั้ง 2 รัฐแตกต่างกัน 
จึงทา ให้เกิดสงครามขนึ้ผลของสงคราม คือ นครรัฐสปาร์ตา 
ชนะ ทา ให้นครรัฐสปาร์ตาได้เอเธนส์ไว้ในอา นาจและนา ระบอบ 
การปกครองแบบคณาธิปไตยมาใช้แต่การปกครองของสปาร์ 
ตาไม่มั่นคงจึงทาให้นครรัฐสปาร์ตาพ่ายแพ้ต่อกองทัพของ 
นครธีบีสและเอเธนส์ ในที่สุดกรีกทั้งหมดก็ตกอยู่ภายใต้ 
อิทธิพลของมาซิโดเนีย
- อำรยธรรมเฮเลนิสติก 
เป็นช่วงที่นครรัฐต่างๆ ของกรีกเสื่อมลงเนื่องมาจาก 
สงครามเพโลพอนเนเชียน และแคว้นมาซิโดเนียเจริญขนึ้โดย 
แคว้นมาซิโดเนียมีกษัตริย์องค์สาคัญ ได้แก่ พระเจ้าฟิลิปที่ 2 
ได้นครรัฐกรีกไว้ในอานาจ และกษัตริย์องค์ต่อมา คือพระเจ้า 
อเล็กซานเดอร์มหาราช ได้ทาการปลดปล่อยหัวเมือง กรีก 
ต่างๆบนเอเชียไมเนอร์ให้พ้นจากการปกครองเปอร์เซีย
มรดกทำงอำรยธรรมกรีก 
สถาปัตยกรรม ใช้ระบบโครงสร้างแบบเสาและคาน แผนผัง 
อาคารเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ามีการสร้างเสารายรอบอาคาร ซึ่งจะมี 
ความแตกต่างตรงหัวเสา สามารถแบ่งออกเป็น 3 แบบ คือ แบบด 
อริก แบบไอโอนิก และแบบคอรินเธียน และส่วนใหญ่ยังนิยมก่อสร้าง 
อาคารเพื่อกิจกรรมสาธารณะ เช่นวิหาร สนามกีฬา และโรงละคร 
วิหารที่มีชื่อเสียงสร้างบนภูเขาที่มีชื่อเรียกว่า อะครอโพลิส คือ วิหาร 
พาร์เธนอนสร้างเพื่อถวายแด่เทพีอะธนีา
อารยธรรมกรีก
1. แบบดอริก เน้นความแข็งแรงเสาส่วนล่างใหญ่และเรียว 
ขึ้นเล็กน้อย ตามลา เสาแกะเป็นทางยาวตามแนวตั้ง เช่น วิหารพาร์ 
เธนอน 
2. แบบไอออนิก ลักษณะเรียวกว่าเสาแบบดอริก หัวเสาทา 
เป็นรูปลายคดโค้ง เช่น วิหารอีเรกเธอัมที่เอเธนส์ สร้างอุทิศแก่ 
อีเรกเธอัส 
3. แบบคอรินเธียน เน้นความงามหรูหรา มีการประดับ 
ยอดเสาด้วยลายใบไม้ ปรากฏมากในยุคเฮลเลนสิติก 
ประติมากรรม ส่วนใหญ่เป็นรูปปั้นเทพเจ้าที่มีลายเส้น 
กล้ามเนอื้และเส้นเอ็นคล้ายมนุษย์ที่มีชีวิต ดเูป็นธรรมชาติ
อารยธรรมกรีก
จิตรกรรม ส่วนใหญ่เป็นลวดลายที่ปรากฏบน 
เครื่องปั้นดินเผา เช่น แจกัน คนโท ไห ฯลฯ และฝาผนัง 
ที่พบในวิหารหรือกาแพง 
นาฏกรรม ละครประเภทโศกนาฏกรรม และ 
สุขนาฏกรรม การแสดงจะใช้นักแสดงชายทงั้หมด โดย 
ทุกคนจะสวมหน้ากากและมีผู้พากย์และหมู่นักร้อง ส่ง 
เสียงประกอบ
วรรณกรรม วรรณกรรมที่โดดเด่น ได้แก่ มหากาพย์ของโฮเมอร์ 
เรื่อง อีเลียด และ โอดิสซีที่สะท้อนถึงความรู้สึกที่กวีมีต่อโศกนาฏกรรมใน 
สงครามทรอย (Troy) นอกจากนี้ยังให้ขอ้มูลทางประวัติศาสตร์เกี่ยวกับ 
สถานที่ที่สา คัญ ประเพณีวิถีชีวิต และความคิดของชาวกรีกด้วย 
ปรัชญา 
- โซเครติส (Socrates) เกิดที่เธนส์เขาสอนให้คนใช้เหตุผลและ 
สติปัญญาในการแสวงหาความจริงเกี่ยวกับชีวิตมนุษย์วิธีสอนของ 
เขาเรียกว่า “Socretic method” ไม่เนน้การท่องจา แต่ใช้วิธี 
ตงั้คา ถามโดยไม่ต้องการคา ตอบแต่ให้ผู้ถูกถามขบคิดปัญหาเพื่อหา 
คา ตอบด้วยตนเองแม้โซเครติสมีลูกศิษย์มากมาย แต่ก็ไม่มีผลงาน 
เขียนของตนเอง ดังนั้นปรัชญาและทฤษฎีของเขาที่รู้จักจึงเป็น 
ผลงานที่ถ่ายทอดโดยลูกศิษย์ของเขา
- เพลโต (Plato) เป็นศิษย์เอกของโซเครติสเป็นผู้รวบรวม 
หลักคา สอนของโซเครติส เรียกว่า Dialogue และเป็นผู้ถ่ายทอด 
หลักการและความคิดของโซเครติสให้ชาวโลกได้รับรู้เพลโตได้เปิด 
โรงเรียนชื่อ “อะคาเดมี” (Academy) และได้เขียนหนังสือที่สะท้อน 
แนวคิดเกี่ยวกับการปกครอง การศึกษาระบบยุติธรรมผลงานที่โดเด่น 
จนทาให้ได้รับยกย่องว่าเป็นบิดาแห่งปรัชญาการเมืองสมัยใหม่คือ 
หนังสือชื่อ สาธารณรัฐ (Republic) ซึ่งเสนอแนวคิดในการ 
ปกครองประเทศและมีอิทธิพลต่อความคิดทางการเมืองของผูค้นทั่วโลก
- อริสโตเติล (Aristotle) เป็นทั้งนักปรัชญาและนักวิทยาศาสตร์เขา 
เป็นศิษย์ของเพลโตและเคยเป็นอาจารย์ของพระเจ้าอะเล็กซานเดอร์มหาราช 
อริสโตเติลเป็นทั้งนักปราชญ์และนักวิจัย ซึ่งนอกจากปรัชญาทางการเมืองแล้ว 
เขายังสนใจวิทยาการใหม่ๆด้วย เช่น ชีววิทยา ฟิสิกส์ ดาราศาสตร์หลัก 
ตรรกศาสตร์ วาทกรรม จริยศาสตร์ ฯลฯผลงานที่โดดเด่นของเขาคือหนังสือ 
ชื่อ การเมือง (Politics)
อารยธรรมกรีก
ประวัติศาสตร์ เ ป็ น ช าติแ ร ก ใ น โล ก ต ะ วัน ต กที่เ ริ่ม ศึก ษ า 
ประวัติศาสตร์ตามแบบวิธีการทางประวัติศาสตร์ โดยนักประวัติศ าสตร์ 
กรีกคนแรกที่เริ่มเขียนงานประวัติศาสตร์และได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดา 
แห่งวิชาประวัติศาสตร์ของโลกตะวันตก คือ เฮโรโดตัส (Herodotus) 
นอกจากนี้ยังมี ทูซิดิดีส (Thucydides) ซึ่งมีงานเขียน คือ The 
Peloponnesian War ซึ่งเป็นงานเขียนบันทึกเหตุการณ์ทาง 
ประวัติศาสตร์ดว้ยวิธีการของนักวิชาการเป็นครงั้แรก
คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ นักคณิตศาสตร์เด่นของกรีก 
ได้แก่ปิทาโกรัสแห่งเมืองซามอส ผู้คิดค้นทฤษีบทปิทาโกรัสยูคลิดแห่งเมืองอะ 
เล็กซานเดรีย ผูคิ้ดเรขาคณิตแบบยูคลิด และเขียนหนังสือชดุElements ซึ่ง 
มีจานวน 13 เล่มเนื้อหาส่วนใหญ่กล่าวถึงเรขาคณิตระนาบและเรื่องสัดส่วน 
อาร์คิมีดีสแห่งเซียราคิวส์เป็นผู้คิดระหัดวิดนา้แบบเกลียวลูกกรอกชุดตงั้กฎ 
ของคานดีดคานงัด และพบวิธีการหาปริมาตรของวัตถุโดยการแทนที่นา้
การแพทย์ฮิปโปเครตีส (Hippocrates) ไดรั้บการยกย่องเป็น 
“บิดาแห่งการแพทย์” ซึ่งค้นพบว่าโรคร้ายต่างๆที่เกิดขนึ้เกิดจากธรรมชาติ 
ไม่ใช่การลงโทษของพระเจ้า เขาเชอื่ว่าวิธีการรักษาที่ดีที่สุดคือการควบคุมดา้น 
โภชนาการและการพักผ่อน นอกจากนยีั้งเป็นผูริ้เริ่มการผ่าตัดและการกา หนด 
หลักจรรยาแพทย์ที่ถือปฏิบัติต่อมาจนถึงปัจจบุัน 
ดำรำศำสตร์และภมูิศำสตร์ เอราทอสทินีส (Eratosthenes) 
ที่เชื่อว่าโลกกลม สามารถคา นวณความยาวรอบโลกไดแ้ละยังค้นพบว่าการขนึ้ 
ลงของกระแสนา้เกิดจากอิทธิพลของดวงจันทร์
อำรยธรรมโรมัน
อารยธรรมกรีก
1. ปัจจัยทำงภมูิศำสตร์ที่มีผลต่ออำรยธรรมโรมัน 
อารยธรรมโรมันกา เนิดที่คาบสมุทรอิตาลีซึ่งตงั้อยู่ทางตอน 
ใต้ของทวีปยุโรปโดยมีลักษณะเป็นแหลมยื่นลงไปในทะเลเมดิเตอร์เร 
เนียนลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็ นภูเขา และเนินเขา ได้แก่ 
เทือกเขาแอลป์ทางทิศเหนือซึ่งกั้นคาบสมุทรอิตาลีออกจากดินแดน 
ส่วนอื่นของทวีปยุโรป และเทือกเขาแอเพนไนน์ซึ่งเป็นแกนกลางของ 
คาบสมุทรส่วนบริเวณที่ราบมีน้อยและมีที่ราบน้อยจึงทา ให้การตั้ง 
ถิ่นฐานของชุมชนอยู่อย่างกระจัดกระจายเป็นชุมชนเล็กๆพื้นที่ 
การเกษตรมีไม่มากนัก แต่เมื่อประชากรเพิ่มขึ้นบริเวณดังกล่าวไม่ 
สามารถรองรับการเกษตรที่ขยายตัวได้จึงเป็นสาเหตุที่ชาวโ รมัน 
ขยายดินแดนไปยังดินแดนอื่นๆ
แผȨี่กายภาพแสึϸที่ตั้งྺองอารยธรรมโรมัน
อำรยธรรมโรมัน 
สมัย 
ประวัติศำสตร์
สมัยสำธำรณรัฐ 
พวกอิทรัสกันโดยไดรั้บอารยธรรมของกรีก ซึ่งต่อมาได้อพยพเขา้มา 
ในแหลมอิตาลีจึงได้นา เอาความเชอื่ในศาสนาและเทพเจ้าของกรีก ศิลปะการ 
แกะสลักการทา เครื่องปั้นดินเผา ตัวอักษรการทา นายจากการดเูครื่องในของ 
สัตว์และการบินของนก การสร้างซุ้มประตโูค้ง (Arch) และประติมากรรมเทพ 
เจ้าเขา้มาเผยแพร่นอกจากพวกอิทรัสกันแล้วยังมีชนเผ่าอื่น ๆ อีก เช่น พวก 
ละตินต่อมาได้ตกมาอยู่ภายใตก้ารปกครองพวกอิทรัสกัน 
ในระยะแรกปกครองระบอบกษัตริย์ เรียกว่า อิมพิเรียม กษัตริย์จะ 
สภาซีเนตหรือสภาขุนนางเป็นที่ปรึกษาโดยสมาชิกจะอยู่ในชนชนั้พาทรีเชียน 
แต่ต่อมาพวกละตินได้ขับไล่อิทรัสกันออกจากบัลลังก์และตงั้กรุงโรมขนึ้
ต่ออานาจการปกครองยังเป็นดินแดนของพวกพาทริเชียน เท่านั้น 
ส่วนราษฎรที่เรียกว่า เพลเบียน ซึ่งเป็นสามัญชนหรือประชาชนส่วน 
ใหญ่ เช่น ชาวไร่ ชาวนา ช่างฝีมือไม่มีสิทธิใดๆทางการเมืองและ 
สังคมจนนา ไปสู่ความขัดแย้งระหว่าง 2 ชนชนั้จนพวกเพลเบียนมี 
สิทธิออกกฎหมายร่วมกับพวกพาทริเชียน เรียกว่ากฎหมายสิบสอง 
โต๊ะ (Law of the Twelve Tables) เพื่อใช้บังคับกับชาวโรมันทุกคนซึ่ง 
กฎหมายสิบสองโต๊ะนับเป็นมรดกชิ้นสาคัญของโรมที่ถือเป็นแม่แบบ 
ของกฎหมายโลกตะวันตก ต่อมาโรมันได้ทา สงครามพิวนิกกับพวก 
คาร์เทจโดยมีสาเหตุมาจากการแย่งผลประโยชน์ในเกาะชิชิลี ผลคือ 
ฝ่ายคาร์เทจแพ้จึงทา ให้โรมันกลายเป็นรัฐที่มีอา นาจสูงสุดในขณะนนั้
3. สมัยจักรวรรดิ 
ชาวโรมันเปลี่ยนการปกครองจากสาธารณรัฐมา 
ใช้เป็นจักรวรรดิ และออกุสตุส (Augustus) เป็นจักรพรรดิ 
หรือซีซาร์ (Caesar ) พระองค์แรกของจักรวรรดิโรมันใน 
สมัยนโี้รมันเจริญถึงขีดสุดละได้ขยายอา นาจไปยังภูมิภาค 
ต่างๆ และเมื่อศาสนาคริสต์ได้แผ่ขยายมาถึงดินแดนทาง 
ภาคตะวันตกของปาเลสไตน์ซึ่งอยู่ภายใต้การปกครองของ 
จักรวรรดิโรมันทาให้จักรวรรดิโรมันต่อต้านศาส นานี้ 
อย่างรนุแรง
แต่ในสมัยจักรพรรดิคอนสแตนตินมหาราชพระองค์ 
(Constantine the Great) ทรงให้เสรีภาพในการนับถือศาสนาทา ให้ 
จักรวรรดิโรมันกลายเป็นจักรวรรดิของคริสต์ศาสนาทรงสร้างกรงุ 
คอนสแตนติโนเปิล (ปัจจุบันคือ นครอิสตันบูลในประเทศตุรกี)ทาง 
ตะวันตกของจักรวรรดิโรมัน ต่อมาเรียกว่าจักรวรรดิโรมัน 
ตะวันออกหรือจักรวรรดิไบแซนไทน์(Byzantine) จนกระทั่งสมัย 
ปลายจักรวรรดิ โรมันเผชิญปัญหาภายในทาให้ถูกพวกอนารยชน 
เผ่าเยอรมันหรือเผ่ากอธเข้าปล้นสะดมและขับไล่กษัตริย์ออกจาก 
บัลลังก์ถือเป็ นการสิ้นสุดของจักรวรรดิโรมันตะวันตก แ ละ 
ประวัติศาสตร์สมัยโบราณ
จักรพรรดิหรือซี 
ซำร์ออกสุตสุ
มรดกของอำรยธรรมโรมัน 
ความโดดเด่นของอารยธรรมโรมันเกิดจากรากฐานที่ 
แข็งแรงซึ่งได้รับอิทธิพลจากอารยธรรมกรีกและอารยธรรม 
ของดินแดนรอบๆทะเลเมดิเตอร์เรเนียนผสานกับความ 
เจริญก้าวหน้าที่เป็นภูมิปัญญาของชาวโรมันเองที่พยายาม 
คิดค้นสร้างระบบต่างๆ เพื่อดา รงความยิ่งใหญ่ของจักรวรรดิ 
โรมันไว้
สถาปัตยกรรม เนน้ความใหญ่โต แข็งแรงทนทานโดย 
ชาวโรมันได้พัฒนาเทคนิคการก่อสร้างของกรีกเป็นประตู 
โค้ง (arch) และเปลี่ยนหลังคาจากจัว่เป็นโดม และสร้างอาคาร 
ต่าง ๆเพื่อสนองความต้องการของรัฐและ สาธาณชน เช่น 
โคลอสเซียม สถานที่อาบนา้สาธารณะ วิหารแพนธีออน 
(Pantheon)
โคลอสเซียม สถานที่บันเทิงของชาวโรมัน
ประติมากรรม สะท้อนบุคลิกภาพของมนุษย์อย่าง 
สมจริงตามธรรมชาติและมีสัดส่วนงดงามเหมือนกรีกแต่โรมัน 
จะเน้นพัฒนาศิลปะด้านการแกะสลักรูปเหมือนบุคคลสา คัญๆ 
เช่นจักรพรรดินักการเมืองโดยเฉพาะในครึ่งท่อนบนจะสามารถ 
แกะสลักได้อย่างสมบูรณ์ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความมีชีวิตชีวาชาว 
โรมันเชื่อว่าการแกะสลักรูปเหมือนจริงที่สุดจะช่วยรักษา 
วิญญาณของคนนนั้เมื่อตายไปแล้วไว้ได้นอกจากนยีั้งมีการ 
แกะสลักภาพนูนตา่เพื่อบันทึกเรื่องรามทางประวัติศาสตร์และ 
สดดุีวีรกรรมของนักรบ
ภาษาและวรรณกรรม ชาวโรมันพัฒนาภาษา 
ละตินจากตัวพยัญชนะในภาษากรีกที่พวกอีทรัสกันนามาใช้ 
จนใช้กันแพร่หลายในมหาวิทยาลัยของยุโรปสมัยกลางและ 
เป็นภาษาทางราชการของศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก 
ส่วนวรรณกรรมระยะแรกเป็นบันทึกพงศาวดาร กฎหมาย 
ตาราการทหาร และการเกษตรต่อมามีการแต่งงาน 
ประพันธ์เป็นของตนเอง ได้แก่ เรื่อง อิเนียดประพันธ์โดย 
เวอร์จิล งานประพันธ์ของซิเซโร เป็นต้น
วิศวกรรม การสร้างถนนคอนกรีต 
โดยถนนทั้ง 2 ข้างจะมีท่อระบายนา้ และมีหลักบอก 
ระยะทางนอกจากนี้ยังมีการสร้างสะพานส่งน้า 
(aqueduct) ขนาดสูงใหญ่จา นวนมากเพื่อนา นา้วันละ 
300 ล้านแกลลอนหรือประมาณ 8,505 ล้านลิตร จาก 
ภเูขาไปยังเมืองเพื่อให้ชาวเมืองไดใ้ช้
สะพานส่งน้า (aqueduct)
สภำพถนนภำยในกรงุโรมที่อดีตมีมำกจนมีคำ 
กล่ำวว่ำ “ถนนทกุสำยม่งุส่กูรงุโรม”
ปฏิทิน 
ปฏิทินจูเลียน (แบบสุริยคติ) ปีหนึ่งมี 12 
เดือนแต่ละปีมี 325วัน และเพิ่มเดือนกุมภาพันธ์ 
ให้ทุก ๆ 4 ปีมี 366วันต่อมาได้เปลี่ยนมาใช้เก 
รกอเรียน
ตัวอย่ำงปฏิทินจเูลี่ยน
กฎหมำย ระยะแรกโรมันไม่ได้เขียนเป็นลายลักษณ์ 
อักษรและไม่เป็นระบบแต่มีลักษณะกลมกลืนไปกับศาสนา ต่อมา 
เปลี่ยนเป็นกฎหมายบ้านเมืองจนในที่สุดก็ได้มีการตรากฎหมาย 
สิบสองโต๊ะ ซึ่งประมวลกฎหมายโรมันนี้เป็นรากฐานประมวล 
กฎหมายของประเทศต่างๆ แม้แต่กฎหมายของวัดในสมัยกลาง 
และยังแสดงให้เห็นถึงอิทธิพลในกฎหมายโรมันในสมัยจักรพรรดิ 
จัสติเนียนซึ่งได้และจัดเป็นหมวดหมู่ เรียกว่า ประมวลกฎหมายจัส 
ติเนียน และทิ้งไว้เป็นมรดกลา้ค่าของโลกตะวันตก
กำรแพทย์ 
แพทย์โรมันสามารถผ่าตัดรักษาโรคได้หลายโรค 
โดนเฉพาะการผ่าตัดทาคลอดทารกทางหน้าท้องของ 
มารดา ซึ่งเรียกว่าศัลยกรรมซีซาร์ นอกจากนี้ยังมีการ 
สร้างโรงพยาบาลระบบบา บัดนา้เสียและสิ่งปฏิกูล
สภำพสྺุำของชำวโรมัȨȨึϸต

More Related Content

อารยธรรมกรีก

  • 2. จัดทำโดย ม.6.5 นำงสำววำริ มะเริงสิทธิ์ เลขที่ 35 นำงสำวธมลภัษฎ์พฒุิพัฒน์วรกลุ เลขที่45
  • 5. ปัจจัยทำงภมูิศำสตร์ที่ส่งผลต่ออำรยธรรมกรีก ภมูิประเทศของกรีก ประกอบด้วยภเูขำ พื้นดิน และ ทะเล โดยกรีกมีพื้นที่รำบน้อย พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นภเูขำ และหมู่เกำะในทะเลอีเจียน ประชำชนอำศัยอยู่ตำม หมู่บ้ำนในบริเวณที่รำบเล็กๆในหบุเขำที่ล้อมรอบด้วย ภเูขำสงู ซึ่งเป็นอปุสรรคสำคัญในกำรติดต่อสื่อสำรซึ่ง สภำพภมูิศำสตร์เช่นนี้ทำให้แยกชมุชนต่ำงๆออกจำก กันส่งผลให้แต่ละเมืองแตกแยกเป็ นนครรัฐต่ำง ๆ มำกมำยซึ่งเป็นอิสระไม่ขึ้นแก่กัน
  • 6. นครรัฐที่สำคัญได้แก่ นครรัฐเอเธนส์และนครรัฐสปำร์ตำ พื้นดินส่วนใหญ่ของกรีกขำดควำมอดุมสมบูรณ์และมี พื้นดินขนำดเล็กประกอบกับมีแม่น้ำสำยสนั้ ๆน้ำไหลเชี่ยว และพัดพำเอำควำมอดุมสมบรูณ์ของดินไปและจำกลักษณะ ภมูิประเทศที่มีลักษณะคล้ำยแหลมยื่นไปในทะเลทำให้กรีกมี ชำยฝั่งทะเลที่ยำวซึ่งควำมเว้ำแหว่งของทะเลเป็ นที่กำบัง คลื่นลมได้เป็นอย่ำงดีใช้เป็นอ่ำวสำหรับจอดเรือ ทำให้ชำว กรีกเป็นคนชอบค้ำขำยทำงทะเลนอกจำกนี้ดินแดนกรีกยงั เป็ นดินแดนที่มีทรัพยำกรธรรมชำติมำกมำย เช่น เหล็ก ทอง เงิน หินอ่อน เป็นต้น
  • 7. ดินแดนของกรีกบนพื้นแผ่นดินในทวีปยโุรปแบ่งได้เป็น 3 ส่วน คือ ภาคเหนือ ได้แก่ แคว้นมาซิโดเนีย เทสซาลี และอิไพรัส ภาคกลาง ได้แก่บริเวณที่เป็นเนินเขาสูง เป็นที่ตงั้ของนครทีบส์ นครเดลฟี ช่องเขาเทอร์มอปิเล และยอดเขาพาร์แนสซัส ซึ่งเป็นที่ สถิตของอะพอลโล หรือสรุิยเทพตรงปลายสุดของด้านตะวันออก คือ แคว้นอัตติกา ซึ่งมีเมืองหลวง คือนครเอเธนส์ แหล่งกา เนิดการ ปกครองระบอบประชาธิปไตย บริเวณคาบสมุทรเพโลพอนนีซัส อยู่ตอนใต้อ่าวคอรินท์เป็น ที่ตงั้ของนครรัฐสปาร์ตา ที่มีชอื่เสียงด้านการรบ และโอลิมเปีย ซึ่ง เป็นที่สิงสถิตของบรรดาเทพเจ้ากรีก
  • 10. อำรยธรรมไมนวน เป็นอารยธรรมที่เกิดขึ้นที่เกาะครีตโดยมี ชาวครีตหรือชาวครีตันเป็นชนพื้นเมืองของเกาะ นี้ กษัตริย์ที่มีอา นาจมากที่สุด คือ พระเจ้ามินอส พระราชวังที่สา คัญ คือพระราชวังคนอสซุส
  • 13. อำรยธรรมไมซินี เป็นอารยธรรมของพวกไมซีเนียนมีศูนย์กลางอยู่ที่เมือง ไมซีเนบนคาบสมทรเพโลพอนนีซัส โดยบรรพบุรุษของชาวไมซี เนียน คือ พวกเอเคียน มีความสามารถในการรบและการค้า ซึ่งพวกนี้โจมตีเกาะครีต ทา ลายพระราชคนอสซุส และได้สร้าง เมืองไมซีเนขึ้นซึ่งมีป้ อมปราการที่แข็งแรงทาให้พวกเอเคียนมี ชื่อใหม่ว่าไมซีเนียนตามชื่อเมืองต่อมาพวกเอเคียนได้ไปทา สงครามกับเมืองทรอยในสงครามโทจันเนื่องจากเมืองทรอย ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของเอเชียไมเนอร์ซึ่งเป็น คู่แข่งทางการค้ากับเมืองไมซีเนจนสา เร็จ
  • 14. มรดกของอารยธรรมไมซีเน คือ การนับถือเทพ เจ้าหลายองค์รวมทั้งเทพเจ้าซุส เฮรา และโพไซดอน เป็นตน้ ความเสื่อมของอารยธรรมไมซีเน คือถูกพวก ดอเรียนซึ่งเป็นชาวกรีกเผ่าหนึ่งเข้ามารุกรานจนทา ให้ ความเจริญหยุดลงชัว่ขณะ
  • 17. ประกอบด้วย อารยธรรมเฮเลนิก และอารยธรรม เฮเลนิสติค - อำรยธรรมเฮเลนิก หรือยคุคลำสสิก ในสมัยนี้มีการสร้างอาณานิคมเกิดขึ้นมีการปฏิรูปทาง เศรษฐกิจและผู้นา ชุมชนเริ่มตั้งสภาและกลุ่มต่างๆ เพื่อจัด กิจกรรมสาธารณะที่อกอราซึ่งเป็นที่พบปะสังสรรค์กันของ ผู้คนในนครรัฐซึ่งยุคคลาสสิคนี้ได้เกิดนครรัฐขนาดใหญ่ 2 นครรัฐ ได้แก่ นครรัฐสปาร์ตาและนครรัฐเอเธนส์
  • 18. นครรัฐสปำร์ตำ ชาวสปาร์ตาเป็นชาตินักรบเนื่องจากต้องต่อสเู้พื่อให้ได้ ครอบครองลาโคเนียและเมอซีเนียและเพื่อป้ องกันการกบฏของ ลาโคเนียและเมอซีเนีย ชาว สปาร์ตาจึงต้องสร้างกองทัพให้ เข้มแข็ง จรทาให้ชาวสปาร์ตากลายเป็ นชาตินักรบมีการ ปกครองแบบคณาธิปไตย และเนื่องจากสภาพภูมิประเทศของ ชาว สปาร์ตาไม่มีท่าเรือที่ดีและตงั้อยู่อย่างโดดเดี่ยวขนาบ ด้วยภูเขาจึงทา ให้ชาวสปาร์ตาขาดการติดต่อจากโลกภายนอก และยังเป็นผลให้สปาร์ตาเป็นรัฐที่มีความสามารถในการรบอีก ด้วย
  • 19. นครรัฐเอเธนส์ เนื่องจำกชำวเอเธนส์อพยพแบบค่อยเป็ น ค่อยไปเข้ำมำในคำบสมุทรกรีกและสภำพภูมิ ประเทศของชำวเอเธนส์มั่งคั่งด้วยแร่ธำตแุละ ท่ำเรือที่ดีจึงทำให้มีพัฒนำกำรทำงด้ำนกำรค้ำ และมีควำมเจริญทำงด้ำนวัฒนธรรมจึงทำให้นคร รัฐแห่งนี้ปกครองด้วยระบอบประชำธิปไตยทำให้ ช ำ ว เ อ เ ธ น ส์เ ป็ น นัก ป ร ะ ช ำ ธิป ไ ต ย แ ล ะ รัก ควำมก้ำวหน้ำ
  • 21. ในยุคคลลาสสิคนี้เกิดสงครามครั้งยิ่งใหญ่2 ครั้ง ได้แก่ สงครามเปอร์เซียและสงครามเพโลพอนเนเชียน 1. สงครำมเปอร์เซีย สาเหตุเกิดจากความขัดแย้งระหว่างเอเธนส์กับ เปอร์เซียเพราะเปอร์เซียขยายอานาจเข้ามาในเอเชียไม เนอร์ ผลของสงคราม คือเอเธนส์ชนะเปอร์เซีย
  • 22. 2. สงครำมเพโลพอนเนเชียน ชาวกรีกเกิดความคิดในการเตรียมการป้ องกันชาว เปอร์เซีย นครรัฐต่างๆของกรีกจึงต่างเข้ามาเป็นสมาชิก และสมาชิก แต่ละนครรัฐมีสิทธิเท่าเทียมทา ให้นครรัฐกรีกร่วมกันตงั้สหพันธ์แห่ง เกาะเดลอส สหพันธรัฐใช้เป็นศูนย์กลางและเป็นที่เก็บทรัพย์สมบัติแต่ ในความเป็นจริงแล้วนครรัฐเอเธนส์มีอิทธิพลในการเป็นผู้นา ต่อมา สหพันธรัฐเปลี่ยนสภาพเป็นจักรวรรดิของเอเธนส์เอเธนส์ใช้เงินเพื่อ ผลประโยชน์ของตนเอง ลดฐานะสมาชิกอื่น ๆให้อยู่ในฐานะบริวาร และห้ามไม่ให้รัฐสมาชิกแยกตัวออกจากสหพันธ์เมื่อรัฐใดก่อกบฏก็จะ ใชก้า ลังปราบโดยยึดกองทหารเรือและเก็บเครื่องราชบรรณาการ
  • 23. วิธีนี้ทาให้นครรัฐสปาร์ตากลัวว่า เอเธนส์จะเป็นผู้นากรีก ทั้งหมดและเนื่องจากสภาพสังคมของทั้ง 2 รัฐแตกต่างกัน จึงทา ให้เกิดสงครามขนึ้ผลของสงคราม คือ นครรัฐสปาร์ตา ชนะ ทา ให้นครรัฐสปาร์ตาได้เอเธนส์ไว้ในอา นาจและนา ระบอบ การปกครองแบบคณาธิปไตยมาใช้แต่การปกครองของสปาร์ ตาไม่มั่นคงจึงทาให้นครรัฐสปาร์ตาพ่ายแพ้ต่อกองทัพของ นครธีบีสและเอเธนส์ ในที่สุดกรีกทั้งหมดก็ตกอยู่ภายใต้ อิทธิพลของมาซิโดเนีย
  • 24. - อำรยธรรมเฮเลนิสติก เป็นช่วงที่นครรัฐต่างๆ ของกรีกเสื่อมลงเนื่องมาจาก สงครามเพโลพอนเนเชียน และแคว้นมาซิโดเนียเจริญขนึ้โดย แคว้นมาซิโดเนียมีกษัตริย์องค์สาคัญ ได้แก่ พระเจ้าฟิลิปที่ 2 ได้นครรัฐกรีกไว้ในอานาจ และกษัตริย์องค์ต่อมา คือพระเจ้า อเล็กซานเดอร์มหาราช ได้ทาการปลดปล่อยหัวเมือง กรีก ต่างๆบนเอเชียไมเนอร์ให้พ้นจากการปกครองเปอร์เซีย
  • 25. มรดกทำงอำรยธรรมกรีก สถาปัตยกรรม ใช้ระบบโครงสร้างแบบเสาและคาน แผนผัง อาคารเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ามีการสร้างเสารายรอบอาคาร ซึ่งจะมี ความแตกต่างตรงหัวเสา สามารถแบ่งออกเป็น 3 แบบ คือ แบบด อริก แบบไอโอนิก และแบบคอรินเธียน และส่วนใหญ่ยังนิยมก่อสร้าง อาคารเพื่อกิจกรรมสาธารณะ เช่นวิหาร สนามกีฬา และโรงละคร วิหารที่มีชื่อเสียงสร้างบนภูเขาที่มีชื่อเรียกว่า อะครอโพลิส คือ วิหาร พาร์เธนอนสร้างเพื่อถวายแด่เทพีอะธนีา
  • 27. 1. แบบดอริก เน้นความแข็งแรงเสาส่วนล่างใหญ่และเรียว ขึ้นเล็กน้อย ตามลา เสาแกะเป็นทางยาวตามแนวตั้ง เช่น วิหารพาร์ เธนอน 2. แบบไอออนิก ลักษณะเรียวกว่าเสาแบบดอริก หัวเสาทา เป็นรูปลายคดโค้ง เช่น วิหารอีเรกเธอัมที่เอเธนส์ สร้างอุทิศแก่ อีเรกเธอัส 3. แบบคอรินเธียน เน้นความงามหรูหรา มีการประดับ ยอดเสาด้วยลายใบไม้ ปรากฏมากในยุคเฮลเลนสิติก ประติมากรรม ส่วนใหญ่เป็นรูปปั้นเทพเจ้าที่มีลายเส้น กล้ามเนอื้และเส้นเอ็นคล้ายมนุษย์ที่มีชีวิต ดเูป็นธรรมชาติ
  • 29. จิตรกรรม ส่วนใหญ่เป็นลวดลายที่ปรากฏบน เครื่องปั้นดินเผา เช่น แจกัน คนโท ไห ฯลฯ และฝาผนัง ที่พบในวิหารหรือกาแพง นาฏกรรม ละครประเภทโศกนาฏกรรม และ สุขนาฏกรรม การแสดงจะใช้นักแสดงชายทงั้หมด โดย ทุกคนจะสวมหน้ากากและมีผู้พากย์และหมู่นักร้อง ส่ง เสียงประกอบ
  • 30. วรรณกรรม วรรณกรรมที่โดดเด่น ได้แก่ มหากาพย์ของโฮเมอร์ เรื่อง อีเลียด และ โอดิสซีที่สะท้อนถึงความรู้สึกที่กวีมีต่อโศกนาฏกรรมใน สงครามทรอย (Troy) นอกจากนี้ยังให้ขอ้มูลทางประวัติศาสตร์เกี่ยวกับ สถานที่ที่สา คัญ ประเพณีวิถีชีวิต และความคิดของชาวกรีกด้วย ปรัชญา - โซเครติส (Socrates) เกิดที่เธนส์เขาสอนให้คนใช้เหตุผลและ สติปัญญาในการแสวงหาความจริงเกี่ยวกับชีวิตมนุษย์วิธีสอนของ เขาเรียกว่า “Socretic method” ไม่เนน้การท่องจา แต่ใช้วิธี ตงั้คา ถามโดยไม่ต้องการคา ตอบแต่ให้ผู้ถูกถามขบคิดปัญหาเพื่อหา คา ตอบด้วยตนเองแม้โซเครติสมีลูกศิษย์มากมาย แต่ก็ไม่มีผลงาน เขียนของตนเอง ดังนั้นปรัชญาและทฤษฎีของเขาที่รู้จักจึงเป็น ผลงานที่ถ่ายทอดโดยลูกศิษย์ของเขา
  • 31. - เพลโต (Plato) เป็นศิษย์เอกของโซเครติสเป็นผู้รวบรวม หลักคา สอนของโซเครติส เรียกว่า Dialogue และเป็นผู้ถ่ายทอด หลักการและความคิดของโซเครติสให้ชาวโลกได้รับรู้เพลโตได้เปิด โรงเรียนชื่อ “อะคาเดมี” (Academy) และได้เขียนหนังสือที่สะท้อน แนวคิดเกี่ยวกับการปกครอง การศึกษาระบบยุติธรรมผลงานที่โดเด่น จนทาให้ได้รับยกย่องว่าเป็นบิดาแห่งปรัชญาการเมืองสมัยใหม่คือ หนังสือชื่อ สาธารณรัฐ (Republic) ซึ่งเสนอแนวคิดในการ ปกครองประเทศและมีอิทธิพลต่อความคิดทางการเมืองของผูค้นทั่วโลก
  • 32. - อริสโตเติล (Aristotle) เป็นทั้งนักปรัชญาและนักวิทยาศาสตร์เขา เป็นศิษย์ของเพลโตและเคยเป็นอาจารย์ของพระเจ้าอะเล็กซานเดอร์มหาราช อริสโตเติลเป็นทั้งนักปราชญ์และนักวิจัย ซึ่งนอกจากปรัชญาทางการเมืองแล้ว เขายังสนใจวิทยาการใหม่ๆด้วย เช่น ชีววิทยา ฟิสิกส์ ดาราศาสตร์หลัก ตรรกศาสตร์ วาทกรรม จริยศาสตร์ ฯลฯผลงานที่โดดเด่นของเขาคือหนังสือ ชื่อ การเมือง (Politics)
  • 34. ประวัติศาสตร์ เ ป็ น ช าติแ ร ก ใ น โล ก ต ะ วัน ต กที่เ ริ่ม ศึก ษ า ประวัติศาสตร์ตามแบบวิธีการทางประวัติศาสตร์ โดยนักประวัติศ าสตร์ กรีกคนแรกที่เริ่มเขียนงานประวัติศาสตร์และได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดา แห่งวิชาประวัติศาสตร์ของโลกตะวันตก คือ เฮโรโดตัส (Herodotus) นอกจากนี้ยังมี ทูซิดิดีส (Thucydides) ซึ่งมีงานเขียน คือ The Peloponnesian War ซึ่งเป็นงานเขียนบันทึกเหตุการณ์ทาง ประวัติศาสตร์ดว้ยวิธีการของนักวิชาการเป็นครงั้แรก
  • 35. คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ นักคณิตศาสตร์เด่นของกรีก ได้แก่ปิทาโกรัสแห่งเมืองซามอส ผู้คิดค้นทฤษีบทปิทาโกรัสยูคลิดแห่งเมืองอะ เล็กซานเดรีย ผูคิ้ดเรขาคณิตแบบยูคลิด และเขียนหนังสือชดุElements ซึ่ง มีจานวน 13 เล่มเนื้อหาส่วนใหญ่กล่าวถึงเรขาคณิตระนาบและเรื่องสัดส่วน อาร์คิมีดีสแห่งเซียราคิวส์เป็นผู้คิดระหัดวิดนา้แบบเกลียวลูกกรอกชุดตงั้กฎ ของคานดีดคานงัด และพบวิธีการหาปริมาตรของวัตถุโดยการแทนที่นา้
  • 36. การแพทย์ฮิปโปเครตีส (Hippocrates) ไดรั้บการยกย่องเป็น “บิดาแห่งการแพทย์” ซึ่งค้นพบว่าโรคร้ายต่างๆที่เกิดขนึ้เกิดจากธรรมชาติ ไม่ใช่การลงโทษของพระเจ้า เขาเชอื่ว่าวิธีการรักษาที่ดีที่สุดคือการควบคุมดา้น โภชนาการและการพักผ่อน นอกจากนยีั้งเป็นผูริ้เริ่มการผ่าตัดและการกา หนด หลักจรรยาแพทย์ที่ถือปฏิบัติต่อมาจนถึงปัจจบุัน ดำรำศำสตร์และภมูิศำสตร์ เอราทอสทินีส (Eratosthenes) ที่เชื่อว่าโลกกลม สามารถคา นวณความยาวรอบโลกไดแ้ละยังค้นพบว่าการขนึ้ ลงของกระแสนา้เกิดจากอิทธิพลของดวงจันทร์
  • 39. 1. ปัจจัยทำงภมูิศำสตร์ที่มีผลต่ออำรยธรรมโรมัน อารยธรรมโรมันกา เนิดที่คาบสมุทรอิตาลีซึ่งตงั้อยู่ทางตอน ใต้ของทวีปยุโรปโดยมีลักษณะเป็นแหลมยื่นลงไปในทะเลเมดิเตอร์เร เนียนลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็ นภูเขา และเนินเขา ได้แก่ เทือกเขาแอลป์ทางทิศเหนือซึ่งกั้นคาบสมุทรอิตาลีออกจากดินแดน ส่วนอื่นของทวีปยุโรป และเทือกเขาแอเพนไนน์ซึ่งเป็นแกนกลางของ คาบสมุทรส่วนบริเวณที่ราบมีน้อยและมีที่ราบน้อยจึงทา ให้การตั้ง ถิ่นฐานของชุมชนอยู่อย่างกระจัดกระจายเป็นชุมชนเล็กๆพื้นที่ การเกษตรมีไม่มากนัก แต่เมื่อประชากรเพิ่มขึ้นบริเวณดังกล่าวไม่ สามารถรองรับการเกษตรที่ขยายตัวได้จึงเป็นสาเหตุที่ชาวโ รมัน ขยายดินแดนไปยังดินแดนอื่นๆ
  • 42. สมัยสำธำรณรัฐ พวกอิทรัสกันโดยไดรั้บอารยธรรมของกรีก ซึ่งต่อมาได้อพยพเขา้มา ในแหลมอิตาลีจึงได้นา เอาความเชอื่ในศาสนาและเทพเจ้าของกรีก ศิลปะการ แกะสลักการทา เครื่องปั้นดินเผา ตัวอักษรการทา นายจากการดเูครื่องในของ สัตว์และการบินของนก การสร้างซุ้มประตโูค้ง (Arch) และประติมากรรมเทพ เจ้าเขา้มาเผยแพร่นอกจากพวกอิทรัสกันแล้วยังมีชนเผ่าอื่น ๆ อีก เช่น พวก ละตินต่อมาได้ตกมาอยู่ภายใตก้ารปกครองพวกอิทรัสกัน ในระยะแรกปกครองระบอบกษัตริย์ เรียกว่า อิมพิเรียม กษัตริย์จะ สภาซีเนตหรือสภาขุนนางเป็นที่ปรึกษาโดยสมาชิกจะอยู่ในชนชนั้พาทรีเชียน แต่ต่อมาพวกละตินได้ขับไล่อิทรัสกันออกจากบัลลังก์และตงั้กรุงโรมขนึ้
  • 43. ต่ออานาจการปกครองยังเป็นดินแดนของพวกพาทริเชียน เท่านั้น ส่วนราษฎรที่เรียกว่า เพลเบียน ซึ่งเป็นสามัญชนหรือประชาชนส่วน ใหญ่ เช่น ชาวไร่ ชาวนา ช่างฝีมือไม่มีสิทธิใดๆทางการเมืองและ สังคมจนนา ไปสู่ความขัดแย้งระหว่าง 2 ชนชนั้จนพวกเพลเบียนมี สิทธิออกกฎหมายร่วมกับพวกพาทริเชียน เรียกว่ากฎหมายสิบสอง โต๊ะ (Law of the Twelve Tables) เพื่อใช้บังคับกับชาวโรมันทุกคนซึ่ง กฎหมายสิบสองโต๊ะนับเป็นมรดกชิ้นสาคัญของโรมที่ถือเป็นแม่แบบ ของกฎหมายโลกตะวันตก ต่อมาโรมันได้ทา สงครามพิวนิกกับพวก คาร์เทจโดยมีสาเหตุมาจากการแย่งผลประโยชน์ในเกาะชิชิลี ผลคือ ฝ่ายคาร์เทจแพ้จึงทา ให้โรมันกลายเป็นรัฐที่มีอา นาจสูงสุดในขณะนนั้
  • 44. 3. สมัยจักรวรรดิ ชาวโรมันเปลี่ยนการปกครองจากสาธารณรัฐมา ใช้เป็นจักรวรรดิ และออกุสตุส (Augustus) เป็นจักรพรรดิ หรือซีซาร์ (Caesar ) พระองค์แรกของจักรวรรดิโรมันใน สมัยนโี้รมันเจริญถึงขีดสุดละได้ขยายอา นาจไปยังภูมิภาค ต่างๆ และเมื่อศาสนาคริสต์ได้แผ่ขยายมาถึงดินแดนทาง ภาคตะวันตกของปาเลสไตน์ซึ่งอยู่ภายใต้การปกครองของ จักรวรรดิโรมันทาให้จักรวรรดิโรมันต่อต้านศาส นานี้ อย่างรนุแรง
  • 45. แต่ในสมัยจักรพรรดิคอนสแตนตินมหาราชพระองค์ (Constantine the Great) ทรงให้เสรีภาพในการนับถือศาสนาทา ให้ จักรวรรดิโรมันกลายเป็นจักรวรรดิของคริสต์ศาสนาทรงสร้างกรงุ คอนสแตนติโนเปิล (ปัจจุบันคือ นครอิสตันบูลในประเทศตุรกี)ทาง ตะวันตกของจักรวรรดิโรมัน ต่อมาเรียกว่าจักรวรรดิโรมัน ตะวันออกหรือจักรวรรดิไบแซนไทน์(Byzantine) จนกระทั่งสมัย ปลายจักรวรรดิ โรมันเผชิญปัญหาภายในทาให้ถูกพวกอนารยชน เผ่าเยอรมันหรือเผ่ากอธเข้าปล้นสะดมและขับไล่กษัตริย์ออกจาก บัลลังก์ถือเป็ นการสิ้นสุดของจักรวรรดิโรมันตะวันตก แ ละ ประวัติศาสตร์สมัยโบราณ
  • 47. มรดกของอำรยธรรมโรมัน ความโดดเด่นของอารยธรรมโรมันเกิดจากรากฐานที่ แข็งแรงซึ่งได้รับอิทธิพลจากอารยธรรมกรีกและอารยธรรม ของดินแดนรอบๆทะเลเมดิเตอร์เรเนียนผสานกับความ เจริญก้าวหน้าที่เป็นภูมิปัญญาของชาวโรมันเองที่พยายาม คิดค้นสร้างระบบต่างๆ เพื่อดา รงความยิ่งใหญ่ของจักรวรรดิ โรมันไว้
  • 48. สถาปัตยกรรม เนน้ความใหญ่โต แข็งแรงทนทานโดย ชาวโรมันได้พัฒนาเทคนิคการก่อสร้างของกรีกเป็นประตู โค้ง (arch) และเปลี่ยนหลังคาจากจัว่เป็นโดม และสร้างอาคาร ต่าง ๆเพื่อสนองความต้องการของรัฐและ สาธาณชน เช่น โคลอสเซียม สถานที่อาบนา้สาธารณะ วิหารแพนธีออน (Pantheon)
  • 50. ประติมากรรม สะท้อนบุคลิกภาพของมนุษย์อย่าง สมจริงตามธรรมชาติและมีสัดส่วนงดงามเหมือนกรีกแต่โรมัน จะเน้นพัฒนาศิลปะด้านการแกะสลักรูปเหมือนบุคคลสา คัญๆ เช่นจักรพรรดินักการเมืองโดยเฉพาะในครึ่งท่อนบนจะสามารถ แกะสลักได้อย่างสมบูรณ์ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความมีชีวิตชีวาชาว โรมันเชื่อว่าการแกะสลักรูปเหมือนจริงที่สุดจะช่วยรักษา วิญญาณของคนนนั้เมื่อตายไปแล้วไว้ได้นอกจากนยีั้งมีการ แกะสลักภาพนูนตา่เพื่อบันทึกเรื่องรามทางประวัติศาสตร์และ สดดุีวีรกรรมของนักรบ
  • 51. ภาษาและวรรณกรรม ชาวโรมันพัฒนาภาษา ละตินจากตัวพยัญชนะในภาษากรีกที่พวกอีทรัสกันนามาใช้ จนใช้กันแพร่หลายในมหาวิทยาลัยของยุโรปสมัยกลางและ เป็นภาษาทางราชการของศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก ส่วนวรรณกรรมระยะแรกเป็นบันทึกพงศาวดาร กฎหมาย ตาราการทหาร และการเกษตรต่อมามีการแต่งงาน ประพันธ์เป็นของตนเอง ได้แก่ เรื่อง อิเนียดประพันธ์โดย เวอร์จิล งานประพันธ์ของซิเซโร เป็นต้น
  • 52. วิศวกรรม การสร้างถนนคอนกรีต โดยถนนทั้ง 2 ข้างจะมีท่อระบายนา้ และมีหลักบอก ระยะทางนอกจากนี้ยังมีการสร้างสะพานส่งน้า (aqueduct) ขนาดสูงใหญ่จา นวนมากเพื่อนา นา้วันละ 300 ล้านแกลลอนหรือประมาณ 8,505 ล้านลิตร จาก ภเูขาไปยังเมืองเพื่อให้ชาวเมืองไดใ้ช้
  • 55. ปฏิทิน ปฏิทินจูเลียน (แบบสุริยคติ) ปีหนึ่งมี 12 เดือนแต่ละปีมี 325วัน และเพิ่มเดือนกุมภาพันธ์ ให้ทุก ๆ 4 ปีมี 366วันต่อมาได้เปลี่ยนมาใช้เก รกอเรียน
  • 57. กฎหมำย ระยะแรกโรมันไม่ได้เขียนเป็นลายลักษณ์ อักษรและไม่เป็นระบบแต่มีลักษณะกลมกลืนไปกับศาสนา ต่อมา เปลี่ยนเป็นกฎหมายบ้านเมืองจนในที่สุดก็ได้มีการตรากฎหมาย สิบสองโต๊ะ ซึ่งประมวลกฎหมายโรมันนี้เป็นรากฐานประมวล กฎหมายของประเทศต่างๆ แม้แต่กฎหมายของวัดในสมัยกลาง และยังแสดงให้เห็นถึงอิทธิพลในกฎหมายโรมันในสมัยจักรพรรดิ จัสติเนียนซึ่งได้และจัดเป็นหมวดหมู่ เรียกว่า ประมวลกฎหมายจัส ติเนียน และทิ้งไว้เป็นมรดกลา้ค่าของโลกตะวันตก
  • 58. กำรแพทย์ แพทย์โรมันสามารถผ่าตัดรักษาโรคได้หลายโรค โดนเฉพาะการผ่าตัดทาคลอดทารกทางหน้าท้องของ มารดา ซึ่งเรียกว่าศัลยกรรมซีซาร์ นอกจากนี้ยังมีการ สร้างโรงพยาบาลระบบบา บัดนา้เสียและสิ่งปฏิกูล