ݺߣ
Submit Search
การวิจัยในชั้นรียน
•
Download as DOCX, PDF
•
3 likes
•
17,325 views
พิชญา แสนวัง
Follow
1 of 4
Download now
Downloaded 23 times
More Related Content
การวิจัยในชั้นรียน
1.
การวิจัยในชั้นรียน ชื่อรายงาน การแกปั้ญหาการเขียนหนังสือหัวกลับของนักเรียนชั้นอนุบาล1/3
โดย ใชชุ้ดฝึกพัฒนากล้ามเนื้อมือ สภาพปัญหา การจัดการศึกษาในระดับปฐมวยั เป็นการจัดการศึกษาเพื่อเตรียมความพร้อมให้กบัผู้เรียน ในการพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา เพื่อที่จะไห้สมบูรณ์และเหมาะสมกบัวยั การจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียน ครูจา เป็นต้องเน้นความพร้อมด้านกล้ามเนื้อมือ เด็กบางคนอาจมีปัญหาที่แตกตา่ง กนัออกไป เชน่ ความไมพ่ร้อมทางกล้ามเนื้อมือ ด้านของวยั, อายุ ด้านประสาทสัมผัสตากับมือ ด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาของเด็กแตล่ะคน ซึ่งปัญหา นี้ทา ให้ข้าพเจ้าได้พบปัญหาของนักเรียน คือ การที่นักเรียนเขียนหนังสือกลับหัว ซึ่งนับเป็นปัญหาในการจัดการสอนเป็นอยา่งมาก ทักษะการเขียนเป็นทักษะขั้นสุดท้าย ที่เด็กจะรวบรวมความสามารถ หรือมีความพร้อมในทุกๆ ด้าน การเขียนในปฐมวยันี้หมายถึง การที่เด็กมีความพร้อมทางด้านประสาทสัมพันธ์ระหวา่งตากับมือ มือจับดินสอได้มนั่ ลากหรือเขียนได้ตามความคิดของเด็ก นอกจากนั้นการควบคุมกล้ามเนื้อให้ลากหรือเขียน หรือแมแ้ตก่ารระบายสียังควรเป็นไปอยา่งถูกทิศทางและถูกวิที การสร้างความพร้อมในการเขียนระดับปฐมวยั สามารถทา ได้โดยวิธีการตา่งๆ เชน่ การใช้กิจกรรมด้านศิล ปะการฝึกลีลามือ การเลน่เกมตา่งๆ ทั้งเป็นแบบแผนก็สามารถสร้างเสริมประสาทสัมพันธ์แล้ว การเขียนในรูปแบบตา่งๆ ก็สามารถทา ได้ในขั้นตอนต่อไป โดยสรุปแล้วเราสามารถกลา่วได้วา่ ในชว่งอายุของเด็กระหวา่งวยัทารกจ นถึงอายุ 6 ปี เป็นระยะที่สาคัญ พัฒนาการทางภาษา ซึ่งฟังการพูดเป็นภาษาที่เด็กได้เรียนรู้กอ่นการอา่นและการเขียน ซึ่งปกติเด็กจะเรียนรู้โดยธรรมชาติ และเป็นขั้นตอนแตเ่ด็กบางอาจจะเรียนรู้ด้วยขั้นตอนที่ตา่งกนัออกไปอิท ธิพลของปัจจัยทางชีวภาพ ความไมส่มบูรณ์แข็งแรงของเด็กออ่นในครรภ์ อันเนื่องมาจากสาเหตุหลายประ การ หรือโรคภัยไข้เจ็บ ตลอดจน การที่เด็กถูกเลี้ยงดูในลักษณะตา่งๆ ตามสถานภาพของครอบครัวเป็นสาเหตุข องการพัฒนาของเด็กทั้งนั้น ดังนั้นครูผู้อบรมเลี้ยงดูเด็ก จึงควรตระหนักวา่ การที่เด็กจะมีทักษะ ทางด้านการฟัง พูด การอา่น และการเขียนนั้น เด็กได้เรียนรู้ แนวคิดตา่งๆ จากการที่ ได้ฟังและการที่ ได้พูด ฉะนั้นการอา่น และการ เขียนจะเป็นปัญหายุง่ยากสาหรับเด็ก
2.
ถ้าเด็กไมไ่ด้รับการเตรียมตัว หรือเตรียมความพร้อม อยา่งเหมาะสมเพียงพอ
ซึ่งหมายถึง การที่ประสาทสัมผัสทางตากระทบสิ่งเร้า แล้วพฤติกรรมที่แสดงออก เกยี่วกบั ทิศทาง ซ้าย ขวา หรือบน ลา่ง จะเป็นไปในลักษณะตรงข้ามกบัที่ควรจะเป็นและพบวา่ในกลุ่มของเด็กอา ยุ 4 – 8 ปี นั้นเด็กอายุ 4 ขวบก็มีการรับรู้กลับมากที่สุดซึ่งแสดงวา่เด็กเล็กๆ วยัเริ่มเรียนยังไมมี่ความพร้อมทางด้านวุฒิภาวะในการเขียน แตก่ารเขียนนอกจากเด็กจะมีความพร้อมในกา รอา่นเป็นขั้นพื้นฐานแล้วยังต้องใช้สมอง สายตา และการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อมือ นิ้วมือ และแขนให้สัมพันธ์กนัด้วย นอกจากนี้การเขียนยังต้องใช้สมาธิอยา่งมากโดยเฉพาะการเขียนให้เหมื อนแบบเด็กจะต้องนั่งนิ่งๆ ไมเ่หลียวซ้ายแลขวา ต้องมีความตั้งใจ ใจสงบ อารมณ์มงั่คง มีชว่งความสนใจ นานพอสมควรรู้จักใช้สายตาสังเกตอยา่งละเอียดถี่ถ้วน รอบคอบ เพราะพยัญชนะไทยบางตัว มีรูปร่างคล้า ยกนัมาก เด็กต้องแยกให้ได้วา่พยัญชนะตัวใดหัวเข้า หรือ หัวออก ปัญหาการวิจัย เด็กชั้นอนุบาล จา นวน 3 คน มีปัญหาการเขียนหนังสือกลับหัว เป้าหมายการวิจัย 1. เพื่อศึกษาผลการใช้ชุดการฝึกการเขียนหนังสือกลับหัวของนักเรียน 2. เพื่อเปรียบเทียบการเขียน กอ่นและหลัง การใช้ชุดฝึกของนักเรียน วิธีการวิจัย กลุ่มตัวอย่าง กลุม่ตัวอยา่งที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 1/3 จา นวน 3 คน เครื่องมือทใี่ช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ดา เนินการตามขั้นตอนดังต่อไปนี้ 1. ศึกษาจากเอกสาร 2. สร้างและพัฒนาเครื่องมือ เพื่อแกปั้ญหาการเขียนหนังสือกลับหัวประกอบด้วยชุดฝึก 3 ชุด (ภาคผนวก) วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล เก็บรวบรวมข้อมูล โดยวางแผนดา เนินงานดังนี้ ครูนาชุดการฝึกการพัฒนากล้ามเนื้อมือ จา นวน 3 ชุด ใช้กบัเด็กอนุบาล 1/3 จา นวน 3 คน ซึ่งครูได้ใช้วิธีการสังเกตและพบพฤติกรรมการเขียนกลับหัวของนักเรียนจา นวน 3 คน
3.
จึงทา การแกไ้ขโดยการใช้ชุดการฝึกพัฒนากล้ามเนื้อมือ และบันทึกพฤติกรรมของเด็กนักเรียนลงในแบบบันทึกผลการใช้ชุดฝึกพัฒนากล้ามเนื้อมือในแตล่ะชุดรวม
ทั้งสิ้น 3 ชุด สถิติทใี่ช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูล ดา เนินการวิเคราะห์เปรียบเทียบผลการใช้ชุดฝึก การแกปั้ญหานักเรียนเขียนหนังสือหัวกลับกอ่นและหลังการใช้ โดยใช้คา่ร้อยละ ช่วงเวลาในการทดลอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 ( มิถุนายน 2557 ถึง สิงหาคม 2557 ) ผลการวิจัย จากการใช้ชุดการฝึกทั้ง 3 ชุด เด็กอนุบาล 1/3 จา นวน 3 คน มีพัฒนาการ การเขียนหนังสือได้ถูกต้องขึ้น หลังจากที่ใช้ชุดฝึกเพื่อแกปั้ญหาในการเขียนหนังสือหัวกลับ สรุปผลและสะท้อนผล จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลสรุปได้วา่สาเหตุและปัจจัยที่ทา ให้ นักเรียนเขียนหนังสือหัวกลับมีสาเหตุมาจาก 1. นักเรียนขาดการฝึกฝนอยา่งตอ่เนื่อง 2. นักเรียนบางคนขาดการเตรียมความพร้อม ทา ให้กล้ามเนื้อมือไมแ่ข็งแรง การประสานงานของมือ และตาไมดี่ จับดินสอไมถู่กต้อง เป็นต้น 3. นักเรียนขาดสมาธิในการทา งาน เนื่องจากเด็กในวยันี้ยังชอบเลน่ ชอบคุยกบัเพื่อนๆ บางครั้งถูกเพื่อนแหย่ เป็นต้น เอกสารอ้างอิง เกษร แกว้ประดิษฐ์ (2546) , ผลการใช้ชุดฝึกเพอื่แก้ปัญหาการเขียนหนังสือหัวกลับของนักเรียนอนุบาล ชั้น 2 / 4 สานักคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ. คู่มือการพัฒนาการสอนเขียนลายมือ เขียน อักษรไทยอย่างไรได้มาตรฐาน. กรุงเทพฯ. บริษัท พี เอ ลิฟวิ่งจา กดั. 2540.
4.
เอกสารภาคผนวก 1. ชุดฝึกพัฒนากล้ามเนื้อมือ
2. บันทึกผลการใช้ชุดฝึกพัฒนากล้ามเนื้อมือ
Download