ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
งานพิมพ์ และ ตัดตก สาหรับงาน 
พิมพ์ คืออะไร 
{ 
โดย เทวินทร์ ลิ่วเฉลิมวงศ์ - โรงพิมพ์เซ็ทสแควร์ 
1 กันยายน 2556
งานพิมพ์คือ 
 ขบวนการในการที่จะทาให้เกิดภาพบนวัสดุ 
 อาทิเช่น กระดาษ พลาสติก ผ้า ไม้ ฯลฯ 
 โดยสร้างต้Ȩบับขึน้มา เพื่อให้ได้ภาพที่ออกมาแล้ว 
เหมือนกันกับต้Ȩบับ
ต้Ȩบับ
ต้Ȩบับ หรือ อาร์ตเวิร์ค (Artwork)
ต้Ȩบับ หรือ อาร์ตเวิร์ค (Artwork) 
 คือผลงานศิลปะ หรือรูปภาพ ที่ถูกสร้างขึน้ด้วยมือ 
 หรืออาจจะใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการสร้างขึน้
โปรแกรมที่นิยมใช้สร้างอาร์ตเวิร์ค 
สาหรับมืออาชีพ 
 Adobe Illustrator 
 Adobe inDesign 
 Adobe Photoshop 
 Microsoft Publisher 
 QuarkXPress 
 CorelDraw
โปรแกรมอื่นที่สามารถใช้ในการสร้าง 
อาร์ตเวิร์คได้เหมือนกัน เช่น 
 Microsoft Word 
 Microsoft PowerPoint 
 Microsoft Excel 
 หรือโปรแกรมอื่นๆ อีกมากมาย
เพราะโปรแกรมที่ใช้สร้างอาร์ตเวิร์ค 
มีมากมาย เราจะทางานร่วมกันอย่างไร 
 Adobe PDF คือคาตอบ 
 PDF หรือ Portable Document Format 
 คือ ประเภทของไฟล์ข้อมูลที่ถูกแปลงจากโปรแกรมที่ใช้สร้างต้Ȩบับ หรืออาร์ตเวิร์ค 
นัน้ๆ โดยผู้รับ หรือผู้อ่านไม่จาเป็นต้องมีโปรแกรมที่ใช้สร้างอาร์ตเวิร์คนัน้ๆ 
 แต่ผู้รับไฟล์จะต้องโปรแกรมที่ใช้อ่านไฟล์ PDF ซงึ่ก็คือ โปรแกรม PDF 
Reader 
 โปรแกรม PDF Reader สามารถ Download จากเวปไซด์ของ 
Adobe.com ได้ฟรี (ไม่มีค่าใช้จ่าย) 
 ไฟล์ PDF จึงเป็นประเภทของไฟล์ ที่ผู้สร้างอาร์ตเวิร์คนิยมใช้ในการแปลงไฟล์ 
อาร์ตเวิร์คของเขา เพื่อใช้ส่งตอ่ให้กับผู้อื่น และเป็นไฟล์ที่นิยมใช้กันบน Internet
ข้อจากัดบางอย่างของ PDF 
 หลังจากที่ผู้ออกแบบ ได้จัดทาอาร์ตเวิร์คเสร็จแล้ว 
 และได้แปลงไฟล์ ให้เป็นไฟล์ PDF แล้วนัน้ 
 ไฟล์ PDF จะยากต่อการแก้ไข และเปลี่ยนแปลง 
 ดังนัน้หากว่าอาร์ตเวิร์คต้องมีการแก้ไข ก็จะทาได้ยากกว่า 
การใช้ไฟล์จากโปรแกรมที่สร้างอาร์ตเวิร์คนัน้ขึน้มา
คิดเล่นๆ 
 ถ้าหากว่าเรามีต้Ȩบับหรือ 
อาร์ตเวิร์ค ซงึ่ถูกสร้างขึน้ 
มาแล้ว 
 และต้Ȩบับของเราตอนนีอ้ยู่ 
บนกระดาษ 
 และเราต้องการสร้างภาพพิมพ์ 
ที่เหมือนกับต้Ȩบับนัน้ๆ 
จานวน 10 ใบ 
 เราจะทาอย่างไร 
ต้Ȩบับ
 วิธีที่ง่ายที่สุด น่าจะเป็นการถ่ายเอกสาร จาก 
ต้Ȩบับนัน้ 
 ดังนัน้สิ่งที่เราต้องใช้ในการถ่ายเอกสาร ก็คือ 
 ต้Ȩบับ 
 กระดาษจานวน 10 แผ่น เพื่อใช้ถ่ายสาเนา 
ลองตอบดูครับ 
ถ่ายเอกสาร 
ต้Ȩบับ กระดาษเพื่อใช้ถ่ายสาเนา จานวน 10 แผ่น
สิ่งที่ได้คือ 
 สาเนาจากต้Ȩบับ จานวน 9 แผ่น (เสียไป 1 แผ่น) 
 สาเนาที่ด้อยคุณภาพลง เนื่องจากมีการผ่านขบวนการใน 
การสร้างภาพ ที่ด้อยคุณภาพ 
ต้Ȩบับ สาเนา
ลองมาเจาะลึกปัญหาและอุปสรรคกัน 
ต้Ȩบับ สาเนา 
 ความคมชัดที่น้อยลงจากต้Ȩบับ 
 สีที่แตกต่างไปจากต้Ȩบับ 
 ภาพบางส่วนขาดหายไป เนื่องจากข้อจากัดบางอย่างของขบวนการพิมพ์ เช่น 
ระยะเว้นขอบกระดาษที่ไม่สามารถพิมพ์ได้ 
 จานวนสาเนาที่ได้ออกมา ไม่ครบกับจานวนที่ต้องการ เนื่องจากมีความเสียหาย 
ระหว่างการพิมพ์ 
ความคมชัด 
ที่ด้อยลงจาก 
ขบวนการพิมพ์ 
ภาพที่ขาดหายไป 
จากระยะเว้น 
ขอบกระดาษ 
สีที่แตกต่างไปจาก 
ต้Ȩบับ
มาหาวิธีแก้ปัญหากันดีกว่า 
ต้Ȩบับ สาเนา 
 ความคมชัดที่น้อยลงจากต้Ȩบับ 
 สีที่แตกต่างไปจากต้Ȩบับ 
 ภาพบางส่วนขาดหายไป เนื่องจากข้อจากัดบางอย่างของขบวนการพิมพ์ เช่น 
ระยะเว้นขอบกระดาษที่ไม่สามารถพิมพ์ได้ 
 จานวนสาเนาที่ได้ออกมา ไม่ครบกับจานวนที่ต้องการ เนื่องจากมีความเสียหาย 
ระหว่างการพิมพ์ 
ความคมชัด 
ที่ด้อยลงจาก 
ขบวนการพิมพ์ 
ภาพที่ขาดหายไป 
จากระยะเว้น 
ขอบกระดาษ 
สีที่แตกต่างไปจาก 
ต้Ȩบับ
ปัญหา : ความคมชัดของภาพที่ได้ 
สงั่พิมพ์ 
ไฟล์อาร์ตเวิร์ค (ต้Ȩบับ) งานที่สงั่พิมพ์ 
 เปลี่ยนจากวิธีการถ่ายเอกสาร มาเป็นวิธีการสงั่พิมพ์โดยตรงจากไฟล์ต้Ȩบับบน 
เครื่องคอมพิวเตอร์ 
 งานที่ได้ออกมาก็จะเทียบเท่ากับต้Ȩบับ (หรือใกล้เคียงกันมาก) 
 เราเรียกวิธีการนีว้่า การพิมพ์แบบดิจิตอล (Digital Print หรือ Digital 
Offset)
ปัญหา : ระยะเว้นของขอบกระดาษ 
สงั่พิมพ์ 
ไฟล์อาร์ตเวิร์ค (ต้Ȩบับ) งานที่สงั่พิมพ์ 
 เนื่องจากเครื่องพิมพ์ส่วนใหญ่ จาเป็นต้องมีระยะเว้นของขอบกระดาษ ซงึ่ทาให้งานที่ออกมานัน้ 
ถูกเว้นขอบขาวโดยรอบไว้นัน้ ทาให้ขนาดงานที่ถ่ายสาเนาออกมาเล็กกว่าขนาดต้Ȩบับ 
 วิธีการแก้ไข คือ ขยายขนาดของกระดาษที่จะใช้พิมพ์ ให้ใหญ่ขึน้ 
 สมมุติว่า เราต้องการพิมพ์งานขนาด A4 โดยมีภาพอยู่เต็มพืน้ที่ของกระดาษ เราก็แก้ไขปัญหา 
โดยการใช้ขนาดกระดาษที่ใหญ่กว่ากระดาษขนาด A4 
 กระดาษ A4 ขนาด 21 X 29.7 ซม. เราก็จะใช้กระดาษที่ใหญ่กว่า A4 เช่น 22 X 
30.7 ซม.
ปัญหา : การตัดกระดาษ 
สงั่พิมพ์ 
ไฟล์อาร์ตเวิร์ค (ต้Ȩบับ) งานที่สงั่พิมพ์ 
 หลังจากที่ได้งานพิมพ์ที่มีขนาดเต็มหน้ากระดาษแล้ว 
 เราก็จะนางานมาตัด หากว่าเราตัดด้วยมือ เราก็จะสามารถมอง 
ตัดแบบ แผ่นต่อแผ่น 
 สิ่งที่จะเกิดขึน้ก็จะเป็นไปตามภาพต่อไปนะครับ
ปัญหา : การตัดโดยใช้คัทเตอร์ด้วยมือ 
การตัดโดยใช้มือ 
และคัทเตอร์ 
 ผมสร้างภาพสมมุติการตัดด้วยมือ และปัญหาที่เรามักจะเจอะกัน 
ก็คือว่า ตัดแล้วไม่ตรงกับขอบของภาพพอดี 
 ก็เลยทาให้เราเกิดเป็นช่องสีขาว ตามขอบภาพด้วยเช่นกัน
แก้ปัญหาการตัด ด้วยการขยายตัดตก 
การขยายพืน้ที่ของภาพ 
หรือกราฟฟิค เพื่อให้เลย 
ตาแหน่งการตัดออกไป 
เราเรียกว่า 
“การทาตัดตก” 
 สิ่งที่เราทาคือ ขยายขนาดภาพหรือกราฟฟิคที่จะต้องพิมพ์ตรงตาแหน่งการตัด ให้ใหญ่ขึน้ หรือยืด 
พืน้ที่ของภาพให้กว้างขึน้ (โดยไม่ต้องให้ภาพใหญ่ขึน้ก็ได้) เลยออกไปนอกพืน้ที่การตัด 
 ผลที่ได้คือ หากวา่มีการตัดไม่ตรง พืน้ที่ในส่วนตัดตก ก็จะช่วยทาให้ไม่เห็นสีขาวที่ขอบกระดาษ
การทาตัดตก 
3 มม. จากขนาดงานจริง 
ขนาดตัดตกที่เหมาะสม 
คือ 3 มม. 
 ขนาดของพืน้ที่ตัดตกที่เหมาะสมก็คือด้านละ 3 มม. (ทุกด้าน) 
 โดย 3 มม. เริ่มจากตาแหน่งตัดจริง หรือขนาดงานออกไปทุกด้าน
มาร์คตัด (สิ่งที่จะบอกตาแหน่งตัด) 
 มาร์คตัด คือเส้นสาหรับบอกตาแหน่งการตัดกระดาษ 
 โดยมาร์คตัดตามภาพด้านบน แสดงตาแหน่งการตัดจริง และตาแหน่งตัดตก 
 โดยจะมีระยะห่างเท่ากับระยะตัดตก ตามที่เรากาหนด ปกติระยะตัดตกจะมีขนาดประมาณ 3 มม. 
 มาร์คตัดนัน้จะต้องใช้พืน้ที่กระดาษมากขึน้ เพื่อให้สามารถแสดงมาร์คตัดให้อยู่นอกระยะตัดตก
มาร์คพิมพ์ หรือ Registration Mark 
 มาร์คพิมพ์คือสัญลักษณ์เพื่อแสดงการทับซ้อนของสีในการพิมพ์ 
 เพื่อให้เราหรือช่างพิมพ์ได้ทราบตาแหน่งการทับซ้อนของสีในการพิมพ์ 
 รายละเอียดจะอธิบายอีกครัง้ในเรื่องขบวนการพิมพ์ออฟเซ็ท
สรุป 
 ตัดตก คือ พืน้ที่ที่เพิ่มขึน้จากขนาดงานจริง เพื่อใช้เป็นพืน้ที่ให้กับความ 
คลาดเคลื่อนในการตัด ไม่ว่าจะเป็นการตัดด้วยมือ หรือการตัดด้วยเครื่อง 
ตัดกระดาษ

More Related Content

วีธีการคำนวณและตัดกระดาษสำหรับงาȨิมพ์

  • 1. งานพิมพ์ และ ตัดตก สาหรับงาน พิมพ์ คืออะไร { โดย เทวินทร์ ลิ่วเฉลิมวงศ์ - โรงพิมพ์เซ็ทสแควร์ 1 กันยายน 2556
  • 2. งานพิมพ์คือ  ขบวนการในการที่จะทาให้เกิดภาพบนวัสดุ  อาทิเช่น กระดาษ พลาสติก ผ้า ไม้ ฯลฯ  โดยสร้างต้Ȩบับขึน้มา เพื่อให้ได้ภาพที่ออกมาแล้ว เหมือนกันกับต้Ȩบับ
  • 5. ต้Ȩบับ หรือ อาร์ตเวิร์ค (Artwork)  คือผลงานศิลปะ หรือรูปภาพ ที่ถูกสร้างขึน้ด้วยมือ  หรืออาจจะใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการสร้างขึน้
  • 6. โปรแกรมที่นิยมใช้สร้างอาร์ตเวิร์ค สาหรับมืออาชีพ  Adobe Illustrator  Adobe inDesign  Adobe Photoshop  Microsoft Publisher  QuarkXPress  CorelDraw
  • 7. โปรแกรมอื่นที่สามารถใช้ในการสร้าง อาร์ตเวิร์คได้เหมือนกัน เช่น  Microsoft Word  Microsoft PowerPoint  Microsoft Excel  หรือโปรแกรมอื่นๆ อีกมากมาย
  • 8. เพราะโปรแกรมที่ใช้สร้างอาร์ตเวิร์ค มีมากมาย เราจะทางานร่วมกันอย่างไร  Adobe PDF คือคาตอบ  PDF หรือ Portable Document Format  คือ ประเภทของไฟล์ข้อมูลที่ถูกแปลงจากโปรแกรมที่ใช้สร้างต้Ȩบับ หรืออาร์ตเวิร์ค นัน้ๆ โดยผู้รับ หรือผู้อ่านไม่จาเป็นต้องมีโปรแกรมที่ใช้สร้างอาร์ตเวิร์คนัน้ๆ  แต่ผู้รับไฟล์จะต้องโปรแกรมที่ใช้อ่านไฟล์ PDF ซงึ่ก็คือ โปรแกรม PDF Reader  โปรแกรม PDF Reader สามารถ Download จากเวปไซด์ของ Adobe.com ได้ฟรี (ไม่มีค่าใช้จ่าย)  ไฟล์ PDF จึงเป็นประเภทของไฟล์ ที่ผู้สร้างอาร์ตเวิร์คนิยมใช้ในการแปลงไฟล์ อาร์ตเวิร์คของเขา เพื่อใช้ส่งตอ่ให้กับผู้อื่น และเป็นไฟล์ที่นิยมใช้กันบน Internet
  • 9. ข้อจากัดบางอย่างของ PDF  หลังจากที่ผู้ออกแบบ ได้จัดทาอาร์ตเวิร์คเสร็จแล้ว  และได้แปลงไฟล์ ให้เป็นไฟล์ PDF แล้วนัน้  ไฟล์ PDF จะยากต่อการแก้ไข และเปลี่ยนแปลง  ดังนัน้หากว่าอาร์ตเวิร์คต้องมีการแก้ไข ก็จะทาได้ยากกว่า การใช้ไฟล์จากโปรแกรมที่สร้างอาร์ตเวิร์คนัน้ขึน้มา
  • 10. คิดเล่นๆ  ถ้าหากว่าเรามีต้Ȩบับหรือ อาร์ตเวิร์ค ซงึ่ถูกสร้างขึน้ มาแล้ว  และต้Ȩบับของเราตอนนีอ้ยู่ บนกระดาษ  และเราต้องการสร้างภาพพิมพ์ ที่เหมือนกับต้Ȩบับนัน้ๆ จานวน 10 ใบ  เราจะทาอย่างไร ต้Ȩบับ
  • 11.  วิธีที่ง่ายที่สุด น่าจะเป็นการถ่ายเอกสาร จาก ต้Ȩบับนัน้  ดังนัน้สิ่งที่เราต้องใช้ในการถ่ายเอกสาร ก็คือ  ต้Ȩบับ  กระดาษจานวน 10 แผ่น เพื่อใช้ถ่ายสาเนา ลองตอบดูครับ ถ่ายเอกสาร ต้Ȩบับ กระดาษเพื่อใช้ถ่ายสาเนา จานวน 10 แผ่น
  • 12. สิ่งที่ได้คือ  สาเนาจากต้Ȩบับ จานวน 9 แผ่น (เสียไป 1 แผ่น)  สาเนาที่ด้อยคุณภาพลง เนื่องจากมีการผ่านขบวนการใน การสร้างภาพ ที่ด้อยคุณภาพ ต้Ȩบับ สาเนา
  • 13. ลองมาเจาะลึกปัญหาและอุปสรรคกัน ต้Ȩบับ สาเนา  ความคมชัดที่น้อยลงจากต้Ȩบับ  สีที่แตกต่างไปจากต้Ȩบับ  ภาพบางส่วนขาดหายไป เนื่องจากข้อจากัดบางอย่างของขบวนการพิมพ์ เช่น ระยะเว้นขอบกระดาษที่ไม่สามารถพิมพ์ได้  จานวนสาเนาที่ได้ออกมา ไม่ครบกับจานวนที่ต้องการ เนื่องจากมีความเสียหาย ระหว่างการพิมพ์ ความคมชัด ที่ด้อยลงจาก ขบวนการพิมพ์ ภาพที่ขาดหายไป จากระยะเว้น ขอบกระดาษ สีที่แตกต่างไปจาก ต้Ȩบับ
  • 14. มาหาวิธีแก้ปัญหากันดีกว่า ต้Ȩบับ สาเนา  ความคมชัดที่น้อยลงจากต้Ȩบับ  สีที่แตกต่างไปจากต้Ȩบับ  ภาพบางส่วนขาดหายไป เนื่องจากข้อจากัดบางอย่างของขบวนการพิมพ์ เช่น ระยะเว้นขอบกระดาษที่ไม่สามารถพิมพ์ได้  จานวนสาเนาที่ได้ออกมา ไม่ครบกับจานวนที่ต้องการ เนื่องจากมีความเสียหาย ระหว่างการพิมพ์ ความคมชัด ที่ด้อยลงจาก ขบวนการพิมพ์ ภาพที่ขาดหายไป จากระยะเว้น ขอบกระดาษ สีที่แตกต่างไปจาก ต้Ȩบับ
  • 15. ปัญหา : ความคมชัดของภาพที่ได้ สงั่พิมพ์ ไฟล์อาร์ตเวิร์ค (ต้Ȩบับ) งานที่สงั่พิมพ์  เปลี่ยนจากวิธีการถ่ายเอกสาร มาเป็นวิธีการสงั่พิมพ์โดยตรงจากไฟล์ต้Ȩบับบน เครื่องคอมพิวเตอร์  งานที่ได้ออกมาก็จะเทียบเท่ากับต้Ȩบับ (หรือใกล้เคียงกันมาก)  เราเรียกวิธีการนีว้่า การพิมพ์แบบดิจิตอล (Digital Print หรือ Digital Offset)
  • 16. ปัญหา : ระยะเว้นของขอบกระดาษ สงั่พิมพ์ ไฟล์อาร์ตเวิร์ค (ต้Ȩบับ) งานที่สงั่พิมพ์  เนื่องจากเครื่องพิมพ์ส่วนใหญ่ จาเป็นต้องมีระยะเว้นของขอบกระดาษ ซงึ่ทาให้งานที่ออกมานัน้ ถูกเว้นขอบขาวโดยรอบไว้นัน้ ทาให้ขนาดงานที่ถ่ายสาเนาออกมาเล็กกว่าขนาดต้Ȩบับ  วิธีการแก้ไข คือ ขยายขนาดของกระดาษที่จะใช้พิมพ์ ให้ใหญ่ขึน้  สมมุติว่า เราต้องการพิมพ์งานขนาด A4 โดยมีภาพอยู่เต็มพืน้ที่ของกระดาษ เราก็แก้ไขปัญหา โดยการใช้ขนาดกระดาษที่ใหญ่กว่ากระดาษขนาด A4  กระดาษ A4 ขนาด 21 X 29.7 ซม. เราก็จะใช้กระดาษที่ใหญ่กว่า A4 เช่น 22 X 30.7 ซม.
  • 17. ปัญหา : การตัดกระดาษ สงั่พิมพ์ ไฟล์อาร์ตเวิร์ค (ต้Ȩบับ) งานที่สงั่พิมพ์  หลังจากที่ได้งานพิมพ์ที่มีขนาดเต็มหน้ากระดาษแล้ว  เราก็จะนางานมาตัด หากว่าเราตัดด้วยมือ เราก็จะสามารถมอง ตัดแบบ แผ่นต่อแผ่น  สิ่งที่จะเกิดขึน้ก็จะเป็นไปตามภาพต่อไปนะครับ
  • 18. ปัญหา : การตัดโดยใช้คัทเตอร์ด้วยมือ การตัดโดยใช้มือ และคัทเตอร์  ผมสร้างภาพสมมุติการตัดด้วยมือ และปัญหาที่เรามักจะเจอะกัน ก็คือว่า ตัดแล้วไม่ตรงกับขอบของภาพพอดี  ก็เลยทาให้เราเกิดเป็นช่องสีขาว ตามขอบภาพด้วยเช่นกัน
  • 19. แก้ปัญหาการตัด ด้วยการขยายตัดตก การขยายพืน้ที่ของภาพ หรือกราฟฟิค เพื่อให้เลย ตาแหน่งการตัดออกไป เราเรียกว่า “การทาตัดตก”  สิ่งที่เราทาคือ ขยายขนาดภาพหรือกราฟฟิคที่จะต้องพิมพ์ตรงตาแหน่งการตัด ให้ใหญ่ขึน้ หรือยืด พืน้ที่ของภาพให้กว้างขึน้ (โดยไม่ต้องให้ภาพใหญ่ขึน้ก็ได้) เลยออกไปนอกพืน้ที่การตัด  ผลที่ได้คือ หากวา่มีการตัดไม่ตรง พืน้ที่ในส่วนตัดตก ก็จะช่วยทาให้ไม่เห็นสีขาวที่ขอบกระดาษ
  • 20. การทาตัดตก 3 มม. จากขนาดงานจริง ขนาดตัดตกที่เหมาะสม คือ 3 มม.  ขนาดของพืน้ที่ตัดตกที่เหมาะสมก็คือด้านละ 3 มม. (ทุกด้าน)  โดย 3 มม. เริ่มจากตาแหน่งตัดจริง หรือขนาดงานออกไปทุกด้าน
  • 21. มาร์คตัด (สิ่งที่จะบอกตาแหน่งตัด)  มาร์คตัด คือเส้นสาหรับบอกตาแหน่งการตัดกระดาษ  โดยมาร์คตัดตามภาพด้านบน แสดงตาแหน่งการตัดจริง และตาแหน่งตัดตก  โดยจะมีระยะห่างเท่ากับระยะตัดตก ตามที่เรากาหนด ปกติระยะตัดตกจะมีขนาดประมาณ 3 มม.  มาร์คตัดนัน้จะต้องใช้พืน้ที่กระดาษมากขึน้ เพื่อให้สามารถแสดงมาร์คตัดให้อยู่นอกระยะตัดตก
  • 22. มาร์คพิมพ์ หรือ Registration Mark  มาร์คพิมพ์คือสัญลักษณ์เพื่อแสดงการทับซ้อนของสีในการพิมพ์  เพื่อให้เราหรือช่างพิมพ์ได้ทราบตาแหน่งการทับซ้อนของสีในการพิมพ์  รายละเอียดจะอธิบายอีกครัง้ในเรื่องขบวนการพิมพ์ออฟเซ็ท
  • 23. สรุป  ตัดตก คือ พืน้ที่ที่เพิ่มขึน้จากขนาดงานจริง เพื่อใช้เป็นพืน้ที่ให้กับความ คลาดเคลื่อนในการตัด ไม่ว่าจะเป็นการตัดด้วยมือ หรือการตัดด้วยเครื่อง ตัดกระดาษ