ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสȨทศกับการศึกษา
การนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์กับการศึกษานั้นมีการนามาใช้กับระบบ
การศึกษาของไทยมาเป็นระยะเวลาหลายปีแล้ว เทคโนโลยีทางการศึกษาได้มี
การพัฒนาขึ้นอย่างต่อเนื่องและมีรูปแบบที่ส่งเสริมให้เกิดสภาพการเรียนรู้แบบ
ใหม่ที่ทาให้ผู้เรียนได้มีช้องทางการเรียนรู้เพิ่มมากขึ้น
1. e-Learning
การพัฒนาการศึกษาโดยทาเทคโนโลยีสารสนเทศเข้าประยุกต์เพื่อให้เกิดรูปแบบ
การศึกษาแบบใหม่ที่สามารถรองรับรูปแบบการศึกษาด้วยตนเองการศึกษา
ตลอดชีวิต การนาคอมพิวเตอร์และเครือข่ายการสื่อสารโดยเฉพาะอินเทอร์เน็ต
มาเป็นตัวช่วยในการเพิ่มความสะดวกสบายในการเรียนรู้ การวัดผล และการจัด
การศึกษาเพื่อทดแทนหรือสนับสนุนการศึกษาแบบเดิม
e-Learning ย่อมาจากคาว่า electronic(s) learning เป็นการเรียนรู้ทาง
อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งรวมถึงการเรียนรู้ทางคอมพิวเตอร์หรือการเรียนโดยใช้
คอมพิวเตอร์ด้วย (computer learning) เพื่อช่วยในการสอนแทนรูปแบบเดิม
โดยสามารถใช้เทคโนโลยีอื่นๆ มาสนับสนุนด้วย เช่น วิดีโอ ซีดีรอม สัญญาณ
ดาวเทียม เครือข่ายคอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต รูปแบบของการเรียนรู้
ทางอิเล็กทรอนิกส์ ส่วนมากจะเป็นการเรียนแบบออนไลน์ ซึ่งทาให้สามารถ
โต้ตอบกันได้เสมือนการเรียนในชั้นเรียนปกติได้ การปรับปรุงเนื้อหาความรู้ให้
ทันสมัย การนาเสนอด้วยสื่อมัลติมีเดียทาให้การเรียนการสอนแบบการเรียนรู้
ทางอิเล็กทรอนิกส์มีความน้าสนใจมากขึ้น
ตัวแบบการเรียนรู้ทางอิเล็กทรอนิกส์แบบผสมผสาน (A hybrid e-Learning
model) (Tsai, 2011, p.147) ประกอบด้วย โปรแกรมประยุกต์ส่วนต่างๆ ดังนี้
1) e-leaning map การเรียนโดยการออกแบบแผนที่การเรียนเฉพาะ
บุคคลซึ่งใช้ข้อมูลจากการทดสอบเบื้องต้น
2) on-line e-learning มี 2 ตัวเลือก คือ การถ่ายทอดสด กับ การถ่าย
ข้อมูลลงแบบออนไลน์
3) e-learning group ทรัพยากรในชุมชนการเรียนรู้ แลกเปลี่ยนกันได้
โดยใช้เครื่องแม่ข่ายของกลุ่มข่าว เป็นการสื่อสารระหว่างผู้สอนกับผู้เรียนในการ
ปฏิสัมพันธ์หรือแลกเปลี่ยนข่าวสารได้ทั้งภาพและเสียง
4) e-comprehension กระบวนการเรียนรู้ผ่านการสร่างสถานการณ์
กรณีศึกษา โดยใช้ข้อความหลายมิติ เว็บไซต์ มัลติมีเดีย
คาถาม และอื่นๆ
5) e-illustration การใช้ภาพประกอบ แผนภาพ และมัลติมีเดีย เพื่อ
เป็นการยกตัวอย่าง ประกอบการอธิบายให้ชัดเจน
6) e-workgroup แบ่งผู้เรียนออกเป็นกลุ่มต่างๆ และจัดกิจกรรมทั้ง
ภายในและระหว่างกลุ่ม เพื่อให้ได้ผลการเรียนรู้ร่วมกัน
2. มัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้
มัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้ หมายถึง การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ถ่ายทอด
ถ่ายทอดหรือนาเสนอเนื้อหาและกิจกรรมการเรียนการสอน ที่บูรณาการหรือ
ผสมผสานสื่อหลากหลายรูปแบบ (Multiple forms) เข้าไว้ด้วยกัน ได้แก่ ข้อความ
ข้อความ กราฟิก ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง วีดิทัศน์ หรือรูปแบบอื่นๆ ที่
นอกเหนือจากข้อความเพียงอย่างเดียว โดยมีเป้ าหมายเพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้เกิด
เกิดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพต่อผู้เรียน (ณัฐกร สงคราม, 2553)
หลักการออกแบบเนื้อหา ประกอบด้วย 3 ส่วน ได้แก่
1) การเตรียมเนื้อหา
ประกอบด้วย การวางโครงสร่างของเนื้อหา การคัดเลือกเนื้อหาที่จะนาเสนอ การ
เรียงลาดับหัวข้อเนื้อหา และการใช้ภาษาให้เหมาะสม
2) การออกแบบเนื้อหาประเภทต่างๆ
ประกอบด้วย การสร่างเนื้อหาด้านความรู้ ความจา ความเข้าใจ การสร่างเนื้อหา
ด้านทักษะและการปฏิบัติ การสร่างเนื้อหาด้านทัศนคติ
3) การออกแบบข้อคาถามสาหรับการประเมิน
ประกอบด้วย การสร่างแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน การสร่างแบบฝึกหัด
การสร่างคาถามที่ใช้ในบทเรียน
หลักการออกแบบการเรียนการสอน (Gagne, 19921 อ้างใน ณัฐกร สงคราม,
2553) นาเสนอตามขั้นตอนกระบวนการเรียนการสอนได้ 9 ขั้น ดังนี้
1) การกระตุ้นหรือเร่าความสนใจให้พร่อมในการเรียน
2) การแจ้งวัตถุประสงค์ของการเรียน
3) การทบทวนและกระตุ้นให้ระลึกถึงความรู้เดิม
4) การนาเสนอสิ่งเร่าหรือเนื้อหาและความรู้ใหม่
5) การแนะแนวทางการเรียนรู้
6) การกระตุ้นการตอบสนองหรือแสดงความสามารถ
7) การให้ข้อมูลป้ อนกลับ
8) การทดสอบความรู้หรือการประเมินผลการแสดงออก
9) การส่งเสริมความจาหรือความคงทน และการนาไปใช้หรือการถ่ายโอนการ
เรียนรู้
3. Virtual Classroom
ห้องเรียนเสมือนเป็นห้องเรียนที่สามารถรองรับชั้นเรียนได้ในเวลาและสถานที่ซึ่ง
ผู้เรียนกับผู้สอนไม่ได้อยู่ร่วมกันในสถานที่เดียวกัน โดยมีคุณลักษณะคือ การ
สนับสนุนการประเมินผลและการเข้ามีส่วนร่วมในการสื่อสารด้วยเครื่องมือต่างๆ
ทั้งปฏิทินออนไลน์ โปรแกรมค้นหา และคาแนะนาออนไลน์ สาหรับการ
ประเมินผลประกอบด้วย เครื่องมือมาตรฐาน สมุดเกรดออนไลน์ ข้อสอบและ
คาถาม การติดต่อกับผู้สอนสามารถทาได้ผ่านทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์
ข้อความทันที
4. Mobile Technology
ในปัจจุบันอุปกรณ์โทรศัพท์เคลื่อนที่ถูกออกแบบมาให้สามารถรองรับทั้งการรับ-
ส่งข้อมูลด้วยเสียงและข้อความ โดยกาจัดข้อจากัดด้านความสามารถของการส่ง
เนื้อหาที่เป็นวิดีโอได้ โดยเฉพาะการเข้าถึงอุปกรณ์อื่นๆ ที่สามารถนามาเชื่อมต่อ
ได้ทั้งเทคโนโลยีภาพเคลื่อนไหว เสียง ภาพลักษณ์ต่างๆ สามารถแปลงเข้าสู่
อุปกรณ์โทรศัพท์เคลื่อนที่ได้ แนวโน้มของสังคมที่ต้องการเข้าสู่เครือข่าย
อินเทอร์เน็ตได้ผ่านทางโทรศัพท์เคลื่อนที่นั้นมีมากขึ้น เช่นเดียวกับการเรียนรู้ทาง
อิเล็กทรอนิกส์ก็ไม่ได้จากัดอยู่เพียงในเครื่องคอมพิวเตอร์อีกต่อไป
โทรศัพท์เคลื่อนที่ก็กลายมาเป็นสภาพแวดล้อมที่สาคัญอีกแห่งหนึ่งของการ
เรียนรู้ทางอิเล็กทรอนิกส์

More Related Content

การประยุกต์เทคโนโลยีสารสȨทศกับการศึกษา