ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
กลุ่มงานวิจัยด้านเทคโนโลยีการปรับตัว! 
ของระบบการผลิตྺ้าวภาค๶หนือตอȨน 
ศูนย์วิจัยข้าวแพร่ 
ศูนย์วิจัยข้าวเชียงราย 
ศูนย์วิจัยข้าวแม่ฮ่องสอน 
ศูนย์วิจัยข้าวสะเมิง 
ศูนย์วิจัยข้าวเชียงใหม่
สมาชิกในกลุ่ม 
๑. นายสุทธกานต์ ใจกาวิล ! ! ประธาน! 
๒. นางสาวนงนุช ประดิษฐ์! ! คณะทำงาน! 
๓. นางสาวศิริลักษณ์ ใจบุญทา !! คณะทำงาน! 
๔. นางสาวกัลยา บุญสง่า! ! คณะทำงาน! 
๕.นางสาวผกากานต์ ทองสมบุญ! คณะทำงาน! 
๖. นายประภาส จักรบุตร! ! คณะทำงาน! 
๗. นางสาวพิชญ์นันท์ กังแฮ! ! เลขานุการ 
2
ประโยชน์ที่ได้รับจากการฝึกอบรมและข้อเสนอแนะ 
๑. ความเข้าใจข้อมูลด้านเขตศักยภาพที่กรมการข้าวมี 
อยู่ในฐานข้อมูล! 
- ได้เรียนรู้วิธีการใช้ข้อมูลเขตข้าวไทย รุ่นที่ 1 และ 2! 
! ทำให้สามารถสืบค้นข้อมูลการผลิตข้าวในแต่ละพื้นที่ 
ได้ เช่น พันธุ์ข้าว ผลผลิตข้าว เขตความเหมาะสม และ 
เขตเกษตรเศรษฐกิจข้าวไทย! 
- ได้เรียนรู้วิธีการทำข้อมูลการปลูกข้าวรายแปลงจาก 
โปรแกรม ArcGIS และ GoogleEarth 
3
ประโยชน์ที่ได้รับจากการฝึกอบรมและข้อเสนอแนะ 
๒. การนำฐานข้อมูลเขตข้าวไทยไปใช้ประโยชน์! 
- ใช้ตอบคำถามเกี่ยวกับพื้นที่การปลูกข้าว! 
- สามารถนำข้อมูลไปปรับใช้ในพื้นที่เพื่อยกระดับ 
ผลผลิตข้าว! 
- สามารถนำไปใช้การจัดทำฐานข้อมูลรายแปลงข้าวได้! 
- สามารถประยุกต์ใช้ในงานการพยากรณ์เตือนภัยการ 
ระบาดของโรคและแมลงศัตรูข้าว! 
4
ประโยชน์ที่ได้รับจากการฝึกอบรมและข้อเสนอแนะ 
๓. ความถูกต้องและแนวทางการปรับปรุงข้อมูลเขตข้าวไทย! 
- ควรมีการอัพเดตข้อมูลในระดับรายแปลงและให้เป็น 
ปัจจุบัน! 
- ควรปรับปรุงให้สามารถนำข้อมูลออกมาใช้งานได้ง่าย เช่น 
รูปแบบรายงาน (word หรือ pdf) ระบบการสืบค้น และ 
ระบบดาวน์โหลด! 
-พัฒนาเป็น Application บนโทรศัพท์ให้เจ้าหน้าที่ในการ 
ทำงาน และผู้สนใจสามารถสืบค้นได้ง่าย 
5
งานที่จะดำเนินการต่อไปในพื้นที่รับผิดชอบ 
๑. ด้านงานวิจัย! 
- นำข้อมูลมาวิจัยเพื่อแก้ปัญหาต้นทุนการผลิตและเพิ่ม 
ประสิทธิภาพการผลิตข้าวในพื้นที่ เช่น การใช้พันธุ์ข้าว การ 
ใส่ปุ๋ย และการป้องกันกำจัดโรคและแมลง! 
- นำข้อมูลไปประยุกต์ใช้ข้อมูลในด้านพยากรณ์การเตือนภัย 
โรคและแมลง เช่น การเตือนภัยในพื้นที่ที่ปลูกพันธุ์ข้าว 
อ่อนแอต่อโรคและแมลงระบาด 
6
งานที่จะดำเนินการต่อไปในพื้นที่รับผิดชอบ 
๒. ด้านนโยบาย! 
- ให้คำแนะนำในพื้นที่เกี่ยวกับเรื่องข้าว เช่น การใช้พันธุ์ข้าว 
การใส่ปุ๋ย การป้องกันการจำกัดโรคแมลง และอื่นๆ! 
- ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพและลดต้นทุนการผลิตข้าวในพื้นที่ S1 
และ S2! 
- หาแนวทางในการแก้ปัญหาในพื้นที่ S3 และ N ในระดับ 
พื้นที่! 
! 
7
งานที่จะดำเนินการต่อไปในพื้นที่รับผิดชอบ 
๓. ด้านการสนับสนุนข้อมูลในพื้นที่ (ข้าวจังหวัด) 
- จัดทำฐานข้อมูลการผลิตข้าวเฉพาะพื้นที่ เช่น ข้าวพันธุ์ 
พื้นเมือง ข้าวไร่ ข้าวนาที่สูง ข้าวนาขั้นบันได ข้าวญี่ปุ่น 
ข้าวอินทรีย์ และข้าวสาลี! 
- เชื่อมโยงข้อมูลด้านอื่นๆ เช่น โครงการอันเนื่องมาจาก 
พระราชดำริ และโครงการหลวง! 
- ร่วมกับหน่วยงานอื่นๆ เพิ่มเติมข้อมูล เช่น เกษตร 
จังหวัด พัฒนาที่ดิน ชลประทาน และอื่นๆ 
8
9 
ปัญหาและอุปสรรค
10 
จบการนำเสนอ

More Related Content

ระบบการผลิตྺ้าวภาค๶หนือตอȨน