ݺߣ
Submit Search
แสงและทัศนอุปกรณ์ สี
•
Download as PPTX, PDF
•
0 likes
•
2,270 views
Coke Chanchit
Follow
1 of 9
Download now
Downloaded 27 times
More Related Content
แสงและทัศนอุปกรณ์ สี
1.
แสงและทัศนอุปกรณ์
2.
สี เมื่อให้แสงสีขาวซึ่งประกอบด้วยแสงหลายสีตกกระทบแผ่นพลาสติกใสจะเป็นสี ใดก็ตามก็จะเห็นพลาสติกใสเป็นสีนั้น แต่ถ้าใช้ปริซึมสามเหลี่ยมกระจายแสงผ่านแผ่น พลาสติกใสสีต่างๆ จะพบว่ามีแสงสีอื่นทะลุผ่านไปบ้างแต่แสงบางสีจะถูกดูดกลืนไว้
เช่น ถ้าใช้แผ่นพลาสติกใสสีแดงกั้นจะเห็นเป็นแถบสีแดง ซึ่งอาจมีสีส้มปน ส่วนแสงสีม่วง สี น้าเงิน สีเขียว จะถูกกลืน โดยปริมาณของแสงสีแดงที ออกมาจะมากที่สุด เราจึงเห็นแผ่น พลาสติกมีสีแดง
3.
จากการให้แสงตกกระทบวัตถุ จะพบว่าเราอาจแบ่งชนิดวัตถุตามปริมาณ และลักษณะที่แสงผ่านวัตถุดังนี้ 1.วัตถุโปร่งแสง หมายถึง
วัตถุที่ให้แสงผ่านไปได้อย่างไม่เป็นระเบียบดังนั้น เราจึงไม่สามารถมอง ผ่านวัตถุนี้ได้ชัดเจน ตัวอย่างวัตถุชนิดนี้ได้แก่ น้าขุ่น กระจกฝ้า และกระดาษชุบไข 2.วัตถุโปร่งใส หมายถึง วัตถุที่ให้แสงผ่านไปได้เกือบทั้งหมดอย่างเป็นระเบียบเราจึงสามารถมอง ผ่านวัตถุนี้ได้ชัดเจน ตัวอย่างวัตถุชนิดนี้ได้แก่ กระจกใส และแก้วใส เป็นต้น 3.วัตถุทึบแสง หมายถึง วัตถุที่ไม่ให้แสงผ่านเลย แสงทั้งหมดจะถูกดูดกลืนไว้หรือสะท้อนกลับ เราจึง ไม่สามารถมองผ่านวัตถุชนิดนี้ได้ตัวอย่างขงวัตถุชนิดนี้ได้แก่ ไม้ผนังตึก และกรจกเงา
4.
กระบวนการผสมสี (Additive process) กระบวนการเกิดสีโดยการผสมแสงสีต่าง
ๆ เข้าด้วยกัน ลาแสงของสีปฐมภูมิซึ่งได้แก่ สีแดง สีเขียว และสีน้าเงิน สามารถผสม กันเพื่อให้ได้สีอื่นดังแสดงในภาพ กระบวนการนี้เราเรียกว่า การผสมแสงสี ตัวอย่างเช่น สีแดง รวมกับสีเขียว จะให้สีเหลือง ในขณะที่สีทั้งสาม (แดง เขียว น้าเงิน) ผสมกันจะให้สีขาว สีเฉดเช่นสีชมพูหรือสีน้าตาล มีสีปฐมภูมิทั้งสามปนอยู่ในระดับ ต่าง ๆ กัน จอโทรทัศน์สีมีจุดเล็ก ๆ นับพัน ๆ จุด หรือแถบนับพัน ๆ แถบ ที่จะสว่าง ขึ้นเป็นสีแดง สีเขียว และสีน้าเงิน นัยน์ตาของเราจะผสมสีเหล่านี้จนเรามองเห็นภาพ ได้ครบถ้วนทุกสี
5.
สีของวัตถุ สีของวัตถุที่มองเห็นแสดงได้ด้วยสมบัติ 3 อย่าง
คือ ก. ฮิว(Hue) คือ แถบแสงสีแต่ละแสงสีในสเปคตรัม เช่น แถบแสงสีแดง สีส้ม สี เหลือง สีเขียว สีน้าเงิน และสีม่วง ข. ความสว่างของแสงสี (Lightness) คือปริมาณแสงสะท้อนออกจากแถบแสงสีแต่ จะแสงสี ทาให้เกิดความรู้สึกว่ามีแสงผ่านเข้าตามากหรือน้อย ค. ความอิ่มตัวของสี (Color Saturation) คือจานวนหรือขนาดที่บอกให้ทราบว่าแถบ สีนั้น อยู่ห่างจากที่ไม่มีสี (Achromatic Color) สีที่อิ่มตัวคือสีที่ไม่มีสีขาวปนอยู่เลย เช่น สีแดง สีน้าเงิน เขียว ส่วนสีที่มีสีขาวปนมากเท่าใด ความอิ่มตัวก็ยิ่งน้อยลงเท่านั้น เรียกว่า สีไม่อิ่มตัว เช่น สีชมพู สีฟ้า เทา เป็นต้น
6.
การมองเห็นสี (Color Vision) ในปี
ค.ศ. 1801 Thomas Young ได้กล่าวว่าการผสมสีของแสงจะทา ให้เกิดความรู้สึกในการเห็นแสงสีใหม่ โดยสามารถเห็นได้เพราะนัยน์ตามี เซลล์ประสาทรับแสงสี (Cones) 3 ชุด คือชุดที่มีความไวสูงสุดกับแสงสีแดง ชุดที่มีความไวสูงสุดกับแสงสีเขียว และชุดที่มีความไวสูงสุดกับแสงสีน้า เงิน เซลล์ประสาทรับแสงสีทั้ง 3 ชุดนี้ จะมีความไวต่อแถบแสงสีใน สเปคตรัมที่ตามองเห็นได้แสงสีแดง แสงสีน้าเงิน และแสงสีเขียว เรียกว่า เป็น แม่สี หรือ สีปฐมภูม (primary Color) ซึ่งถือว่าเป็นแสงสีบริสุทธิ์ ที่ไม่ สามารถจะแยกออกเป็นแสงสีอื่น ๆ ได้
7.
(กระบวนการเกิดสีโดยการผสมแสง) การผสมแสงสี เมื่อฉายแสงสีแดง สีเขียว และสีน้าเงิน
ซึ่งเป็นสีปฐมภูมิไป รวมกันบนฉากขาว ความรู้สึกในการมองเห็นสีบนฉากจะผสม กัน ทาให้เห็นเป็นสีต่าง ๆ ดังนี้ • แสงสีแดง + แสงสีน้าเงิน= แสงสีม่วงแดง (Magenta) • แสงสีแดง + แสงสีเขียว = แสงสีเหลือง (Yellow or lemon) • แสงสีน้าเงิน + แสงสีเขียว = แสงสีไซแอนหรือน้าเงิน-เขียว (Cyan or Blue-Green) • แสงสีแดง + แสงสีน้าเงิน+ แสงสีเขียว = แสงสีขาว(White) ส่วนสีสองสีที่รวมกันแล้วได้สีขาว สีทั้งสองเป็นสีเติมเต็ม (complementary colors) ของกันและกัน เช่น สีเหลือง เป็นสีเติม เต็มของสีน้าเงินและในขณะเดียวกันสีน้าเงินก็เป็นสีเติมเต็มของ สีเหลืองด้วย
8.
จัดทาโดย นาย จีรพันธ์ จันจิต
NO.30 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/4 เสนอ อ.สุรเชษฐ์ แสงอาทิตย์
Download