ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมȨญ 
ที่มาและองค์ประกอบของคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมȨญ 
คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมȨญ ประกอบด้วยกรรมาธิการจานวน ๓๖ คน ซึ่งประธาน สภาปฏิรูปแห่งชาติแต่งตั้งจากบุคคล ดังต่อไปนี้ 
(๑) ประธานกรรมาธิการตามที่คณะรักษาความสงบแห่งชาติเสนอ 
(๒) ผู้ซึ่งสภาปฏิรูปแห่งชาติเสนอ จานวน ๒๐ คน 
(๓) ผู้ซึ่งสภานิติบัญญัติแห่งชาติ คณะรัฐมนตรี และคณะรักษาความสงบแห่งชาติเสนอ ฝ่ายละ ๕ คน 
การแต่งตั้งคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมȨญ ต้องดาเนินการให้แล้วเสร็จภายใน ๑๕ วัน นับแต่วันที่มีการเรียกประชุมสภาปฏิรูปแห่งชาติเป็นครั้งแรก 
ในกรณีที่กรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญพ้นจากตาแหน่งไม่ว่าด้วยเหตุใด ให้คณะกรรมาธิการ ยกร่างรัฐธรรมนูญที่เหลืออยู่ปฏิบัติหน้าที่ต่อไปได้ โดยให้ถือว่าคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมȨญ ประกอบด้วยกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญเท่าที่เหลืออยู่ แต่ให้ประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติแต่งตั้ง กรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญแทนตาแหน่งที่ว่างตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดไว้ ภายใน ๑๕ วัน นับแต่วันที่ กรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญพ้นจากตาแหน่ง 
คุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ 
กรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญต้องมีสัญชาติไทยโดยการเกิด มีอายุไม่ต่ากว่า ๔๐ ปี และไม่มี ลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้ 
(๑) เป็นผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง เว้นแต่เป็นผู้ดารงตาแหน่งในคณะรักษาความสงบ แห่งชาติ สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ หรือสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ 
(๒) เป็นหรือเคยเป็นสมาชิกหรือดารงตาแหน่งใดในพรรคการเมืองภายในระยะเวลาสามปี ก่อนวันที่ได้รับการแต่งตั้ง 
(๓) เป็นภิกษุ สามเณร นักพรต หรือนักบวช 
(๔) เป็นบุคคลล้มละลายหรือเคยเป็นบุคคลล้มละลายทุจริต 
(๕) เคยถูกเพิกถอนสิทธิเลือกตั้ง 
(๖) เคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจเพราะ ทุจริตต่อหน้าที่หรือถือว่ากระทาการทุจริตหรือประพฤติมิชอบ 
(๗) เคยต้องคาพิพากษาให้ทรัพย์สินตกเป็นของแผ่นดินเพราะร่ารวยผิดปกติหรือมีทรัพย์สิน เพิ่มขึ้นผิดปกติ 
(๘) อยู่ระหว่างต้องห้ามมิให้ดารงตาแหน่งทางการเมือง หรือเคยถูกถอดถอนจากตาแหน่ง 
(๙) เคยต้องคาพิพากษาถึงที่สุดว่ากระทาความผิดต่อตาแหน่งหน้าที่ราชการ หรือความผิดต่อ ตาแหน่งหน้าที่ในการยุติธรรม หรือกระทาผิดกฎหมายเกี่ยวกับยาเสพติด หรือกฎหมายเกี่ยวกับการพนันใน ฐานความผิดเป็นเจ้ามือหรือเจ้าสานัก 
(๑๐) เคยต้องคาพิพากษาถึงที่สุดให้จาคุก เว้นแต่ในความผิดอันได้กระทาโดยประมาทหรือ ความผิดลหุโทษ
๒ 
(๑๑) เป็นผู้พิพากษาหรือตุลาการ หรือผู้ดารงตาแหน่งในองค์กรตามรัฐธรรมนูญตาม รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ 
อนึ่ง เพื่อประโยชน์แห่งการขจัดส่วนได้เสีย ห้ามมิให้กรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญดารง ตาแหน่งทางการเมืองภายใน ๒ ปีนับแต่วันที่พ้นจากตาแหน่งกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ 
กรอบระยะเวลาในการจัดทาร่างรัฐธรรมนูญ 
ให้คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมȨญจัดทาร่างรัฐธรรมนูญให้แล้วเสร็จภายใน ๑๒๐ วัน นับแต่วันที่ได้รับความเห็นหรือข้อเสนอแนะจากสภาปฏิรูปแห่งชาติตามมาตรา ๓๑ (๒) ของรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ แล้วเสนอต่อสภาปฏิรูปแห่งชาติเพื่อพิจารณา 
ในการจัดทาร่างรัฐธรรมนูญ ให้คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมȨญนาความเห็นหรือ ข้อเสนอแนะของสภาปฏิรูปแห่งชาติ และความเห็นของภาคส่วนต่าง ๆ ประกอบการพิจารณาด้วย ได้แก่ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ คณะรัฐมนตรี คณะรักษาความสงบแห่งชาติ และความเห็นของประชาชนรวมทั้ง หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 
ขอบเขตเนื้อหาของร่างรัฐธรรมนูญ 
คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมȨญต้องจัดทาร่างรัฐธรรมนูญให้ครอบคลุมเรื่องดังต่อไปนี้ด้วย 
(๑) การรับรองความเป็นราชอาณาจักรอันหนึ่งอันเดียวจะแบ่งแยกมิได้ 
(๒) การให้มีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ที่เหมาะสมกับสภาพสังคมของไทย 
(๓) กลไกที่มีประสิทธิภาพในการป้องกัน ตรวจสอบ และขจัดการทุจริตและประพฤติมิชอบ ทั้งในภาครัฐและภาคเอกชน รวมทั้งกลไกในการกากับและควบคุมให้การใช้อานาจรัฐเป็นไปเพื่อประโยชน์ ส่วนรวมของประเทศชาติและประชาชน 
(๔) กลไกที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันและตรวจสอบมิให้ผู้เคยต้องคาพิพากษาหรือคาสั่ง ที่ชอบด้วยกฎหมายว่ากระทาการทุจริตหรือประพฤติมิชอบ หรือเคยกระทาการอันทาให้การเลือกตั้ง ไม่สุจริตหรือเที่ยงธรรม เข้าดารงตาแหน่งทางการเมืองอย่างเด็ดขาด 
(๕) กลไกที่มีประสิทธิภาพที่ทาให้เจ้าหน้าที่ของรัฐโดยเฉพาะผู้ดารงตาแหน่งทางการเมืองและ พรรคการเมือง สามารถปฏิบัติหน้าที่หรือดาเนินกิจกรรมได้โดยอิสระ ปราศจากการครอบงาหรือชี้นาโดย บุคคลหรือคณะบุคคลใด ๆ โดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย 
(๖) กลไกที่มีประสิทธิภาพในการสร้างเสริมความเข้มแข็งของหลักนิติธรรม และการสร้างเสริม คุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลในทุกภาคส่วนและทุกระดับ 
(๗) กลไกที่มีประสิทธิภาพในการปรับโครงสร้างและขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจและสังคม เพื่อให้เกิดความเป็นธรรมอย่างยั่งยืน และป้องกันการบริหารราชการแผ่นดินที่มุ่งสร้างความนิยม ทางการเมืองที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศและประชาชนในระยะยาว 
(๘) กลไกที่มีประสิทธิภาพในการใช้จ่ายเงินของรัฐให้เป็นไปอย่างคุ้มค่าและตอบสนองต่อ ประโยชน์ส่วนรวมของประชาชนโดยสอดคล้องกับสถานะทางการเงินการคลังของประเทศ และกลไก การตรวจสอบและเปิดเผยการใช้จ่ายเงินของรัฐที่มีประสิทธิภาพ
๓ 
(๙) กลไกที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันมิให้มีการทาลายหลักการสาคัญที่รัฐธรรมนูญจะได้ วางไว้ 
(๑๐) กลไกที่จะผลักดันให้มีการปฏิรูปเรื่องสาคัญต่าง ๆ ให้สมบูรณ์ต่อไป 
ให้คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมȨญพิจารณาถึงความจาเป็นและความคุ้มค่าที่ต้องมี องค์กรตามรัฐธรรมนูญหรือองค์กรที่ก่อตั้งขึ้นโดยอาศัยอานาจตามรัฐธรรมนูญ ในกรณีที่จาเป็นต้องมี ให้พิจารณามาตรการที่จะให้การดาเนินงานขององค์กรดังกล่าวเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลด้วย 
การเสนอร่างรัฐธรรมนูญให้สภาปฏิรูปแห่งชาติเพื่อพิจารณาเสนอแนะหรือให้ความเห็น 
คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมȨญต้องเสนอร่างรัฐธรรมนูญที่จัดทาเสร็จต่อประธาน สภาปฏิรูปแห่งชาติ และให้ประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติจัดให้สภาปฏิรูปแห่งชาติประชุมกันเพื่อพิจารณา เสนอแนะหรือให้ความเห็นให้แล้วเสร็จภายใน ๑๐ วันนับแต่วันที่ได้รับร่างรัฐธรรมนูญ 
สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติอาจขอแก้ไขเพิ่มเติมร่างรัฐธรรมนูญได้ภายใน ๓๐ วันนับแต่วันที่ สภาปฏิรูปแห่งชาติเสร็จสิ้นการพิจารณา คาขอแก้ไขเพิ่มเติมของสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติต้องมีสมาชิก สภาปฏิรูปแห่งชาติลงชื่อรับรองไม่น้อยกว่า ๑ ใน ๑๐ ของจานวนสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติและสมาชิก สภาปฏิรูปแห่งชาติที่ยื่นคาขอหรือที่ให้คารับรองคาขอของสมาชิกอื่นแล้ว จะยื่นคาขอหรือรับรองคาขอของ สมาชิกอื่นอีกมิได้ 
ให้คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมȨญส่งร่างรัฐธรรมนูญให้คณะรัฐมนตรีและคณะรักษา ความสงบแห่งชาติด้วย และคณะรัฐมนตรีหรือคณะรักษาความสงบแห่งชาติจะเสนอความคิดเห็นหรือยื่น คาขอแก้ไขเพิ่มเติมได้ภายใน ๓๐ วันนับแต่วันที่ได้รับร่างรัฐธรรมนูญ 
อนึ่ง คาขอแก้ไขเพิ่มเติมให้ยื่นต่อประธานกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ 
การพิจารณาคาขอแก้ไขเพิ่มเติม 
เมื่อคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมȨญได้รับคาขอแก้ไขเพิ่มเติมจากสมาชิกสภาปฏิรูป แห่งชาติ และคาขอแก้ไขเพิ่มเติมจากคณะรัฐมนตรีหรือคณะรักษาความสงบแห่งชาติแล้ว คณะกรรมาธิการ ยกร่างรัฐธรรมนูญต้องพิจารณาคาขอแก้ไขเพิ่มเติมให้แล้วเสร็จภายใน ๖๐ วันนับแต่วันที่ครบกาหนดยื่น คาขอแก้ไขเพิ่มเติมของสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ ในการนี้ คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมȨญอาจแก้ไข เพิ่มเติมร่างรัฐธรรมนูญได้ตามที่เห็นสมควร 
การพิจารณาให้ความเห็นชอบร่างรัฐธรรมนูญ 
เมื่อคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมȨญได้แก้ไขเพิ่มเติมร่างรัฐธรรมนูญแล้ว ให้เสนอ ร่างรัฐธรรมนูญต่อสภาปฏิรูปแห่งชาติเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบร่างรัฐธรรมนูญนั้น ทั้งฉบับ โดยสภาปฏิรูปแห่งชาติต้องมีมติภายใน ๑๕ วันนับแต่วันที่ได้รับร่างรัฐธรรมนูญจาก คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมȨญ ทั้งนี้ สภาปฏิรูปแห่งชาติจะแก้ไขเพิ่มเติมเนื้อความของร่างรัฐธรรมนูญ นั้นมิได้ เว้นแต่เป็นข้อผิดพลาดที่มิใช่สาระสาคัญ และคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมȨญเห็นชอบด้วยกับ การแก้ไขเพิ่มเติมนั้น หรือเป็นกรณีที่คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมȨญเห็นว่าจาเป็นต้องแก้ไขเพิ่มเติม เพื่อให้สมบูรณ์ขึ้น
๔ 
เมื่อสภาปฏิรูปแห่งชาติมีมติเห็นชอบด้วยกับร่างรัฐธรรมนูญแล้ว ให้ประธานสภาปฏิรูป แห่งชาตินาร่างรัฐธรรมนูญขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายภายใน ๓๐ วันนับแต่วันที่สภาปฏิรูปแห่งชาติ มีมติ และเมื่อทรงลงพระปรมาภิไธยแล้ว ให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาและใช้บังคับได้ โดยให้ ประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ 
ในกรณีที่พระมหากษัตริย์ไม่ทรงเห็นชอบด้วยกับร่างรัฐธรรมนูญและพระราชทานคืนมา หรือเมื่อพ้นกาหนด ๙๐ วัน แล้วมิได้พระราชทานคืนมา ให้ร่างรัฐธรรมนูญนั้นเป็นอันตกไป 
ในกรณีที่สภาปฏิรูปแห่งชาติพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญไม่แล้วเสร็จภายในเวลาที่กาหนด หรือไม่ให้ความเห็นชอบร่างรัฐธรรมนูญ หรือร่างรัฐธรรมนูญนั้นเป็นอันตกไปให้สภาปฏิรูปแห่งชาติและ คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมȨญเป็นอันสิ้นสุดลง และให้มีการดาเนินการเพื่อแต่งตั้งสภาปฏิรูปแห่งชาติ และคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมȨญชุดใหม่ขึ้นภายใน ๑๕ วันนับแต่วันสิ้นสุดลง เพื่อดาเนินการแทน ตามอานาจหน้าที่ที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญนี้ 
ในกรณีที่คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมȨญยกร่างรัฐธรรมนูญไม่แล้วเสร็จภายในระยะเวลา ที่กาหนดไว้ ให้คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมȨญเป็นอันสิ้นสุดลง และให้ดาเนินการแต่งตั้งคณะกรรมาธิการ ยกร่างรัฐธรรมนูญขึ้นใหม่ภายใน ๑๕ วันนับแต่วันที่คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมȨญสิ้นสุดลง 
ประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ รองประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ และ กรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญชุดที่สิ้นสุดลงจะเป็นประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติรองประธานสภาปฏิรูป แห่งชาติ สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ หรือกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ แล้วแต่กรณีชุดใหม่มิได้ 
เอกสิทธิ์ 
ในการประชุมคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมȨญ กรรมาธิการผู้ใดจะกล่าวถ้อยคาใด ๆ ในทาง แถลงข้อเท็จจริง หรือแสดงความคิดเห็น หรือออกเสียงลงคะแนน จะนาไปเป็นเหตุฟ้องร้องว่ากล่าวผู้นั้น ในทางใดมิได้ 
กรณีที่กรรมาธิการถูกควบคุมหรือขัง ให้สั่งปล่อยเมื่อประธานคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมȨญ ร้องขอ หรือในกรณีถูกฟ้องในคดีอาญา ให้ศาลพิจารณาคดีต่อไปได้ เว้นแต่ประธานคณะกรรมาธิการยกร่าง รัฐธรรมนูญร้องขอให้งดการพิจารณาคดี 
เงินเดือน และประโยชน์ตอบแทน 
เงินเดือน เงินประจาตาแหน่ง และประโยชน์ตอบแทนอื่นของกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ ให้เป็นไปตามที่กาหนดในพระราชกฤษฎีกา ----------------------------------------------------

More Related Content

คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมȨญ

  • 1. คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมȨญ ที่มาและองค์ประกอบของคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมȨญ คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมȨญ ประกอบด้วยกรรมาธิการจานวน ๓๖ คน ซึ่งประธาน สภาปฏิรูปแห่งชาติแต่งตั้งจากบุคคล ดังต่อไปนี้ (๑) ประธานกรรมาธิการตามที่คณะรักษาความสงบแห่งชาติเสนอ (๒) ผู้ซึ่งสภาปฏิรูปแห่งชาติเสนอ จานวน ๒๐ คน (๓) ผู้ซึ่งสภานิติบัญญัติแห่งชาติ คณะรัฐมนตรี และคณะรักษาความสงบแห่งชาติเสนอ ฝ่ายละ ๕ คน การแต่งตั้งคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมȨญ ต้องดาเนินการให้แล้วเสร็จภายใน ๑๕ วัน นับแต่วันที่มีการเรียกประชุมสภาปฏิรูปแห่งชาติเป็นครั้งแรก ในกรณีที่กรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญพ้นจากตาแหน่งไม่ว่าด้วยเหตุใด ให้คณะกรรมาธิการ ยกร่างรัฐธรรมนูญที่เหลืออยู่ปฏิบัติหน้าที่ต่อไปได้ โดยให้ถือว่าคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมȨญ ประกอบด้วยกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญเท่าที่เหลืออยู่ แต่ให้ประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติแต่งตั้ง กรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญแทนตาแหน่งที่ว่างตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดไว้ ภายใน ๑๕ วัน นับแต่วันที่ กรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญพ้นจากตาแหน่ง คุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ กรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญต้องมีสัญชาติไทยโดยการเกิด มีอายุไม่ต่ากว่า ๔๐ ปี และไม่มี ลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้ (๑) เป็นผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง เว้นแต่เป็นผู้ดารงตาแหน่งในคณะรักษาความสงบ แห่งชาติ สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ หรือสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ (๒) เป็นหรือเคยเป็นสมาชิกหรือดารงตาแหน่งใดในพรรคการเมืองภายในระยะเวลาสามปี ก่อนวันที่ได้รับการแต่งตั้ง (๓) เป็นภิกษุ สามเณร นักพรต หรือนักบวช (๔) เป็นบุคคลล้มละลายหรือเคยเป็นบุคคลล้มละลายทุจริต (๕) เคยถูกเพิกถอนสิทธิเลือกตั้ง (๖) เคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจเพราะ ทุจริตต่อหน้าที่หรือถือว่ากระทาการทุจริตหรือประพฤติมิชอบ (๗) เคยต้องคาพิพากษาให้ทรัพย์สินตกเป็นของแผ่นดินเพราะร่ารวยผิดปกติหรือมีทรัพย์สิน เพิ่มขึ้นผิดปกติ (๘) อยู่ระหว่างต้องห้ามมิให้ดารงตาแหน่งทางการเมือง หรือเคยถูกถอดถอนจากตาแหน่ง (๙) เคยต้องคาพิพากษาถึงที่สุดว่ากระทาความผิดต่อตาแหน่งหน้าที่ราชการ หรือความผิดต่อ ตาแหน่งหน้าที่ในการยุติธรรม หรือกระทาผิดกฎหมายเกี่ยวกับยาเสพติด หรือกฎหมายเกี่ยวกับการพนันใน ฐานความผิดเป็นเจ้ามือหรือเจ้าสานัก (๑๐) เคยต้องคาพิพากษาถึงที่สุดให้จาคุก เว้นแต่ในความผิดอันได้กระทาโดยประมาทหรือ ความผิดลหุโทษ
  • 2. ๒ (๑๑) เป็นผู้พิพากษาหรือตุลาการ หรือผู้ดารงตาแหน่งในองค์กรตามรัฐธรรมนูญตาม รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ อนึ่ง เพื่อประโยชน์แห่งการขจัดส่วนได้เสีย ห้ามมิให้กรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญดารง ตาแหน่งทางการเมืองภายใน ๒ ปีนับแต่วันที่พ้นจากตาแหน่งกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ กรอบระยะเวลาในการจัดทาร่างรัฐธรรมนูญ ให้คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมȨญจัดทาร่างรัฐธรรมนูญให้แล้วเสร็จภายใน ๑๒๐ วัน นับแต่วันที่ได้รับความเห็นหรือข้อเสนอแนะจากสภาปฏิรูปแห่งชาติตามมาตรา ๓๑ (๒) ของรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ แล้วเสนอต่อสภาปฏิรูปแห่งชาติเพื่อพิจารณา ในการจัดทาร่างรัฐธรรมนูญ ให้คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมȨญนาความเห็นหรือ ข้อเสนอแนะของสภาปฏิรูปแห่งชาติ และความเห็นของภาคส่วนต่าง ๆ ประกอบการพิจารณาด้วย ได้แก่ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ คณะรัฐมนตรี คณะรักษาความสงบแห่งชาติ และความเห็นของประชาชนรวมทั้ง หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ขอบเขตเนื้อหาของร่างรัฐธรรมนูญ คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมȨญต้องจัดทาร่างรัฐธรรมนูญให้ครอบคลุมเรื่องดังต่อไปนี้ด้วย (๑) การรับรองความเป็นราชอาณาจักรอันหนึ่งอันเดียวจะแบ่งแยกมิได้ (๒) การให้มีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ที่เหมาะสมกับสภาพสังคมของไทย (๓) กลไกที่มีประสิทธิภาพในการป้องกัน ตรวจสอบ และขจัดการทุจริตและประพฤติมิชอบ ทั้งในภาครัฐและภาคเอกชน รวมทั้งกลไกในการกากับและควบคุมให้การใช้อานาจรัฐเป็นไปเพื่อประโยชน์ ส่วนรวมของประเทศชาติและประชาชน (๔) กลไกที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันและตรวจสอบมิให้ผู้เคยต้องคาพิพากษาหรือคาสั่ง ที่ชอบด้วยกฎหมายว่ากระทาการทุจริตหรือประพฤติมิชอบ หรือเคยกระทาการอันทาให้การเลือกตั้ง ไม่สุจริตหรือเที่ยงธรรม เข้าดารงตาแหน่งทางการเมืองอย่างเด็ดขาด (๕) กลไกที่มีประสิทธิภาพที่ทาให้เจ้าหน้าที่ของรัฐโดยเฉพาะผู้ดารงตาแหน่งทางการเมืองและ พรรคการเมือง สามารถปฏิบัติหน้าที่หรือดาเนินกิจกรรมได้โดยอิสระ ปราศจากการครอบงาหรือชี้นาโดย บุคคลหรือคณะบุคคลใด ๆ โดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย (๖) กลไกที่มีประสิทธิภาพในการสร้างเสริมความเข้มแข็งของหลักนิติธรรม และการสร้างเสริม คุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลในทุกภาคส่วนและทุกระดับ (๗) กลไกที่มีประสิทธิภาพในการปรับโครงสร้างและขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจและสังคม เพื่อให้เกิดความเป็นธรรมอย่างยั่งยืน และป้องกันการบริหารราชการแผ่นดินที่มุ่งสร้างความนิยม ทางการเมืองที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศและประชาชนในระยะยาว (๘) กลไกที่มีประสิทธิภาพในการใช้จ่ายเงินของรัฐให้เป็นไปอย่างคุ้มค่าและตอบสนองต่อ ประโยชน์ส่วนรวมของประชาชนโดยสอดคล้องกับสถานะทางการเงินการคลังของประเทศ และกลไก การตรวจสอบและเปิดเผยการใช้จ่ายเงินของรัฐที่มีประสิทธิภาพ
  • 3. ๓ (๙) กลไกที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันมิให้มีการทาลายหลักการสาคัญที่รัฐธรรมนูญจะได้ วางไว้ (๑๐) กลไกที่จะผลักดันให้มีการปฏิรูปเรื่องสาคัญต่าง ๆ ให้สมบูรณ์ต่อไป ให้คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมȨญพิจารณาถึงความจาเป็นและความคุ้มค่าที่ต้องมี องค์กรตามรัฐธรรมนูญหรือองค์กรที่ก่อตั้งขึ้นโดยอาศัยอานาจตามรัฐธรรมนูญ ในกรณีที่จาเป็นต้องมี ให้พิจารณามาตรการที่จะให้การดาเนินงานขององค์กรดังกล่าวเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลด้วย การเสนอร่างรัฐธรรมนูญให้สภาปฏิรูปแห่งชาติเพื่อพิจารณาเสนอแนะหรือให้ความเห็น คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมȨญต้องเสนอร่างรัฐธรรมนูญที่จัดทาเสร็จต่อประธาน สภาปฏิรูปแห่งชาติ และให้ประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติจัดให้สภาปฏิรูปแห่งชาติประชุมกันเพื่อพิจารณา เสนอแนะหรือให้ความเห็นให้แล้วเสร็จภายใน ๑๐ วันนับแต่วันที่ได้รับร่างรัฐธรรมนูญ สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติอาจขอแก้ไขเพิ่มเติมร่างรัฐธรรมนูญได้ภายใน ๓๐ วันนับแต่วันที่ สภาปฏิรูปแห่งชาติเสร็จสิ้นการพิจารณา คาขอแก้ไขเพิ่มเติมของสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติต้องมีสมาชิก สภาปฏิรูปแห่งชาติลงชื่อรับรองไม่น้อยกว่า ๑ ใน ๑๐ ของจานวนสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติและสมาชิก สภาปฏิรูปแห่งชาติที่ยื่นคาขอหรือที่ให้คารับรองคาขอของสมาชิกอื่นแล้ว จะยื่นคาขอหรือรับรองคาขอของ สมาชิกอื่นอีกมิได้ ให้คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมȨญส่งร่างรัฐธรรมนูญให้คณะรัฐมนตรีและคณะรักษา ความสงบแห่งชาติด้วย และคณะรัฐมนตรีหรือคณะรักษาความสงบแห่งชาติจะเสนอความคิดเห็นหรือยื่น คาขอแก้ไขเพิ่มเติมได้ภายใน ๓๐ วันนับแต่วันที่ได้รับร่างรัฐธรรมนูญ อนึ่ง คาขอแก้ไขเพิ่มเติมให้ยื่นต่อประธานกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ การพิจารณาคาขอแก้ไขเพิ่มเติม เมื่อคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมȨญได้รับคาขอแก้ไขเพิ่มเติมจากสมาชิกสภาปฏิรูป แห่งชาติ และคาขอแก้ไขเพิ่มเติมจากคณะรัฐมนตรีหรือคณะรักษาความสงบแห่งชาติแล้ว คณะกรรมาธิการ ยกร่างรัฐธรรมนูญต้องพิจารณาคาขอแก้ไขเพิ่มเติมให้แล้วเสร็จภายใน ๖๐ วันนับแต่วันที่ครบกาหนดยื่น คาขอแก้ไขเพิ่มเติมของสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ ในการนี้ คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมȨญอาจแก้ไข เพิ่มเติมร่างรัฐธรรมนูญได้ตามที่เห็นสมควร การพิจารณาให้ความเห็นชอบร่างรัฐธรรมนูญ เมื่อคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมȨญได้แก้ไขเพิ่มเติมร่างรัฐธรรมนูญแล้ว ให้เสนอ ร่างรัฐธรรมนูญต่อสภาปฏิรูปแห่งชาติเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบร่างรัฐธรรมนูญนั้น ทั้งฉบับ โดยสภาปฏิรูปแห่งชาติต้องมีมติภายใน ๑๕ วันนับแต่วันที่ได้รับร่างรัฐธรรมนูญจาก คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมȨญ ทั้งนี้ สภาปฏิรูปแห่งชาติจะแก้ไขเพิ่มเติมเนื้อความของร่างรัฐธรรมนูญ นั้นมิได้ เว้นแต่เป็นข้อผิดพลาดที่มิใช่สาระสาคัญ และคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมȨญเห็นชอบด้วยกับ การแก้ไขเพิ่มเติมนั้น หรือเป็นกรณีที่คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมȨญเห็นว่าจาเป็นต้องแก้ไขเพิ่มเติม เพื่อให้สมบูรณ์ขึ้น
  • 4. ๔ เมื่อสภาปฏิรูปแห่งชาติมีมติเห็นชอบด้วยกับร่างรัฐธรรมนูญแล้ว ให้ประธานสภาปฏิรูป แห่งชาตินาร่างรัฐธรรมนูญขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายภายใน ๓๐ วันนับแต่วันที่สภาปฏิรูปแห่งชาติ มีมติ และเมื่อทรงลงพระปรมาภิไธยแล้ว ให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาและใช้บังคับได้ โดยให้ ประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ ในกรณีที่พระมหากษัตริย์ไม่ทรงเห็นชอบด้วยกับร่างรัฐธรรมนูญและพระราชทานคืนมา หรือเมื่อพ้นกาหนด ๙๐ วัน แล้วมิได้พระราชทานคืนมา ให้ร่างรัฐธรรมนูญนั้นเป็นอันตกไป ในกรณีที่สภาปฏิรูปแห่งชาติพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญไม่แล้วเสร็จภายในเวลาที่กาหนด หรือไม่ให้ความเห็นชอบร่างรัฐธรรมนูญ หรือร่างรัฐธรรมนูญนั้นเป็นอันตกไปให้สภาปฏิรูปแห่งชาติและ คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมȨญเป็นอันสิ้นสุดลง และให้มีการดาเนินการเพื่อแต่งตั้งสภาปฏิรูปแห่งชาติ และคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมȨญชุดใหม่ขึ้นภายใน ๑๕ วันนับแต่วันสิ้นสุดลง เพื่อดาเนินการแทน ตามอานาจหน้าที่ที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญนี้ ในกรณีที่คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมȨญยกร่างรัฐธรรมนูญไม่แล้วเสร็จภายในระยะเวลา ที่กาหนดไว้ ให้คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมȨญเป็นอันสิ้นสุดลง และให้ดาเนินการแต่งตั้งคณะกรรมาธิการ ยกร่างรัฐธรรมนูญขึ้นใหม่ภายใน ๑๕ วันนับแต่วันที่คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมȨญสิ้นสุดลง ประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ รองประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ และ กรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญชุดที่สิ้นสุดลงจะเป็นประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติรองประธานสภาปฏิรูป แห่งชาติ สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ หรือกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ แล้วแต่กรณีชุดใหม่มิได้ เอกสิทธิ์ ในการประชุมคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมȨญ กรรมาธิการผู้ใดจะกล่าวถ้อยคาใด ๆ ในทาง แถลงข้อเท็จจริง หรือแสดงความคิดเห็น หรือออกเสียงลงคะแนน จะนาไปเป็นเหตุฟ้องร้องว่ากล่าวผู้นั้น ในทางใดมิได้ กรณีที่กรรมาธิการถูกควบคุมหรือขัง ให้สั่งปล่อยเมื่อประธานคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมȨญ ร้องขอ หรือในกรณีถูกฟ้องในคดีอาญา ให้ศาลพิจารณาคดีต่อไปได้ เว้นแต่ประธานคณะกรรมาธิการยกร่าง รัฐธรรมนูญร้องขอให้งดการพิจารณาคดี เงินเดือน และประโยชน์ตอบแทน เงินเดือน เงินประจาตาแหน่ง และประโยชน์ตอบแทนอื่นของกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ ให้เป็นไปตามที่กาหนดในพระราชกฤษฎีกา ----------------------------------------------------