ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
ระบบสารสȨทศภูมิศาสตร์ึϹานสุขภาพของประชากรจังหวัึϹพชรบุรี 
Geographic Information System for Health of People in PHETCHABURI Province 
อุมาพร ศิรธรานนท์1, ชนกกานต์ หอวรรณภากร1 และ รวิพิมพ์ จีระดิษฐ์1 
Umaporn Sirathranont1, Chanokkan Horwanapakorn1 and Rawipim Jeradit1 
บทคัดย่อ 
ระบบสารสȨทศภูมิศาสตร์ึϹานสุขภาพของประชากรจังหวัึϹพชรบุรี ถูกพัฒนาขึ้นโดยใช้ 
ซอฟต์แวร์ MapInfo และ Map Basic ระบบนี้รวบรวมข้อมูลด้านสุขภาพของประชากรจังหวัดเพชรบุรี 
เก็บไว้ในฐานข้อมูล โดยระบบสามารถแสดงตำแหน่งและที่ตั้งของสถานีอนามัย ข้อมูลจำนวน 
ประชากร โดยแยกตามอำเภอ ตำบลและหมู่บ้าน ข้อมูลจำนวนผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ข้อมูลจำนวนผู้ป่วย 
โรคระบาด โดยผู้ใช้สามารถเพิ่มเติม ปรับปรุงข้อมูล และเรียกดูสารสนเทศทั้งในรูปแบบข้อความและ 
แผนภูมิได้ โดยการคลิกที่ตำแหน่งเก็บข้อมูลบนแผนที่ 
Abstract 
The geographic information system for health of people in PHETCHABURI province 
was developed by MapInfo and Map Basic software. The system is a program that collects 
information from database the data storing about information of people’s health in 
PHETCHABURI province. The system shows health care centers, number of populations in 
each district and village, number of populations having chronic disease, number of 
populations having epidemiology disease. Users can add and update the data and retrieve 
the information in the form of text and graphs by simply clicking at the collected data on the 
map. 
คำนำ 
ในปัจจุบันประเทศไทยมีจำนวนประชากรที่มีอัตราการป่วยด้วยโรคต่างๆมาก ทั้งที่เป็น 
โรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อ ดังนั้นจึงมีความสำคัญในการจัดการป้องกันและให้ความช่วยเหลือแก่ 
ประชากรที่เจ็บป่วย เพื่อเพิ่มความสะดวกในการค้นหาและเป็นประโยชน์ในการจัดการด้านสุขภาพ 
ของประชากร เพื่อให้ประชากรมีสุขภาพที่ดียิ่งขึ้นและเพื่อเป็นแนวทางในการค้นหาตำแหน่งของ 
สถานที่ที่มีความเกี่ยวข้องกับสุขภาพของประชากร เช่น สถานีอนามัย ร้านขายยา คลินิกและการ 
จัดตั้งชมรมด้านสุขภาพ สิทธิในการรักษาพยาบาล ข้อมูลเกี่ยวกับจำนวนของประชากรที่ป่วยเป็น 
โรคระบาด 2 โรคคือ โรคอหิวาตกโรค โรคไข้เลือดออกและโรคเรื้อรัง 4 โรคคือ โรคเบาหวาน 
_______________________________________ 
1ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน กรุงเทพฯ 10900 
Department of Computer Science, Faculty of Science, Kasetsart University, Bangkhen Campus, Bangkok 10900
โรคความดันโลหิต โรคมะเร็งเต้านม โรคมะเร็งปากมดลูก ในส่วนของจังหวัดเพชรบุรี ครอบคลุมพื้นที่ 
ทั้งหมด 8 อำเภอ 93 ตำบล 
การศึกษาครั้งนี้ได้นำเทคโนโลยีด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information 
System: GIS) ซึ่งเป็นระบบการนำเสนอข้อมูลเชิงพื้นที่และข้อมูลเชิงคุณภาพ ที่มีประสิทธิภาพ 
ผู้พัฒนาระบบได้นำมาใช้ในการจัดเก็บและรวบรวมข้อมูลด้านสุขภาพของประชากรจังหวัดเพชรบุรี 
เก็บไว้ในฐานข้อมูล โดยรวบรวมข้อมูลด้านสุขภาพของประชากรจังหวัดเพชรบุรีจากแหล่งต่างๆ เพื่อ 
การนำเสนอข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล โดยระบบแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนผู้ใช้ระบบ สามารถ 
ค้นหาข้อมูลและเรียกดูสารสนเทศทั้งในรูปแผนที่ ข้อความและกราฟได้ ในส่วนผู้ดูแลระบบ สามารถ 
แก้ไขและปรับปรุงข้อมูลได้ 
อุปกรณ์และวิธีการ 
ระบบสารสȨทศภูมิศาสตร์ึϹานสุขภาพของประชากรจังหวัึϹพชรบุรี มีขั้นตอนการ 
ดำเนินงานดังนี้ 
1. การรวบรวมข้อมูล 
รวบรวมข้อมูลจากฐานข้อมูลทะเบียนราษฎรของจังหวัดเพชรบุรี ฐานข้อมูลจำนวนผู้ป่วย 
ของโรงพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี หนังสือ รวมทั้งเว็บไซต์ต่างๆ 
2. การจัดกลุ่มข้อมูล 
นำข้อมูลที่รวบรวมได้จากข้อ 1 มาจัดกลุ่ม โดยแบ่งออกเป็นหัวข้อการนำเสนอดังนี้ 
2.1 จำนวนประชากร โดยแบ่งเป็นเพศชายและเพศหญิงแยกตาม อำเภอ ตำบลและ 
หมู่บ้าน 
2.2 จำนวนผู้ป่วย โดยแบ่งเป็น ผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้ป่วยโรคระบาด 
2.3 พิกัดและสถานที่ตั้ง โดยแบ่งเป็น ประเภทของสถานที่นั้นๆ เช่น สถานีอนามัย คลินิก 
โรงเรียน หมู่บ้าน เป็นต้น 
3. การนำเสนอข้อมูล 
3.1 นำเสนอข้อมูลในรูปแบบแผนที่ซึ่งสามารถแสดงรายละเอียดได้ชัดเจน โดยแสดงเป็น 
สัญลักษณ์บนแผนที่ 
3.2 นำเสนอข้อมูลในรูปแบบแผนภูมิ โดยแสดงข้อมูลได้ 3 ชนิดคือ จำนวนประชากร 
จำนวนผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวนผู้ป่วยโรคระบาด 
4. การสืบค้นข้อมูล 
สามารถสืบค้นข้อมูลจำนวนประชากรโดยแยกตามอำเภอ ตำบลและหมู่บ้านได้จากชื่อหรือ 
รหัสของอำเภอ ตำบลและหมู่บ้านที่ต้องการสืบค้น 
5. การเพิ่ม-การแก้ไข-การลบข้อมูล 
5.1 สามารถเพิ่มข้อมูล สถานีอนามัย โรงเรียนและหมู่บ้านได้ 
5.2 สามารแก้ไขข้อมูล จำนวนประชากร จำนวนชมรมสร้างสุขภาพได้ เป็นต้น 
5.3 สามารถลบข้อมูล หมู่บ้าน โรงเรียน สถานีอนามัยได้
6. การเผยแพร่ข้อมูล 
เผยแพร่ข้อมูลผ่านทางโปรแกรม Map Info Professional ซึ่งจะแสดงให้เห็นข้อมูลใน 
รูปแบบของแผนที่เป็นหลักและมีแผนภูมิแสดงข้อมูลคือ แสดงจำนวนประชากร จำนวน 
ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวนผู้ป่วยโรคระบาด 
ผลการทดลองและวิจารณ์ 
สามารถเลือกอ่านข้อมูลทั่วไปได้ 
รูปที่ 1 
สามารถสืบค้นข้อมูลได้จาก ชื่อหรือรหัส ตามที่ต้องการ โดยสะดวกและรวดเร็ว 
รูปที่ 2
สามารถแสดงแผนภูมิของจำนวนประชากร โดยแบ่งเป็นเพศชาย/เพศหญิงและแยกตามอำเภอได้ 
รูปที่ 3 
สามารถแสดงแผนภูมิของจำนวนผู้ป่วยโรคเรื้อรังและโรคระบาด โดยแยกตามตำบลได้ 
รูปที่ 4
สามารถแสดงข้อมูลที่ตั้งของคลินิก ร้านขายยา สถานีอนามัยได้ เป็นต้น 
รูปที่ 5 
ข้อดีของโปรแกรม 
1. ผู้ดูแลระบบและผู้ใช้ระบบสามารถใช้งานระบบได้ง่าย 
2. สามารถใช้ฐานข้อมูลของระบบสารสȨทศภูมิศาสตร์ึϹานสุขภาพของประชากรจังหวัึϹพชรบุรีช่วย 
ในการจัดการวางแผนด้านทรัพยากร เพื่อสุขภาพที่ดียิ่งขึ้นของประชากรหรือเพื่อค้นหาข้อมูลและ 
สถานที่ตั้ง เช่น โรงเรียน สถานีอนามัย ร้านขายยา คลินิก ได้อย่างรวดเร็วและถูกต้อง 
สรุป 
ระบบสารสȨทศภูมิศาสตร์ึϹานสุขภาพของประชากรจังหวัึϹพชรบุรี เป็นการนำเทคโนโลยี 
ทางคอมพิวเตอร์ เข้ามาช่วยเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ในการจัดเก็บ การจำแนกประเภทของการสืบค้น 
ข้อมูลให้ง่าย สะดวกและรวดเร็วยิ่งขึ้น นอกจากนี้ยังมีการแสดงข้อมูลในรูปแบบของการใช้ 
สัญลักษณ์เพื่อแทนสถานที่ต่างๆบนแผนที่ เพื่อง่ายต่อการมองเห็นภาพรวมได้อย่างชัดเจน 
เอกสารอ้างอิง 
Lotus Consulting International Co. Ltd.. 2548. MapInfo User’s Guide. Lotus Consulting 
International Co. Ltd..กรุงเทพมหานคร. 
MapInfo Corporation. 2002. MapBasic Development Environment User’s Guide. MapInfo 
Corporation, New York.

More Related Content

ระบบสารสȨทศภูมิศาสตร์ึϹานสุขภาพของประชากรจังหวัึϹพชรบุรี

  • 1. ระบบสารสȨทศภูมิศาสตร์ึϹานสุขภาพของประชากรจังหวัึϹพชรบุรี Geographic Information System for Health of People in PHETCHABURI Province อุมาพร ศิรธรานนท์1, ชนกกานต์ หอวรรณภากร1 และ รวิพิมพ์ จีระดิษฐ์1 Umaporn Sirathranont1, Chanokkan Horwanapakorn1 and Rawipim Jeradit1 บทคัดย่อ ระบบสารสȨทศภูมิศาสตร์ึϹานสุขภาพของประชากรจังหวัึϹพชรบุรี ถูกพัฒนาขึ้นโดยใช้ ซอฟต์แวร์ MapInfo และ Map Basic ระบบนี้รวบรวมข้อมูลด้านสุขภาพของประชากรจังหวัดเพชรบุรี เก็บไว้ในฐานข้อมูล โดยระบบสามารถแสดงตำแหน่งและที่ตั้งของสถานีอนามัย ข้อมูลจำนวน ประชากร โดยแยกตามอำเภอ ตำบลและหมู่บ้าน ข้อมูลจำนวนผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ข้อมูลจำนวนผู้ป่วย โรคระบาด โดยผู้ใช้สามารถเพิ่มเติม ปรับปรุงข้อมูล และเรียกดูสารสนเทศทั้งในรูปแบบข้อความและ แผนภูมิได้ โดยการคลิกที่ตำแหน่งเก็บข้อมูลบนแผนที่ Abstract The geographic information system for health of people in PHETCHABURI province was developed by MapInfo and Map Basic software. The system is a program that collects information from database the data storing about information of people’s health in PHETCHABURI province. The system shows health care centers, number of populations in each district and village, number of populations having chronic disease, number of populations having epidemiology disease. Users can add and update the data and retrieve the information in the form of text and graphs by simply clicking at the collected data on the map. คำนำ ในปัจจุบันประเทศไทยมีจำนวนประชากรที่มีอัตราการป่วยด้วยโรคต่างๆมาก ทั้งที่เป็น โรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อ ดังนั้นจึงมีความสำคัญในการจัดการป้องกันและให้ความช่วยเหลือแก่ ประชากรที่เจ็บป่วย เพื่อเพิ่มความสะดวกในการค้นหาและเป็นประโยชน์ในการจัดการด้านสุขภาพ ของประชากร เพื่อให้ประชากรมีสุขภาพที่ดียิ่งขึ้นและเพื่อเป็นแนวทางในการค้นหาตำแหน่งของ สถานที่ที่มีความเกี่ยวข้องกับสุขภาพของประชากร เช่น สถานีอนามัย ร้านขายยา คลินิกและการ จัดตั้งชมรมด้านสุขภาพ สิทธิในการรักษาพยาบาล ข้อมูลเกี่ยวกับจำนวนของประชากรที่ป่วยเป็น โรคระบาด 2 โรคคือ โรคอหิวาตกโรค โรคไข้เลือดออกและโรคเรื้อรัง 4 โรคคือ โรคเบาหวาน _______________________________________ 1ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน กรุงเทพฯ 10900 Department of Computer Science, Faculty of Science, Kasetsart University, Bangkhen Campus, Bangkok 10900
  • 2. โรคความดันโลหิต โรคมะเร็งเต้านม โรคมะเร็งปากมดลูก ในส่วนของจังหวัดเพชรบุรี ครอบคลุมพื้นที่ ทั้งหมด 8 อำเภอ 93 ตำบล การศึกษาครั้งนี้ได้นำเทคโนโลยีด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information System: GIS) ซึ่งเป็นระบบการนำเสนอข้อมูลเชิงพื้นที่และข้อมูลเชิงคุณภาพ ที่มีประสิทธิภาพ ผู้พัฒนาระบบได้นำมาใช้ในการจัดเก็บและรวบรวมข้อมูลด้านสุขภาพของประชากรจังหวัดเพชรบุรี เก็บไว้ในฐานข้อมูล โดยรวบรวมข้อมูลด้านสุขภาพของประชากรจังหวัดเพชรบุรีจากแหล่งต่างๆ เพื่อ การนำเสนอข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล โดยระบบแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนผู้ใช้ระบบ สามารถ ค้นหาข้อมูลและเรียกดูสารสนเทศทั้งในรูปแผนที่ ข้อความและกราฟได้ ในส่วนผู้ดูแลระบบ สามารถ แก้ไขและปรับปรุงข้อมูลได้ อุปกรณ์และวิธีการ ระบบสารสȨทศภูมิศาสตร์ึϹานสุขภาพของประชากรจังหวัึϹพชรบุรี มีขั้นตอนการ ดำเนินงานดังนี้ 1. การรวบรวมข้อมูล รวบรวมข้อมูลจากฐานข้อมูลทะเบียนราษฎรของจังหวัดเพชรบุรี ฐานข้อมูลจำนวนผู้ป่วย ของโรงพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี หนังสือ รวมทั้งเว็บไซต์ต่างๆ 2. การจัดกลุ่มข้อมูล นำข้อมูลที่รวบรวมได้จากข้อ 1 มาจัดกลุ่ม โดยแบ่งออกเป็นหัวข้อการนำเสนอดังนี้ 2.1 จำนวนประชากร โดยแบ่งเป็นเพศชายและเพศหญิงแยกตาม อำเภอ ตำบลและ หมู่บ้าน 2.2 จำนวนผู้ป่วย โดยแบ่งเป็น ผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้ป่วยโรคระบาด 2.3 พิกัดและสถานที่ตั้ง โดยแบ่งเป็น ประเภทของสถานที่นั้นๆ เช่น สถานีอนามัย คลินิก โรงเรียน หมู่บ้าน เป็นต้น 3. การนำเสนอข้อมูล 3.1 นำเสนอข้อมูลในรูปแบบแผนที่ซึ่งสามารถแสดงรายละเอียดได้ชัดเจน โดยแสดงเป็น สัญลักษณ์บนแผนที่ 3.2 นำเสนอข้อมูลในรูปแบบแผนภูมิ โดยแสดงข้อมูลได้ 3 ชนิดคือ จำนวนประชากร จำนวนผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวนผู้ป่วยโรคระบาด 4. การสืบค้นข้อมูล สามารถสืบค้นข้อมูลจำนวนประชากรโดยแยกตามอำเภอ ตำบลและหมู่บ้านได้จากชื่อหรือ รหัสของอำเภอ ตำบลและหมู่บ้านที่ต้องการสืบค้น 5. การเพิ่ม-การแก้ไข-การลบข้อมูล 5.1 สามารถเพิ่มข้อมูล สถานีอนามัย โรงเรียนและหมู่บ้านได้ 5.2 สามารแก้ไขข้อมูล จำนวนประชากร จำนวนชมรมสร้างสุขภาพได้ เป็นต้น 5.3 สามารถลบข้อมูล หมู่บ้าน โรงเรียน สถานีอนามัยได้
  • 3. 6. การเผยแพร่ข้อมูล เผยแพร่ข้อมูลผ่านทางโปรแกรม Map Info Professional ซึ่งจะแสดงให้เห็นข้อมูลใน รูปแบบของแผนที่เป็นหลักและมีแผนภูมิแสดงข้อมูลคือ แสดงจำนวนประชากร จำนวน ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวนผู้ป่วยโรคระบาด ผลการทดลองและวิจารณ์ สามารถเลือกอ่านข้อมูลทั่วไปได้ รูปที่ 1 สามารถสืบค้นข้อมูลได้จาก ชื่อหรือรหัส ตามที่ต้องการ โดยสะดวกและรวดเร็ว รูปที่ 2
  • 4. สามารถแสดงแผนภูมิของจำนวนประชากร โดยแบ่งเป็นเพศชาย/เพศหญิงและแยกตามอำเภอได้ รูปที่ 3 สามารถแสดงแผนภูมิของจำนวนผู้ป่วยโรคเรื้อรังและโรคระบาด โดยแยกตามตำบลได้ รูปที่ 4
  • 5. สามารถแสดงข้อมูลที่ตั้งของคลินิก ร้านขายยา สถานีอนามัยได้ เป็นต้น รูปที่ 5 ข้อดีของโปรแกรม 1. ผู้ดูแลระบบและผู้ใช้ระบบสามารถใช้งานระบบได้ง่าย 2. สามารถใช้ฐานข้อมูลของระบบสารสȨทศภูมิศาสตร์ึϹานสุขภาพของประชากรจังหวัึϹพชรบุรีช่วย ในการจัดการวางแผนด้านทรัพยากร เพื่อสุขภาพที่ดียิ่งขึ้นของประชากรหรือเพื่อค้นหาข้อมูลและ สถานที่ตั้ง เช่น โรงเรียน สถานีอนามัย ร้านขายยา คลินิก ได้อย่างรวดเร็วและถูกต้อง สรุป ระบบสารสȨทศภูมิศาสตร์ึϹานสุขภาพของประชากรจังหวัึϹพชรบุรี เป็นการนำเทคโนโลยี ทางคอมพิวเตอร์ เข้ามาช่วยเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ในการจัดเก็บ การจำแนกประเภทของการสืบค้น ข้อมูลให้ง่าย สะดวกและรวดเร็วยิ่งขึ้น นอกจากนี้ยังมีการแสดงข้อมูลในรูปแบบของการใช้ สัญลักษณ์เพื่อแทนสถานที่ต่างๆบนแผนที่ เพื่อง่ายต่อการมองเห็นภาพรวมได้อย่างชัดเจน เอกสารอ้างอิง Lotus Consulting International Co. Ltd.. 2548. MapInfo User’s Guide. Lotus Consulting International Co. Ltd..กรุงเทพมหานคร. MapInfo Corporation. 2002. MapBasic Development Environment User’s Guide. MapInfo Corporation, New York.