ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา สุวินทวงศ์ 
รายวิชา งาȨุรกิจ รหัสวิชา ง 20202 ชั้น 
มัธยมศึกษาปีที่ 3 
** 
* 
ใบความรู้ที่ 1 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจ 
ธุรกิจ (Business) 
หมายถึง การกระทำาหรือกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ที่ดำาเนินงาน 
เกี่ยวพันกับสถาบันการผลิต การจำาหน่าย และการให้บริการ ให้ตรงกับ 
ความต้องการของผู้บริโภค โดบกลุ่มบุคคลมีการกระทำาร่วมกัน เพื่อบรรลุ 
จุดมุ่งหมายเดียวกัน คือ รายได้หรือกำาไรเป็นผลตอบแทนจากการลงทุน 
ด้วยทรัพย์สินและแรงงานในกิจกรรมนั้น ๆ ซึ่งการกระทำาหรือกิจกรรมดัง 
กล่าว อาจจะเสี่ยงต่อการขาดทุนด้วยเช่นกัน 
ประโยชน์ของธุรกิจ 
การดำาเนินการทางธุรกิจมีประโยชน์ต่อบุคคล ชุมชน สังคม และ 
ประเทศชาติ ดังนี้ 
ประโยชน์ 
ของธุรกิจ 
เกิดการจ้างงาน 
และสร้างรายได้ 
กระจาย 
สินค้า 
ผลิตสินค้า 
และบริการ 
พัฒนาเศรษฐกิจ 
ของประเทศ 
เกิดการพัฒนา สร้างรายได้ 
ด้านเทคโนโลยี
จุดมุ่งหมายของธุรกิจ 
การประกอบธุรกิจทุกประเภท ผู้ประกอบการส่วนใหญ่จะมีจุดมุ่ง 
หมายที่สำาคัญ ดังนี้ 
1. กำาไร (Profit) จุดมุ่งหมายสำาคัยที่สุดของการประกอบธุรกิจ คือ 
กำาไรที่ได้จากการลงทุนทั้ง กำาลังกาย และกำาลังทรัพย์ในการ 
ดำาเนินกิจการนั้น ๆ กำาไรจึงเป็นตัวบ่งชี้ว่าธุรกิจนั้นจะสามารถ 
ดำาเนินต่อไปได้หรือไม่ 
2. ความอยู่รอด (Survival) ในการประกอบธุรกิจ ผู้ประกอบการ 
ย่อมต้องการให้กิจการของตนเองสามารถดำาเนินกิจการต่อไป 
เรื่อย ๆ โดยธุรกิจจะต้องมีการผลิตสินค้าและบริการที่ตรงกับความ 
ต้องการของผู้บริโภค เมื่อผู้บริโภคซื้อสินค้าและบริการก็จะทำาให้ 
ธุรกิจมีรายได้หรือกำาไรเพียงพอที่จะดำาเนินกิจการนั้น ๆ ต่อไป 
โดยไม่หยุดชะงักหรือปิดกิจการ 
3. ความเจริญเติบโต (Growth) การประกอบธุรกิจนอกจากจะ 
ต้องการความอยู่รอดแล้วยังต้องการความเจริญเติบโต ความ 
เจริญก้าวหน้า มีการขยายกิจการให้ใหญ่ขึ้น หรือมีสาขาเครือ 
ข่ายเพิ่มมากขึ้น รวมทั้งกิจการมีสินทรัพย์มาก และมีฐานะที่มั่นคง 
4. ความรับผิดชอบต่อสังคม (Social Responsibilities) เมื่อ 
กิจการที่ดำาเนินมีทั้งกำาไร ความก้าวหน้า และมีฐานะทางการเงินที่ 
มั่นคงผู้ประกอบการจะต้องมีความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค ชุมชน 
สังคม ตลอดจนสภาพแวดล้อมโดยไม่สร้างปัญหาให้กับผู้อยู่อาศัย 
เช่น ไม่สร้างมลภาวะให้กับสิ่งแวดล้อม ไม่เอารัด เอาเปรียบ 
ผู้บริโภค ให้การสนับสนุนหรือส่งเสริมกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ 
ต่อสังคม เป็นต้น 
ประเภทของธุรกิจ 
ธุรกิจจำาแนกตามลักษณะของการดำาเนินงานออกเป็น 3 
ประเภท ดังนี้ 
1. ธุรกิจอุตสาหกรรม 
เป็นธุรกิจที่ดำาเนินการโดยนำาวัตถุดิบและปัจจัยในการผลิตมา 
ผ่านกระบวนการเพื่อแปรสภาพเป็นสินค้าชนิดต่างๆ 
2. ธุรกิจการพาณิชยกรรม 
เป็นธุรกิจที่ดำาเนินการเกี่ยวกับการตลาด โดยกระจายสินค้าจาก 
แหล่งผลิต (อุตสาหรรมการผลิต) ไปสู่ผู้บริโภคอย่างทั่วถึงทุกท้องที่
ทำาให้ผู้บริโภคสามารถเลือกซื้อสินค้าชนิดต่าง ๆ ได้ตามความต้องการ 
ธุรกิจการพาณิชยกรรมมีทั้งลักษณะที่เป็นการค้าส่งและการค้าปลีก เช่น 
ร้านสะดวกซื้อ ซูเปอร์มาร์เก็ต ห้างสรรพสินค้า เป็นต้น 
3. ธุรกิจการบริการ 
เป็นธุรกิจที่เกี่ยวกับการบริการในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อตอบสนอง 
ความต้องการของผู้บริโภค เช่น ความสะดวกสบาย ความปลอดภัย ความ 
บันเทิง โดยคิดค่าบริการเป็นค่าตอบแทน ซึ่งธุรกิจประเภทนี้จะต้องอาศัย 
แรงงาน และความสารถเฉพาะบุคคลของบุคลากรในสถานประกอบการนั้น 
ๆ เป็นสิ่งสำาคัญ เช่น ธุรกิจการท่องเที่ยว ธุรกิจการโรงแรม ธุรกิจการ 
คมนาคมและขนส่ง เป็นต้น 
รูปแบบของธุรกิจ 
มีการกำาหนดรูปแบบของธุรกิจออกเป็น 5 รูปแบบ ดังนี้ 
1. กิจการเจ้าของคนเดียว (Sole or Snger 
Proprietorship) 
เป็นกิจการธุรกิจที่บุคคลคนเดียวเป็นเจ้าของกิจการ และบริหาร 
จัดการธุรกิจทุกเรื่องด้วยตนเอง 
เปรียบเทียบข้อดีและข้อเสียของกิจการเจ้าของคนเดียว 
ข้อดี ข้อเสีย 
1. เจ้าของกิจการมีอิสระ และความ 
คล่องตัวในการบริหารหรือดำาเนินการ 
ต่าง ๆ ได้เต็มที่ 
1. อัตราความล้มเหลวมีสูง เนื่องจาก 
เป็นกิจการที่การบริหารขึ้นอยู่กับ 
เจ้าของกิจการเพียงคนเดียว หาก 
เจ้าของกิจการขาดความรู้ความ 
สามารถในการบริหาร ก็จะทำาให้ 
ธุรกิจไม่ประสบความสำาเร็จ 
2. การจัดตั้ง และการเลิกกิจนการสา 
มารถทำาได้ง่ายและสะดวก 
2. การจัดหาเงินทุนในการขยาย 
กิจการค่อนข้างยาก เนื่องจากเป็น 
ธุรกิจที่มีอัตราความล้มเหลวสูง ขาด 
ความน่าเชื่อถือ และไม่สามารถขาย 
หุ้นได้ 
3. ได้รับรายได้หรือกำาไรในการ 
ประกอบการ 
3. ต้องรับผิดชอบหนี้สินไม่จำากัด 
เนื่องจากกฎหมายถือว่าเจ้าของ
เพียงคนเดียว กิจการและธุรกิจเป็นบุคคลเดียวกัน 
หากทรัพย์สินของกิจการไม่เพียงพอ 
ชำาระหนี้ต้องนำาทรัพย์สินส่วนตัวมา 
ชำาระหนี้ทั้งหมด 
4. การเสียภาษี กฎหมายถือว่า 
เจ้าของกิจการ 
และธุรกิจเป็นบุคคลเดียวกัน จึง 
เสียภาษี 
แบบภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 
4. อายุการดำาเนินกิจการจะขึ้นอยู่กับ 
เจ้าของกิจการ ถ้าเจ้าของกิจการตาย 
หรือไม่มีความสามารถธุรกิจจะสิ้นสุด 
ลงในเวลาอันรวดเร็ว 
5. สามารถรักษาความลับของกิจการ 
ได้ดี เพราะไม่มีข้อบังคับทาง 
กฎหมายที่จะต้องเปิดเผยข้อมูลแก่ 
บุคคลอื่น 
2. ห้างหุ้นส่วน (Partnership) 
เป็นรูปแบบการประกอบธุรกิจที่มีบุคคลตั้งแต่ 2 คน ขึ้นไป แบ่ง 
ออกเป็น 2 ประเภท คือ 
2.1 ห้างหุ้นส่วนสามัญ (Ordinary Partnership) สามารถ 
แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ 
1) ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล (จดทะเบียน) เป็นห้างหุ้นส่วน 
สามัญที่จดทะเบียนถูกต้องตามกฎหมาย หากมีการฟ้องร้องต้อง 
ฟ้องห้างหุ้นส่วน เมื่อทรัพย์สินของห้างหุ้นส่วนไม่พอชำาระหนี้จึง 
จะฟ้องร้องจากหุ้นส่วนต่อไป 
2) ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล (ไม่จดทะเบียน) เป็นห้างหุ้นส่วนที่ไม่ 
ได้จดทะเบียนให้ถูกต้องตามกฎหมาย ผู้ที่เป็นหุ้นส่วนกับห้างหุ้น 
ส่วนจะไม่แยกจากกัน เจ้าหนี้สามารถฟ้องร้องบุคคลใดก็ได้ 
2.2 ห้างหุ้นส่วนจำากัด (Limited Partnership) เป็นรูป 
แบบห้างหุ้นส่วนที่จะต้องจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล จึงจะมีผลทำาให้ 
กิจการนั้นเสมือนเป็นบุคคล และมีสิทธิดำาเนินการต่าง ๆ ตามที่ 
กฎหมายกำาหนด ซึ่งผู้เป็นหุ้นส่วนแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ 
1) หุ้นส่วนประเภทจำากัดความรับผิดชอบ ผู้เป็นหุ้นส่วน 
ประเภทนี้จะรับผิดชอบเพียงจำานวนเงิน หรือทรัพย์สินที่ตนรับว่า 
จะลงทุนในห้างหุ้นส่วนเท่านั้น
2) หุ้นส่วนประเภทไม่จำากัดความรับผิดชอบ ผู้เป็นหุ้นส่วนจะมี 
คนเดียวหรือหลายคนก็ได้ วึ่งรับผิดชอบหนี้สินของห้างหุ้นส่วน 
โดยไม่จำากัดจำานวน 
เปรียบเทียบข้อดีและข้อเสียของห้างหุ้นส่วน 
ข้อดี ข้อเสีย 
1. ถ้าหุ้นส่วนแต่ละคนมีความสามารถ 
ความชำานาญ และมีประสบการณ์ใน 
แต่ละด้านจะทำาให้การบริหารธุรกิจ 
สำาเร็จลุล่วงได้ด้วยดี 
1. ถ้าผู้ถือหุ้นส่วนบางคนไม่สุจริต 
หรือทำาการโดยประมาทเลินเล่อ จะ 
ทำาให้ผู้ถือหุ้นส่วนดื่นเสียหายไปด้วย 
2. การจัดหารเงินทุนทำาได้ง่ายกว่า 
กิจการเจ้าของคนเดียว เพราะมีหุ้นส่วน 
หลายคน ธนาคารหรือสถาบันทางการ 
เงินจึงให้กู้ง่ายกว่า 
2. มีความล่าช้าในการตัดสินใจและ 
อาจเกิดความขัดแย้งกันได้ง่าย 
เนื่องจากมีผู้ถือหุ้นหลายคน 
3. จัดตั้งได้ง่ายกว่าการจัดตั้งบริษัท 
จำากัด เพราะข้อจำากัดทางกฎหมายมีไม่ 
มาก 
3. มีหนี้สินไม่จำากัด หากไม่สามารถ 
ชำาระหนี้ของกิจการได้หมด เจ้าหนี้ 
สามารถเรียกร้องทรัพย์สินส่วนตัว 
ของหุ้นส่วนแต่ละคน 
4. ถอนทุนได้ยาก เพราะมีข้อจำากัด 
ตามข้อตกลงในสัญญาและกฎหมาย 
3. บริษัทจำากัด (Corporation) 
จัดตั้งขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ในการแสวงหากำาไรจากกิจการ ซึ่งจะ 
แบ่งออกเป็นหุ้นที่มีมูลค่าหุ้นละเท่า ๆ กัน ในปัจจุบันประเทศไทยแบ่ง 
บริษัทจำากัดออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ 
1.บริษัทเอกชน เป็นบริษัทประเภทหนึ่งซึ่งจัดตั้งโดยบุคคลตั้งแต่ 
7 คน ขึ้นไป แบ่งทุนเป็นหุ้นมีมูลค่าเท่า ๆ กัน โดยมีผู้ถือหุ้นไม่เกิน 100 
คน 
2.บริษัทมหาชน เป็นบริษัทที่จัดตั้งขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ในการ 
เสนอขายหุ้นต่อประชาชน จัดตั้งโดยบุคคลตั้งแต่ 15 คน ขึ้นไป แบ่งทุน 
เป็นหุ้นมีมูลค่าเท่า ๆ กัน โดยมีผู้ถือหุ้นตั้งแต่ 100 คนขึ้นไป 
พ.ร.บ.บริษัทมหาชนจำากัด พ.ศ. 2535 ได้กำาหนดลักษณะ 
โครงสร้างของบริษัทมหาชนจำากัดไว้ พอสรุปได้ดังนี้ 
1) จำานวนผู้ถือหุ้น มีผู้ถือหุ้นตั้งแต่ 15 คนขึ้นไป 
2) ทุนจดทะเบียน ไม่มีการกำาหนดจำานวนทุนจดทะเบียนขั้นตำ่าไว้
3) มูลค่าหุ้นและการชำาระเงินค่าหุ้น หุ้นของบริษัทมหาชนจำากัด 
แต่ละหุ้นจะต้องมีมูลค่าเท่ากัน และต้องชำาระค่าหุ้นครั้งเดียวเต็มมูลค่าหุ้น 
4) จำานวนกรรมการ ต้องมีจำานวนกรรมการของบริษัทไม่น้อยกว่า 5 
คน และกรรมการไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งต้องมีที่อยู่ในประเทศไทย 
เปรียบเทียบข้อดีและข้อเสียของบริษัทจำากัด 
ข้อดี ข้อเสีย 
1. การจัดการมีประสิทธิภาพ เนื่องจาก 
บริษัทมักจะใช้ผู้บริหารมืออาชีพและมี 
ระบบการทำางานที่ดีกว่าธุรกิจรูปแบบ 
อื่น ๆ 
1. การจัดตั้งยุ่งยากและเสียค่าใช้จ่าย 
สูง เนื่องจากมีข้อจำากัดทางกฎหมาย 
และหน่วยงานของรัฐดูแลอย่างเข้ม 
งวด 
2. ผู้ถือหุ้นรับผิดชอบจำากัดเฉพาะค่า 
หุ้นที่ตนยังค้างจ่ายแก่บริษัทเท่านั้น ถ้า 
บริษัทมีหนี้สินใด ๆ ผู้ถือหุ้นไม่ต้องรับ 
ผิดชอบ 
2. ไม่สามารถปกปิดความลับของ 
กิจการได้ทั้งหมด เพราะต้องเปิดเผย 
ข้อมูลแก่รัฐตามที่กฎหมายกำาหนด 
3. โอน หรือขาย หรือขยายกิจการได้ 
ง่าย เนื่องจากบริษัทจำากัดดูน่าเชื่อถือ 
ในกลุ่มของบุคคลและสถาบันทางการ 
เงิน 
3. ถ้าฝ่ายบริหารไม่ใช่ผู้ถือหุ้นอาจ 
บริหารงานไม่รอบคอบทำาให้ธุรกิจล้ม 
เหลวได้ 
4. มีความมั่นคงถึงแม้จะมีการ 
เปลี่ยนแปลงเจ้าของบริษัท เช่น ผู้ถือ 
หุ้นเสียชีวิต ล้มละลาย หรือศาลให้เป็น 
ผู้ไร้ความสามารถกิจการไม่ต้องล้มเลิก 
ไป 
4. ผู้ประกอบการต้องเสียภาษีซำ้าซ้อน 
คือ ทั้งภาษีเงินได้นิติบุคคลและภาษี 
เงินได้บุคคลธรรมดา 
4. สหกรณ์ (Cooperative) 
เป็นรูปแบบธุรกิจอีกรูปแบบหนึ่ง ซึ่งมีคณะบุคคลตั้งแต่ 10 คน 
ขึ้นไป ที่มีอาชีพ ความต้องการ ความสนใจที่คล้ายคลึงกันร่วมกันจัดตั้งขึ้น 
และจดทะเบียนถูกต้องตามพ.ร.บ.สหกรณ์ที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน มี 
วัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมอาชีพ การครองชีพของสมาชิกและครอบครัวให้มี 
ฐานะความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ซึ่งเป็นวีที่ให้ประโยชน์ทั้งต่อสมาชิกของสหกรณ์ 
และต่อส่วนรวม 
ในปัจจุบัน สหกรณ์แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ตามพ.ร.บ.สหกรณ์ 
พ.ศ. 2511 มาตรา 7 ได้แก่
1. สหกรณ์จำำกัด เป็นสหกรณ์ที่สมำชิกมีควำมรับผิดชอบจำำกัดเพียง 
ไม่เกินจำำนวนค่ำหุ้นที่ตนถือ 
2. สหกรณ์ไม่จำำกัด เป็นสหกรณ์ที่สมำชิกทุกคนมีควำมรับผิดชอบ 
ร่วมกัน เพื่อหนี้ทั้งปวงของสหกรณ์โดยไม่จำำกัด 
เปรียบเทียบข้อดีและข้อเสียของสหกรณ์ 
ข้อดี ข้อเสีย 
1. กฎหมำยให้กำรสนับสนุนช่วยเหลือ 
เช่น ได้รับกำรยกเว้นไม่ต้องเสียภำษี 
เงินได้สำำหรับผู้บริโภค 
1. สมำชิกที่เป็นผู้ผลิตไม่สำมำรถตั้ง 
รำคำขำยผลผลิตของตนเองได้ 
ตำมใจชอบ เพรำะสหกรณ์จะเป็นผู้ 
กำำหนด 
2. เป็นกำรรวมสมำชิกเพื่อช่วยเหลือซึ่ง 
กันและกัน 
2. หำกสมำชิกไม่เข้ำใจหลักและวิธี 
กำรของสหกรณ์ดีพอ สหกรณ์อำจไม่ 
เจริญเท่ำที่ควร 
3. ค่ำใช้จ่ำยในกำรดำำเนินงำนของ 
สหกรณ์ถูกกว่ำธุรกิจประเภทอื่น 
3. สหกรณ์ขำดแรงจูงใจ คือ กำำไร ที่ 
น้อยกว่ำธุรกิจประเภทอื่น ๆ 
4. ได้รับผลประโยชน์ทั่วถึงในหมู่ 
สมำชิก เพรำะถ้ำใครทำำธุรกิจกับ 
สหกรณ์ได้มำกก็จะได้รับประโยชน์สูง 
ตำมไปด้วย 
4. มีทุนจำำกัด จึงมีผลต่อกำรบริหำร 
จัดกำร 
5. รัฐวิสำหกิจ (State Enterprise) 
เป็นองค์กรของรัฐหรือหน่วยงำนที่รัฐบำลเป็นเจ้ำของ รวมทั้ง 
บริษัทหรือห้ำงหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ส่วนรำชกำรหรือรัฐวิสำหกิจมีหุ้นเกิด 
กว่ำร้อยละ 50 หรือมีหุ้นมำกที่สุด 
วัตถุประสงค์ที่สำำคัญในกำรจัดตั้งรัฐวิสำหกิจมีดังนี้ 
1) เพื่อควำมมั่นคงของประเทศ เพรำะกิจกำรบำงอย่ำงมีควำม 
จำำเป็นที่ต้องใช้ในยำมฉุกเฉิน เช่น กำรปิโตรเลียมแห่ง 
ประเทศไทย 
2) เพื่อประโยชน์ของสังคมในกำรให้บริกำรประชำชน ซึ่งส่วน 
ใหญ่จะเป็นกิจกำรเกี่ยวกับสำธำรณูปโภคต่ำง ๆ เช่น กำร 
ประปำ กำรไฟฟ้ำ 
3) เพื่อหำรำยได้เข้ำรัฐ เนื่องจำกธุรกิจบำงประเภทมีผลกำำไรเป็น 
จำำนวนมำก เช่น สำำนักงำนสลำกกินแบ่งรัฐบำล
4) เพื่อประชำสัมพันธ์และเผยแพร่ชื่อเสียงของประเทศให้เป็นที่ 
รู้จักของชำวต่ำงประเทศ พร้อมกับเชิญชวนให้มำท่องเที่ยวใน 
ประเทศไทย เช่น กำรท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย 
รัฐวิสำหกิจแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ 
1. รัฐวิสำหกิจที่เป็นนิติบุคคล เป็นองค์กรและหน่วยงำนที่จัด 
ตั้งขึ้นมีฐำนะเป็นนิติบุคคลตำมกฎหมำย มีกำรดำำเนินงำนที่แยก 
ออกจำกผู้ถือหุ้นหรือเจ้ำของกิจกำรโดยเฉพำะ เช่น กำร 
สื่อสำรแห่งประเทศไทย กำรปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย กำร 
รถไฟแห่งประเทศไทย องค์กำรสวนสัตว์ ธนำคำรแห่ง 
ประเทศไทย บริษัทขนส่ง เป็นต้น 
2. รัฐวิสำหกิจที่ไม่เป็นนิติบุคคล เป็นกิจกำรบำงอย่ำงของรัฐ 
ที่จัดตั้งขึ้นโดยใช้ทุนดำำเนินกำรของรัฐทั้งหมด สังกัดหน่วย 
รำชกำรที่เป็นผู้ก่อตั้งขึ้น แต่ไม่มีฐำนะเป็นนิติบุคคล เช่น 
โรงงำนยำสูบ และสำำนักงำนสลำกกินแบ่งรัฐบำล ซึ่งสังกัด 
กระทรวงกำรคลัง เป็นต้น 
เปรียบเทียบข้อดีและข้อเสียของรัฐวิสำหกิจ 
ข้อดี ข้อเสีย 
1. ทำำให้รัฐบำลมีรำยได้มำพัฒนำ 
ประเทศมำกขึ้น 
ไม่มีกำรแข่งขันทำงธุรกิจ จึงทำำให้ 
สินค้ำและบริกำรบำงประเภทไม่ได้รับ 
กำรปรับปรุงให้มีคุณภำพดีขึ้น 
2. ประชำชนได้รับสวัสดิกำร โดย 
เฉพำะสำธำรณูปโภคพื้นฐำนในรำคำที่ 
ไม่แพง 
ควำมรับผิดชอบของผู้ 
1. ควำมรับผิดชอบต่อผู้บริโภค ผู้ประกอบธุรกิจจะต้องผลิต 
สินค้ำและบริกำรที่มีคุณภำพได้มำตรฐำน มีกำรตั้งรำคำที่ 
ยุติธรรม ไม่กักตุนสินค้ำ จนทำำให้ผู้บริโภคต้องได้รับควำมเดือด 
ร้อน ให้คำำแนะนำำแก่ผู้บริโภคอย่ำงซื่อตรง และคำำนึงถึง 
ประโยชน์สูงสุดที่ผู้บริโภคจะได้รับ
2. ควำมรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม ปัญหำสิ่งแวดล้อมในปัจจุบัน 
เป็นปัญหำที่สำำคัญอย่ำงยิ่งของโลก และมีแนวโน้มจะทวีควำม 
รุนแรงขึ้นเรื่อย ๆ ผู้ประกอบธุรกิจต้องตระหนักถึงปัญหำเหล่ำนี้ 
และหำวิธีป้องกันกำรเกิดมลพิษ โดยไม่ปล่อยสำรพิษต่ำง ๆ ออกสู่ 
สิ่งแวดล้อม หรือผลิตสินค้ำจำกวัสดุที่สำมำรถนำำกลับมำใช้ใหม่ 
ได้อีก 
3. ควำมรับผิดชอบต่อรัฐบำลและประชำชนผู้บริโภค ซึ่งผู้ 
ประกอบธุรกิจจะต้องปฏิบัติ ดังนี้ 
1) ผู้ประกอบธุรกิจจะต้องแสดงควำมรับผิดชอบต่อรัฐบำล โดย 
กำรปฏิบัติตำมกฎหมำยและระเบียบข้อบังคับต่ำง ๆ ของ 
สังคมที่กำำหนดไว้ เช่น กำรเสียภำษี กำรจ่ำยค่ำจ้ำง 
แรงงำน เป็นต้น 
2) ผู้ประกอบธุรกิจจะต้องรับผิดชอบต่อประชำชนซึ่งเป็นผู้ 
บริโภค โดยกำรให้ควำมช่วยเหลือในกรณีเกิดพิบัติภัยต่ำง 
ๆ ให้ทุนกำรศึกษำแก่เด็กยำกจน สมทบทุนสร้ำงโรง 
พยำบำลหรือโรงเรียน เป็นต้น 
4. ควำมรับผิดชอบต่อพนักงำน ผู้ประกอบธุรกิจมีควำมจำำเป็นอย่ำง 
ยิ่งที่จะต้องรับผิดชอบต่อพนักงำน อย่ำงยุติธรรม และเสมอภำคกัน 
ในด้ำนสิทธิประโยชน์ต่ำง ๆ เช่น กำรจ่ำยเงินเดือนและค่ำจ้ำงให้กับ 
ลุกจ้ำงหรือพนักงำนในอัตรำที่เหมำะสม รวมถึงกำรจัดสวัสดิกำรต่ำง 
ๆ เช่น กำรประกันสังคม ค่ำรักษำพยำบำล ซึ่งเป็นกำรสร้ำงขวัญ 
กำำลังใจ และมีส่วนทำำให้พนักงำนมีควำมจงรักภักดีต่อองค์กรนั้น ๆ 
ด้วย 
5. ควำมรับผิดชอบต่อผู้ถือหุ้น ผู้ประกอบธุรกิจจะต้องนำำเงินทุนหรือ 
ลงทุนในกำรดำำเนินงำนอย่ำงมีประสิทธิภำพ และมุ่งผลประโยชน์ 
สูงสุดให้กับกิจกำรโดยไม่ขัดต่อกฎหมำย ส่วนกำำไรที่ได้จะต้องนำำมำ 
แบ่งปันกับผู้ร่วมลงทุน หรือผู้ถือหุุ้นในรูปของเงินปันผลอย่ำงเหมำะ 
สมและยุติธรรม 
ปัจจัยและสิ่งแวดล้อม 
กำรประกอบธุรกิจทุกประเภทมักได้รับผลกระทบจำกปัจจัยและสิ่ง 
แวดล้อมทำงธุรกิจ ผลกระทบนั้นจะแตกต่ำงกันไปขึ้นอยู่กับสิ่งแวดล้อมที่ธุรกิจ 
นั้นตั้งอยู่ ซึ่งแบ่งได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
1. ปัจจัยและสิ่งแวดล้อมภายใน (Internal Environment) 
ได้แก่ 
1) บุคลากร เป็นปัจจัยและสิ่งแวดล้อมที่มีความสำาคัญมากที่สุด 
เนื่องจากบุคลากรเป็นผู้สร้างคุณภาพของสินค้าและบริการให้แก่กิจการนั้น ๆ 
จึงเป็นหน้าที่ของผู้ประกอบการที่จะพัฒนาบุคลากรของตนโดยการฝึกอบรม 
หรือการจัดสัมมนา ในขณะเดียวกันบุคลากรเองก็ต้องเป็นผู้ที่รักการเรียนรู้ใน 
สิ่งใหม่ ๆ เพื่อพัฒนาตนเองอยู่ตลอดเวลาด้วย 
2) เงิน เป็นปัจจัยที่ทำาให้กิจการดำาเนินไปโดยราบรื่น ผู้ประกอบ 
การควรเป็นผู้ที่มีความสามารถในการจัดหาแหล่งเงินทุน และบริหารเงินทุนให้มี 
ประสิทธิภาพสูงสุด เพื่อให้กิจการประสบผลสำาเร็จตามจุดมุ่งหมายที่วางไว้ 
3) วัตถุดิบ เป็นปัจจยัสำาคัญอยา่งหนงึ่ในการผลติสนิค้า ผปู้ระกอบ 
การควรเลอืกวตัถุดิบทมี่คีุณภาพดี มปีรมิาณเพยีงพอต่อการผลติ นอกจากนี้ 
จะต้องคำานึงถึงวา่สามารถทจี่ะนำาวตัถุดิบอนื่มาใช้ทดแทนได้หรอืไม่ 
4) เครื่องจักร เป็นปัจจัยในการเพิ่มผลผลิตให้มีทั้งปริมาณและ 
คุณภาพตรงกับความต้องการของลุกค้าหรือผู้บริโภค ช่วยลดปัญหาการ 
ขาดแคลนคนงาน 
นอกจากนี้ยังต้องคำานึงถึงปัจจัยภายในอื่น ๆ เช่น 
5) การจัดการ เป็นวิธีการหรือรูปแบบในการนำาเอาทรัพยากร 
ทั้งหมดขององค์กรมาจัดการเพื่อให้การผลิตเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ การ 
จัดการที่ดีจะช่วยลดต้นทุนในการผลิตเป็นการใช้ทรัพยากรที่อยู่อย่างจำากัด 
ให้เกิดประโยชน์สูงสุด 
6) การตลาด เป็นการดำาเนินการเพื่อที่จะนำาสินค้าและบริการ 
จากผู้ประกอบการหรือผู้ผลิตไปสู่ลูกค้าหรือผู้บริโภค การตลาดมีส่วนสำาคัญ 
ในการกำาหนดตัวสินค้าและบริการที่จะผลิตออกมา โดยอยู่บนพื้นฐานของ 
ความต้องการของผู้บริโภคเป็นสำาคัญ 
7) ทำาเล เป็นปัจจัยภายในที่ผู้ประกอบการสามารถกำาหนดเองได้ 
โดยเลือกทำาเลให้มีความเหมาะสมกับธุรกิจของตนเอง เพื่อให้เกิดสภาพคล่อง 
2. ปัจจัยและสิ่งแวดล้อมภายนอก (External Environment) 
ได้แก่ 
1) ภาวะเศรษฐกิจ เป็นปัจจัยและสิ่งแวดล้อมที่ไม่สามารถ 
ควบคุมได้ ดังนั้นจึงขึ้นอยู่กับความสามารถของผู้ประกอบการหรือผู้ผลิตที่จะ
ต้องคาดคะเนภาวะเศรษฐกิจไว้ล่วงหน้า เพื่อจะได้วางแผนปรับปรุงธุรกิจของ 
ตนเองให้เจริญรุ่งเรืองหรือประสบกับความสูญเสียให้น้อยที่สุดเท่าที่จะทำาได้ 
2) ระบบการแข่งขัน ผู้ประกอบการหรือผู้ผลิตจะต้องเป็นผู้ที่ 
สามารถมองระบบการแข่งขันในธุรกิจของตนเองได้ว่าธุรกิจอยู่ในระดับใด 
สามารถที่จะแข่งขันกับคู่แข่งได้หรือไม่ หากแข่งขันได้จะแข่งขันด้วยกลยุทธ์ 
หรือวิธีการใดจึงจะสามารถชนะคู่แข่งได้ 
3) สภาพแวดล้อมและวัฒนธรรม เป็นตัวกำาหนดว่าสภาพ 
สังคมและวัฒนธรรมในลักษณะนี้ เหมาะที่จะประกอบธุรกิจประเภทใด เพื่อ 
ให้สินค้าและบริการที่ผลิตออกมาสามารถจำาหน่ายได้ 
4) สภาพแวดล้อมทางกฎหมาย กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ 
ตราขึ้นเพื่อให้การดำาเนินธุรกิจต่าง ๆ เป็นไปด้วยความยุติธรรม เช่น 
กฎหมายป้องกันการผูกขาด กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค เป็นต้น ผู้ประกอบ 
การที่ดี จึงควรดำาเนินธุรกิจของตนภายใต้กฎหมาย แต่เนื่องจากภาวะ 
แวดล้อมทางกฎหมายมีข้อกำาหนดหรือข้อบังคับมากมายและกฎหมายบางฉบับ 
เข้าใจยาก จึงมักมีที่ปรึกษาทางกฎหมายประจำากิจการเพื่อประโยชน์ในการ 
ปฏิบัติ 
5) ภาวะทางการเมือง การเมืองนับว่ามีอิทธิพลเหนือการ 
ควบคุมของธุรกิจเป็นอย่างมาก นักธุรกิจจึงพยายามเข้ามามีบทบาททางการ 
เมืองเพื่อจะได้เข้าไปมีส่วนร่วมในการตรากฎหมายหรือระเบียบข้อบังคับต่าง 
ๆ และนำาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อธุรกิจของตน 
6) เทคโนโลยี ผู้ประกอบการหรือผู้ผลิตจะต้องเป็นผู้ที่แสวงหา 
ความรู้ใหม่ ๆ เกี่ยวกับเทคโนโลยีอยู่เสมอ เพราะเทคโนโลยีมีการ 
เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ผู้ที่ก้าวทันเทคโนโลยีมาใช้ได้อย่างถูกต้องและ 
เหมาะสมเท่านั้น จึงจะสามารถดำาเนินธุรกิจให้ประสบความสำาเร็จอย่างยั่งยืน 
**

More Related Content

งาȨุรกิจ

  • 1. โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา สุวินทวงศ์ รายวิชา งาȨุรกิจ รหัสวิชา ง 20202 ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 ** * ใบความรู้ที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจ ธุรกิจ (Business) หมายถึง การกระทำาหรือกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ที่ดำาเนินงาน เกี่ยวพันกับสถาบันการผลิต การจำาหน่าย และการให้บริการ ให้ตรงกับ ความต้องการของผู้บริโภค โดบกลุ่มบุคคลมีการกระทำาร่วมกัน เพื่อบรรลุ จุดมุ่งหมายเดียวกัน คือ รายได้หรือกำาไรเป็นผลตอบแทนจากการลงทุน ด้วยทรัพย์สินและแรงงานในกิจกรรมนั้น ๆ ซึ่งการกระทำาหรือกิจกรรมดัง กล่าว อาจจะเสี่ยงต่อการขาดทุนด้วยเช่นกัน ประโยชน์ของธุรกิจ การดำาเนินการทางธุรกิจมีประโยชน์ต่อบุคคล ชุมชน สังคม และ ประเทศชาติ ดังนี้ ประโยชน์ ของธุรกิจ เกิดการจ้างงาน และสร้างรายได้ กระจาย สินค้า ผลิตสินค้า และบริการ พัฒนาเศรษฐกิจ ของประเทศ เกิดการพัฒนา สร้างรายได้ ด้านเทคโนโลยี
  • 2. จุดมุ่งหมายของธุรกิจ การประกอบธุรกิจทุกประเภท ผู้ประกอบการส่วนใหญ่จะมีจุดมุ่ง หมายที่สำาคัญ ดังนี้ 1. กำาไร (Profit) จุดมุ่งหมายสำาคัยที่สุดของการประกอบธุรกิจ คือ กำาไรที่ได้จากการลงทุนทั้ง กำาลังกาย และกำาลังทรัพย์ในการ ดำาเนินกิจการนั้น ๆ กำาไรจึงเป็นตัวบ่งชี้ว่าธุรกิจนั้นจะสามารถ ดำาเนินต่อไปได้หรือไม่ 2. ความอยู่รอด (Survival) ในการประกอบธุรกิจ ผู้ประกอบการ ย่อมต้องการให้กิจการของตนเองสามารถดำาเนินกิจการต่อไป เรื่อย ๆ โดยธุรกิจจะต้องมีการผลิตสินค้าและบริการที่ตรงกับความ ต้องการของผู้บริโภค เมื่อผู้บริโภคซื้อสินค้าและบริการก็จะทำาให้ ธุรกิจมีรายได้หรือกำาไรเพียงพอที่จะดำาเนินกิจการนั้น ๆ ต่อไป โดยไม่หยุดชะงักหรือปิดกิจการ 3. ความเจริญเติบโต (Growth) การประกอบธุรกิจนอกจากจะ ต้องการความอยู่รอดแล้วยังต้องการความเจริญเติบโต ความ เจริญก้าวหน้า มีการขยายกิจการให้ใหญ่ขึ้น หรือมีสาขาเครือ ข่ายเพิ่มมากขึ้น รวมทั้งกิจการมีสินทรัพย์มาก และมีฐานะที่มั่นคง 4. ความรับผิดชอบต่อสังคม (Social Responsibilities) เมื่อ กิจการที่ดำาเนินมีทั้งกำาไร ความก้าวหน้า และมีฐานะทางการเงินที่ มั่นคงผู้ประกอบการจะต้องมีความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค ชุมชน สังคม ตลอดจนสภาพแวดล้อมโดยไม่สร้างปัญหาให้กับผู้อยู่อาศัย เช่น ไม่สร้างมลภาวะให้กับสิ่งแวดล้อม ไม่เอารัด เอาเปรียบ ผู้บริโภค ให้การสนับสนุนหรือส่งเสริมกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ ต่อสังคม เป็นต้น ประเภทของธุรกิจ ธุรกิจจำาแนกตามลักษณะของการดำาเนินงานออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้ 1. ธุรกิจอุตสาหกรรม เป็นธุรกิจที่ดำาเนินการโดยนำาวัตถุดิบและปัจจัยในการผลิตมา ผ่านกระบวนการเพื่อแปรสภาพเป็นสินค้าชนิดต่างๆ 2. ธุรกิจการพาณิชยกรรม เป็นธุรกิจที่ดำาเนินการเกี่ยวกับการตลาด โดยกระจายสินค้าจาก แหล่งผลิต (อุตสาหรรมการผลิต) ไปสู่ผู้บริโภคอย่างทั่วถึงทุกท้องที่
  • 3. ทำาให้ผู้บริโภคสามารถเลือกซื้อสินค้าชนิดต่าง ๆ ได้ตามความต้องการ ธุรกิจการพาณิชยกรรมมีทั้งลักษณะที่เป็นการค้าส่งและการค้าปลีก เช่น ร้านสะดวกซื้อ ซูเปอร์มาร์เก็ต ห้างสรรพสินค้า เป็นต้น 3. ธุรกิจการบริการ เป็นธุรกิจที่เกี่ยวกับการบริการในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อตอบสนอง ความต้องการของผู้บริโภค เช่น ความสะดวกสบาย ความปลอดภัย ความ บันเทิง โดยคิดค่าบริการเป็นค่าตอบแทน ซึ่งธุรกิจประเภทนี้จะต้องอาศัย แรงงาน และความสารถเฉพาะบุคคลของบุคลากรในสถานประกอบการนั้น ๆ เป็นสิ่งสำาคัญ เช่น ธุรกิจการท่องเที่ยว ธุรกิจการโรงแรม ธุรกิจการ คมนาคมและขนส่ง เป็นต้น รูปแบบของธุรกิจ มีการกำาหนดรูปแบบของธุรกิจออกเป็น 5 รูปแบบ ดังนี้ 1. กิจการเจ้าของคนเดียว (Sole or Snger Proprietorship) เป็นกิจการธุรกิจที่บุคคลคนเดียวเป็นเจ้าของกิจการ และบริหาร จัดการธุรกิจทุกเรื่องด้วยตนเอง เปรียบเทียบข้อดีและข้อเสียของกิจการเจ้าของคนเดียว ข้อดี ข้อเสีย 1. เจ้าของกิจการมีอิสระ และความ คล่องตัวในการบริหารหรือดำาเนินการ ต่าง ๆ ได้เต็มที่ 1. อัตราความล้มเหลวมีสูง เนื่องจาก เป็นกิจการที่การบริหารขึ้นอยู่กับ เจ้าของกิจการเพียงคนเดียว หาก เจ้าของกิจการขาดความรู้ความ สามารถในการบริหาร ก็จะทำาให้ ธุรกิจไม่ประสบความสำาเร็จ 2. การจัดตั้ง และการเลิกกิจนการสา มารถทำาได้ง่ายและสะดวก 2. การจัดหาเงินทุนในการขยาย กิจการค่อนข้างยาก เนื่องจากเป็น ธุรกิจที่มีอัตราความล้มเหลวสูง ขาด ความน่าเชื่อถือ และไม่สามารถขาย หุ้นได้ 3. ได้รับรายได้หรือกำาไรในการ ประกอบการ 3. ต้องรับผิดชอบหนี้สินไม่จำากัด เนื่องจากกฎหมายถือว่าเจ้าของ
  • 4. เพียงคนเดียว กิจการและธุรกิจเป็นบุคคลเดียวกัน หากทรัพย์สินของกิจการไม่เพียงพอ ชำาระหนี้ต้องนำาทรัพย์สินส่วนตัวมา ชำาระหนี้ทั้งหมด 4. การเสียภาษี กฎหมายถือว่า เจ้าของกิจการ และธุรกิจเป็นบุคคลเดียวกัน จึง เสียภาษี แบบภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 4. อายุการดำาเนินกิจการจะขึ้นอยู่กับ เจ้าของกิจการ ถ้าเจ้าของกิจการตาย หรือไม่มีความสามารถธุรกิจจะสิ้นสุด ลงในเวลาอันรวดเร็ว 5. สามารถรักษาความลับของกิจการ ได้ดี เพราะไม่มีข้อบังคับทาง กฎหมายที่จะต้องเปิดเผยข้อมูลแก่ บุคคลอื่น 2. ห้างหุ้นส่วน (Partnership) เป็นรูปแบบการประกอบธุรกิจที่มีบุคคลตั้งแต่ 2 คน ขึ้นไป แบ่ง ออกเป็น 2 ประเภท คือ 2.1 ห้างหุ้นส่วนสามัญ (Ordinary Partnership) สามารถ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ 1) ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล (จดทะเบียน) เป็นห้างหุ้นส่วน สามัญที่จดทะเบียนถูกต้องตามกฎหมาย หากมีการฟ้องร้องต้อง ฟ้องห้างหุ้นส่วน เมื่อทรัพย์สินของห้างหุ้นส่วนไม่พอชำาระหนี้จึง จะฟ้องร้องจากหุ้นส่วนต่อไป 2) ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล (ไม่จดทะเบียน) เป็นห้างหุ้นส่วนที่ไม่ ได้จดทะเบียนให้ถูกต้องตามกฎหมาย ผู้ที่เป็นหุ้นส่วนกับห้างหุ้น ส่วนจะไม่แยกจากกัน เจ้าหนี้สามารถฟ้องร้องบุคคลใดก็ได้ 2.2 ห้างหุ้นส่วนจำากัด (Limited Partnership) เป็นรูป แบบห้างหุ้นส่วนที่จะต้องจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล จึงจะมีผลทำาให้ กิจการนั้นเสมือนเป็นบุคคล และมีสิทธิดำาเนินการต่าง ๆ ตามที่ กฎหมายกำาหนด ซึ่งผู้เป็นหุ้นส่วนแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ 1) หุ้นส่วนประเภทจำากัดความรับผิดชอบ ผู้เป็นหุ้นส่วน ประเภทนี้จะรับผิดชอบเพียงจำานวนเงิน หรือทรัพย์สินที่ตนรับว่า จะลงทุนในห้างหุ้นส่วนเท่านั้น
  • 5. 2) หุ้นส่วนประเภทไม่จำากัดความรับผิดชอบ ผู้เป็นหุ้นส่วนจะมี คนเดียวหรือหลายคนก็ได้ วึ่งรับผิดชอบหนี้สินของห้างหุ้นส่วน โดยไม่จำากัดจำานวน เปรียบเทียบข้อดีและข้อเสียของห้างหุ้นส่วน ข้อดี ข้อเสีย 1. ถ้าหุ้นส่วนแต่ละคนมีความสามารถ ความชำานาญ และมีประสบการณ์ใน แต่ละด้านจะทำาให้การบริหารธุรกิจ สำาเร็จลุล่วงได้ด้วยดี 1. ถ้าผู้ถือหุ้นส่วนบางคนไม่สุจริต หรือทำาการโดยประมาทเลินเล่อ จะ ทำาให้ผู้ถือหุ้นส่วนดื่นเสียหายไปด้วย 2. การจัดหารเงินทุนทำาได้ง่ายกว่า กิจการเจ้าของคนเดียว เพราะมีหุ้นส่วน หลายคน ธนาคารหรือสถาบันทางการ เงินจึงให้กู้ง่ายกว่า 2. มีความล่าช้าในการตัดสินใจและ อาจเกิดความขัดแย้งกันได้ง่าย เนื่องจากมีผู้ถือหุ้นหลายคน 3. จัดตั้งได้ง่ายกว่าการจัดตั้งบริษัท จำากัด เพราะข้อจำากัดทางกฎหมายมีไม่ มาก 3. มีหนี้สินไม่จำากัด หากไม่สามารถ ชำาระหนี้ของกิจการได้หมด เจ้าหนี้ สามารถเรียกร้องทรัพย์สินส่วนตัว ของหุ้นส่วนแต่ละคน 4. ถอนทุนได้ยาก เพราะมีข้อจำากัด ตามข้อตกลงในสัญญาและกฎหมาย 3. บริษัทจำากัด (Corporation) จัดตั้งขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ในการแสวงหากำาไรจากกิจการ ซึ่งจะ แบ่งออกเป็นหุ้นที่มีมูลค่าหุ้นละเท่า ๆ กัน ในปัจจุบันประเทศไทยแบ่ง บริษัทจำากัดออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ 1.บริษัทเอกชน เป็นบริษัทประเภทหนึ่งซึ่งจัดตั้งโดยบุคคลตั้งแต่ 7 คน ขึ้นไป แบ่งทุนเป็นหุ้นมีมูลค่าเท่า ๆ กัน โดยมีผู้ถือหุ้นไม่เกิน 100 คน 2.บริษัทมหาชน เป็นบริษัทที่จัดตั้งขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ในการ เสนอขายหุ้นต่อประชาชน จัดตั้งโดยบุคคลตั้งแต่ 15 คน ขึ้นไป แบ่งทุน เป็นหุ้นมีมูลค่าเท่า ๆ กัน โดยมีผู้ถือหุ้นตั้งแต่ 100 คนขึ้นไป พ.ร.บ.บริษัทมหาชนจำากัด พ.ศ. 2535 ได้กำาหนดลักษณะ โครงสร้างของบริษัทมหาชนจำากัดไว้ พอสรุปได้ดังนี้ 1) จำานวนผู้ถือหุ้น มีผู้ถือหุ้นตั้งแต่ 15 คนขึ้นไป 2) ทุนจดทะเบียน ไม่มีการกำาหนดจำานวนทุนจดทะเบียนขั้นตำ่าไว้
  • 6. 3) มูลค่าหุ้นและการชำาระเงินค่าหุ้น หุ้นของบริษัทมหาชนจำากัด แต่ละหุ้นจะต้องมีมูลค่าเท่ากัน และต้องชำาระค่าหุ้นครั้งเดียวเต็มมูลค่าหุ้น 4) จำานวนกรรมการ ต้องมีจำานวนกรรมการของบริษัทไม่น้อยกว่า 5 คน และกรรมการไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งต้องมีที่อยู่ในประเทศไทย เปรียบเทียบข้อดีและข้อเสียของบริษัทจำากัด ข้อดี ข้อเสีย 1. การจัดการมีประสิทธิภาพ เนื่องจาก บริษัทมักจะใช้ผู้บริหารมืออาชีพและมี ระบบการทำางานที่ดีกว่าธุรกิจรูปแบบ อื่น ๆ 1. การจัดตั้งยุ่งยากและเสียค่าใช้จ่าย สูง เนื่องจากมีข้อจำากัดทางกฎหมาย และหน่วยงานของรัฐดูแลอย่างเข้ม งวด 2. ผู้ถือหุ้นรับผิดชอบจำากัดเฉพาะค่า หุ้นที่ตนยังค้างจ่ายแก่บริษัทเท่านั้น ถ้า บริษัทมีหนี้สินใด ๆ ผู้ถือหุ้นไม่ต้องรับ ผิดชอบ 2. ไม่สามารถปกปิดความลับของ กิจการได้ทั้งหมด เพราะต้องเปิดเผย ข้อมูลแก่รัฐตามที่กฎหมายกำาหนด 3. โอน หรือขาย หรือขยายกิจการได้ ง่าย เนื่องจากบริษัทจำากัดดูน่าเชื่อถือ ในกลุ่มของบุคคลและสถาบันทางการ เงิน 3. ถ้าฝ่ายบริหารไม่ใช่ผู้ถือหุ้นอาจ บริหารงานไม่รอบคอบทำาให้ธุรกิจล้ม เหลวได้ 4. มีความมั่นคงถึงแม้จะมีการ เปลี่ยนแปลงเจ้าของบริษัท เช่น ผู้ถือ หุ้นเสียชีวิต ล้มละลาย หรือศาลให้เป็น ผู้ไร้ความสามารถกิจการไม่ต้องล้มเลิก ไป 4. ผู้ประกอบการต้องเสียภาษีซำ้าซ้อน คือ ทั้งภาษีเงินได้นิติบุคคลและภาษี เงินได้บุคคลธรรมดา 4. สหกรณ์ (Cooperative) เป็นรูปแบบธุรกิจอีกรูปแบบหนึ่ง ซึ่งมีคณะบุคคลตั้งแต่ 10 คน ขึ้นไป ที่มีอาชีพ ความต้องการ ความสนใจที่คล้ายคลึงกันร่วมกันจัดตั้งขึ้น และจดทะเบียนถูกต้องตามพ.ร.บ.สหกรณ์ที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน มี วัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมอาชีพ การครองชีพของสมาชิกและครอบครัวให้มี ฐานะความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ซึ่งเป็นวีที่ให้ประโยชน์ทั้งต่อสมาชิกของสหกรณ์ และต่อส่วนรวม ในปัจจุบัน สหกรณ์แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ตามพ.ร.บ.สหกรณ์ พ.ศ. 2511 มาตรา 7 ได้แก่
  • 7. 1. สหกรณ์จำำกัด เป็นสหกรณ์ที่สมำชิกมีควำมรับผิดชอบจำำกัดเพียง ไม่เกินจำำนวนค่ำหุ้นที่ตนถือ 2. สหกรณ์ไม่จำำกัด เป็นสหกรณ์ที่สมำชิกทุกคนมีควำมรับผิดชอบ ร่วมกัน เพื่อหนี้ทั้งปวงของสหกรณ์โดยไม่จำำกัด เปรียบเทียบข้อดีและข้อเสียของสหกรณ์ ข้อดี ข้อเสีย 1. กฎหมำยให้กำรสนับสนุนช่วยเหลือ เช่น ได้รับกำรยกเว้นไม่ต้องเสียภำษี เงินได้สำำหรับผู้บริโภค 1. สมำชิกที่เป็นผู้ผลิตไม่สำมำรถตั้ง รำคำขำยผลผลิตของตนเองได้ ตำมใจชอบ เพรำะสหกรณ์จะเป็นผู้ กำำหนด 2. เป็นกำรรวมสมำชิกเพื่อช่วยเหลือซึ่ง กันและกัน 2. หำกสมำชิกไม่เข้ำใจหลักและวิธี กำรของสหกรณ์ดีพอ สหกรณ์อำจไม่ เจริญเท่ำที่ควร 3. ค่ำใช้จ่ำยในกำรดำำเนินงำนของ สหกรณ์ถูกกว่ำธุรกิจประเภทอื่น 3. สหกรณ์ขำดแรงจูงใจ คือ กำำไร ที่ น้อยกว่ำธุรกิจประเภทอื่น ๆ 4. ได้รับผลประโยชน์ทั่วถึงในหมู่ สมำชิก เพรำะถ้ำใครทำำธุรกิจกับ สหกรณ์ได้มำกก็จะได้รับประโยชน์สูง ตำมไปด้วย 4. มีทุนจำำกัด จึงมีผลต่อกำรบริหำร จัดกำร 5. รัฐวิสำหกิจ (State Enterprise) เป็นองค์กรของรัฐหรือหน่วยงำนที่รัฐบำลเป็นเจ้ำของ รวมทั้ง บริษัทหรือห้ำงหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ส่วนรำชกำรหรือรัฐวิสำหกิจมีหุ้นเกิด กว่ำร้อยละ 50 หรือมีหุ้นมำกที่สุด วัตถุประสงค์ที่สำำคัญในกำรจัดตั้งรัฐวิสำหกิจมีดังนี้ 1) เพื่อควำมมั่นคงของประเทศ เพรำะกิจกำรบำงอย่ำงมีควำม จำำเป็นที่ต้องใช้ในยำมฉุกเฉิน เช่น กำรปิโตรเลียมแห่ง ประเทศไทย 2) เพื่อประโยชน์ของสังคมในกำรให้บริกำรประชำชน ซึ่งส่วน ใหญ่จะเป็นกิจกำรเกี่ยวกับสำธำรณูปโภคต่ำง ๆ เช่น กำร ประปำ กำรไฟฟ้ำ 3) เพื่อหำรำยได้เข้ำรัฐ เนื่องจำกธุรกิจบำงประเภทมีผลกำำไรเป็น จำำนวนมำก เช่น สำำนักงำนสลำกกินแบ่งรัฐบำล
  • 8. 4) เพื่อประชำสัมพันธ์และเผยแพร่ชื่อเสียงของประเทศให้เป็นที่ รู้จักของชำวต่ำงประเทศ พร้อมกับเชิญชวนให้มำท่องเที่ยวใน ประเทศไทย เช่น กำรท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย รัฐวิสำหกิจแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ 1. รัฐวิสำหกิจที่เป็นนิติบุคคล เป็นองค์กรและหน่วยงำนที่จัด ตั้งขึ้นมีฐำนะเป็นนิติบุคคลตำมกฎหมำย มีกำรดำำเนินงำนที่แยก ออกจำกผู้ถือหุ้นหรือเจ้ำของกิจกำรโดยเฉพำะ เช่น กำร สื่อสำรแห่งประเทศไทย กำรปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย กำร รถไฟแห่งประเทศไทย องค์กำรสวนสัตว์ ธนำคำรแห่ง ประเทศไทย บริษัทขนส่ง เป็นต้น 2. รัฐวิสำหกิจที่ไม่เป็นนิติบุคคล เป็นกิจกำรบำงอย่ำงของรัฐ ที่จัดตั้งขึ้นโดยใช้ทุนดำำเนินกำรของรัฐทั้งหมด สังกัดหน่วย รำชกำรที่เป็นผู้ก่อตั้งขึ้น แต่ไม่มีฐำนะเป็นนิติบุคคล เช่น โรงงำนยำสูบ และสำำนักงำนสลำกกินแบ่งรัฐบำล ซึ่งสังกัด กระทรวงกำรคลัง เป็นต้น เปรียบเทียบข้อดีและข้อเสียของรัฐวิสำหกิจ ข้อดี ข้อเสีย 1. ทำำให้รัฐบำลมีรำยได้มำพัฒนำ ประเทศมำกขึ้น ไม่มีกำรแข่งขันทำงธุรกิจ จึงทำำให้ สินค้ำและบริกำรบำงประเภทไม่ได้รับ กำรปรับปรุงให้มีคุณภำพดีขึ้น 2. ประชำชนได้รับสวัสดิกำร โดย เฉพำะสำธำรณูปโภคพื้นฐำนในรำคำที่ ไม่แพง ควำมรับผิดชอบของผู้ 1. ควำมรับผิดชอบต่อผู้บริโภค ผู้ประกอบธุรกิจจะต้องผลิต สินค้ำและบริกำรที่มีคุณภำพได้มำตรฐำน มีกำรตั้งรำคำที่ ยุติธรรม ไม่กักตุนสินค้ำ จนทำำให้ผู้บริโภคต้องได้รับควำมเดือด ร้อน ให้คำำแนะนำำแก่ผู้บริโภคอย่ำงซื่อตรง และคำำนึงถึง ประโยชน์สูงสุดที่ผู้บริโภคจะได้รับ
  • 9. 2. ควำมรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม ปัญหำสิ่งแวดล้อมในปัจจุบัน เป็นปัญหำที่สำำคัญอย่ำงยิ่งของโลก และมีแนวโน้มจะทวีควำม รุนแรงขึ้นเรื่อย ๆ ผู้ประกอบธุรกิจต้องตระหนักถึงปัญหำเหล่ำนี้ และหำวิธีป้องกันกำรเกิดมลพิษ โดยไม่ปล่อยสำรพิษต่ำง ๆ ออกสู่ สิ่งแวดล้อม หรือผลิตสินค้ำจำกวัสดุที่สำมำรถนำำกลับมำใช้ใหม่ ได้อีก 3. ควำมรับผิดชอบต่อรัฐบำลและประชำชนผู้บริโภค ซึ่งผู้ ประกอบธุรกิจจะต้องปฏิบัติ ดังนี้ 1) ผู้ประกอบธุรกิจจะต้องแสดงควำมรับผิดชอบต่อรัฐบำล โดย กำรปฏิบัติตำมกฎหมำยและระเบียบข้อบังคับต่ำง ๆ ของ สังคมที่กำำหนดไว้ เช่น กำรเสียภำษี กำรจ่ำยค่ำจ้ำง แรงงำน เป็นต้น 2) ผู้ประกอบธุรกิจจะต้องรับผิดชอบต่อประชำชนซึ่งเป็นผู้ บริโภค โดยกำรให้ควำมช่วยเหลือในกรณีเกิดพิบัติภัยต่ำง ๆ ให้ทุนกำรศึกษำแก่เด็กยำกจน สมทบทุนสร้ำงโรง พยำบำลหรือโรงเรียน เป็นต้น 4. ควำมรับผิดชอบต่อพนักงำน ผู้ประกอบธุรกิจมีควำมจำำเป็นอย่ำง ยิ่งที่จะต้องรับผิดชอบต่อพนักงำน อย่ำงยุติธรรม และเสมอภำคกัน ในด้ำนสิทธิประโยชน์ต่ำง ๆ เช่น กำรจ่ำยเงินเดือนและค่ำจ้ำงให้กับ ลุกจ้ำงหรือพนักงำนในอัตรำที่เหมำะสม รวมถึงกำรจัดสวัสดิกำรต่ำง ๆ เช่น กำรประกันสังคม ค่ำรักษำพยำบำล ซึ่งเป็นกำรสร้ำงขวัญ กำำลังใจ และมีส่วนทำำให้พนักงำนมีควำมจงรักภักดีต่อองค์กรนั้น ๆ ด้วย 5. ควำมรับผิดชอบต่อผู้ถือหุ้น ผู้ประกอบธุรกิจจะต้องนำำเงินทุนหรือ ลงทุนในกำรดำำเนินงำนอย่ำงมีประสิทธิภำพ และมุ่งผลประโยชน์ สูงสุดให้กับกิจกำรโดยไม่ขัดต่อกฎหมำย ส่วนกำำไรที่ได้จะต้องนำำมำ แบ่งปันกับผู้ร่วมลงทุน หรือผู้ถือหุุ้นในรูปของเงินปันผลอย่ำงเหมำะ สมและยุติธรรม ปัจจัยและสิ่งแวดล้อม กำรประกอบธุรกิจทุกประเภทมักได้รับผลกระทบจำกปัจจัยและสิ่ง แวดล้อมทำงธุรกิจ ผลกระทบนั้นจะแตกต่ำงกันไปขึ้นอยู่กับสิ่งแวดล้อมที่ธุรกิจ นั้นตั้งอยู่ ซึ่งแบ่งได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
  • 10. 1. ปัจจัยและสิ่งแวดล้อมภายใน (Internal Environment) ได้แก่ 1) บุคลากร เป็นปัจจัยและสิ่งแวดล้อมที่มีความสำาคัญมากที่สุด เนื่องจากบุคลากรเป็นผู้สร้างคุณภาพของสินค้าและบริการให้แก่กิจการนั้น ๆ จึงเป็นหน้าที่ของผู้ประกอบการที่จะพัฒนาบุคลากรของตนโดยการฝึกอบรม หรือการจัดสัมมนา ในขณะเดียวกันบุคลากรเองก็ต้องเป็นผู้ที่รักการเรียนรู้ใน สิ่งใหม่ ๆ เพื่อพัฒนาตนเองอยู่ตลอดเวลาด้วย 2) เงิน เป็นปัจจัยที่ทำาให้กิจการดำาเนินไปโดยราบรื่น ผู้ประกอบ การควรเป็นผู้ที่มีความสามารถในการจัดหาแหล่งเงินทุน และบริหารเงินทุนให้มี ประสิทธิภาพสูงสุด เพื่อให้กิจการประสบผลสำาเร็จตามจุดมุ่งหมายที่วางไว้ 3) วัตถุดิบ เป็นปัจจยัสำาคัญอยา่งหนงึ่ในการผลติสนิค้า ผปู้ระกอบ การควรเลอืกวตัถุดิบทมี่คีุณภาพดี มปีรมิาณเพยีงพอต่อการผลติ นอกจากนี้ จะต้องคำานึงถึงวา่สามารถทจี่ะนำาวตัถุดิบอนื่มาใช้ทดแทนได้หรอืไม่ 4) เครื่องจักร เป็นปัจจัยในการเพิ่มผลผลิตให้มีทั้งปริมาณและ คุณภาพตรงกับความต้องการของลุกค้าหรือผู้บริโภค ช่วยลดปัญหาการ ขาดแคลนคนงาน นอกจากนี้ยังต้องคำานึงถึงปัจจัยภายในอื่น ๆ เช่น 5) การจัดการ เป็นวิธีการหรือรูปแบบในการนำาเอาทรัพยากร ทั้งหมดขององค์กรมาจัดการเพื่อให้การผลิตเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ การ จัดการที่ดีจะช่วยลดต้นทุนในการผลิตเป็นการใช้ทรัพยากรที่อยู่อย่างจำากัด ให้เกิดประโยชน์สูงสุด 6) การตลาด เป็นการดำาเนินการเพื่อที่จะนำาสินค้าและบริการ จากผู้ประกอบการหรือผู้ผลิตไปสู่ลูกค้าหรือผู้บริโภค การตลาดมีส่วนสำาคัญ ในการกำาหนดตัวสินค้าและบริการที่จะผลิตออกมา โดยอยู่บนพื้นฐานของ ความต้องการของผู้บริโภคเป็นสำาคัญ 7) ทำาเล เป็นปัจจัยภายในที่ผู้ประกอบการสามารถกำาหนดเองได้ โดยเลือกทำาเลให้มีความเหมาะสมกับธุรกิจของตนเอง เพื่อให้เกิดสภาพคล่อง 2. ปัจจัยและสิ่งแวดล้อมภายนอก (External Environment) ได้แก่ 1) ภาวะเศรษฐกิจ เป็นปัจจัยและสิ่งแวดล้อมที่ไม่สามารถ ควบคุมได้ ดังนั้นจึงขึ้นอยู่กับความสามารถของผู้ประกอบการหรือผู้ผลิตที่จะ
  • 11. ต้องคาดคะเนภาวะเศรษฐกิจไว้ล่วงหน้า เพื่อจะได้วางแผนปรับปรุงธุรกิจของ ตนเองให้เจริญรุ่งเรืองหรือประสบกับความสูญเสียให้น้อยที่สุดเท่าที่จะทำาได้ 2) ระบบการแข่งขัน ผู้ประกอบการหรือผู้ผลิตจะต้องเป็นผู้ที่ สามารถมองระบบการแข่งขันในธุรกิจของตนเองได้ว่าธุรกิจอยู่ในระดับใด สามารถที่จะแข่งขันกับคู่แข่งได้หรือไม่ หากแข่งขันได้จะแข่งขันด้วยกลยุทธ์ หรือวิธีการใดจึงจะสามารถชนะคู่แข่งได้ 3) สภาพแวดล้อมและวัฒนธรรม เป็นตัวกำาหนดว่าสภาพ สังคมและวัฒนธรรมในลักษณะนี้ เหมาะที่จะประกอบธุรกิจประเภทใด เพื่อ ให้สินค้าและบริการที่ผลิตออกมาสามารถจำาหน่ายได้ 4) สภาพแวดล้อมทางกฎหมาย กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ ตราขึ้นเพื่อให้การดำาเนินธุรกิจต่าง ๆ เป็นไปด้วยความยุติธรรม เช่น กฎหมายป้องกันการผูกขาด กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค เป็นต้น ผู้ประกอบ การที่ดี จึงควรดำาเนินธุรกิจของตนภายใต้กฎหมาย แต่เนื่องจากภาวะ แวดล้อมทางกฎหมายมีข้อกำาหนดหรือข้อบังคับมากมายและกฎหมายบางฉบับ เข้าใจยาก จึงมักมีที่ปรึกษาทางกฎหมายประจำากิจการเพื่อประโยชน์ในการ ปฏิบัติ 5) ภาวะทางการเมือง การเมืองนับว่ามีอิทธิพลเหนือการ ควบคุมของธุรกิจเป็นอย่างมาก นักธุรกิจจึงพยายามเข้ามามีบทบาททางการ เมืองเพื่อจะได้เข้าไปมีส่วนร่วมในการตรากฎหมายหรือระเบียบข้อบังคับต่าง ๆ และนำาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อธุรกิจของตน 6) เทคโนโลยี ผู้ประกอบการหรือผู้ผลิตจะต้องเป็นผู้ที่แสวงหา ความรู้ใหม่ ๆ เกี่ยวกับเทคโนโลยีอยู่เสมอ เพราะเทคโนโลยีมีการ เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ผู้ที่ก้าวทันเทคโนโลยีมาใช้ได้อย่างถูกต้องและ เหมาะสมเท่านั้น จึงจะสามารถดำาเนินธุรกิจให้ประสบความสำาเร็จอย่างยั่งยืน **