ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
บุบผา
ตรงกับวัน ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 3 หรือ ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 4 ในปีอธิกมำส
วันมาฆบูชา
เป็นวันสาคัญทางพระพุทธศาสนา ด้วยเหตุกำรณ์สำคัญที่เกิดขึ้นเมื่อ 2,500 กว่ำปี วันมำฆบูชำจึงเป็น
วันที่สำคัญมำกวันหนึ่งของพระพุทธศำสนำ
เหตุที่พุทธศำสนิกชนถือว่ำ "วันมาฆบูชา" เป็นวันสำคัญทำงพุทธศำสนำเพรำะมีเหตุกำรณ์พิเศษ
ที่มำบรรจบกัน 4 ประกำร หรือที่เรำรู้จักกันดีว่ำ "จำตุรงคสันนิบำต" อันเป็นประดุจกำรปฐมนิเทศใน
กำรเผยแผ่พระพุทธศำสนำอย่ำงเป็นทำงกำรนั่นเอง ซึ่งถือว่ำเป็นปรำกฏกำรณ์มหัศจรรย์ที่โลกต้องจำรึก
เพรำะเป็นกำรประชุมของผู้บริสุทธิ์ล้วนๆ และเป็นครั้งแรกที่มีกำรประขุมเพื่อรับฟังทิศทำงกำรเผยแผ่
พระพุทธศำสนำให้เป็นไปในทิศทำงเดียวกัน
เหตุอัศจรรย์ในวันมาฆบูชา 4 ประการ
1. เป็นวันเพ็ญขึ้น 15 ค่ำ ดวงจันทร์เสวยมำฆฤกษ์(วันเพ็ญเดือน 3 )
2. พระภิกษุ 1,250 รูป มำประชุมโดยมิได้นัดหมำย
3.ภิกษุเหล่ำนั้นเป็นพระอรหันต์ผู้ได้อภิญญำ 6 ทั้งหมด ไม่มีภิกษุผู้เป็นปุถุชนหรือพระโสดำบัน
พระสกทำคำมี พระอนำคำมีแม้สักรูปเดียวมำประชุมในครั้งนี้
4.พระภิกษุทั้งหมดเป็นผู้ที่ได้รับกำรบวชแบบเอหิภิกขุอุปสัมปทำ ซึ่งพระบรมศำสดำทรงประทำน
กำรบวชให้
วันวิสาขบูชา : ประสูติ - ตรัสรู้ - ปรินิพพาน
ตรงกับวัน ขึ้น 15 ค่า เดือน 6
วันวิสาขบูชา ตรงกับวันเพ็ญขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6 หรือรำวเดือนพฤษภำคมแต่หำกตรงกับปี
อธิกมำส คือ มีเดือน 8 สองหน วันวิสำขบูชำจะเลื่อนไปเป็นวันขึ้น 15 ค่ำ กลำงเดือน 7 หรือรำว
เดือนมิถุนำยน
วิสาขบูชา ย่อมำจำกคำว่ำ“วิสาขปุรณมีบูชา”แปลว่ำ กำรบูชำพระในวันเพ็ญเดือนวิสำขะ
(คือเดือน 6) ซึ่งมีเหตุกำรณ์สำคัญเกิดขึ้น 3 ประกำร ในวันวิสำขบูชำ ดังนี้
1. เป็นวันประสูติ นับเป็นวันที่รูปกำยของพระสัมมำสัมพุทธเจ้ำได้อุบัติขึ้นบนผืนโลก ณ
ลุมพินีสถำน เมื่อวันเพ็ญเดือน 6 ตรงกับวันศุกร์ขึ้น 15 ค่ำ ก่อนพุทธศักรำช80 ปี พระนำงสิริมหำ
มำยำ
พระมเหสีของพระเจ้ำสุทโธทนะ แห่งกรุงกบิลพัสดุ์ ได้ประสูติพระโอรสณ ใต้ต้นสำละนั้น ครั้น
พระกุมำรประสูติได้5 วัน ก็ได้รับกำรถวำยพระนำมว่ำ"สิทธัตถะ"
2. เป็นวันที่พระสัมมำสัมพุทธเจ้ำตรัสรู้ อนุตตรสัมโพธิญำณ ณ ร่มต้นอัสสัตถพฤกษ์หรือต้น
พระศรีมหำโพธิ ริมฝั่งแม่น้ำเนรัญชรำ พระมหำบุรุษได้ทรงบรรลุสัพพัญญุตญำณ
3. เป็นวันปรินิพพำนของพระสัมมำสัมพุทธเจ้ำ ก่อนพุทธศักรำช1 ปี ณ ป่ำสำลวัน เมืองกุสิ
นำรำ
วันอาสาฬหบูชา
พระพุทธเจ้าทรงประกาศพระพุทธศาสนา
ตรงกับวัน ขึ้น 15 ค่า เดือน 8
วันอาสาฬหบูชา
เป็นวันสำคัญวันหนึ่งของพระพุทธศำสนำ ตรงกับวันเพ็ญขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8 ในสมัยพุทธกำลมี
เหตุกำรณ์สำคัญเกิดขึ้น 4 ประกำร ดังต่อไปนี้
1. เป็นวันที่พระบรมศำสดำทรงแสดงพระธรรมเทศนำเป็นครั้งแรก แก่ปัญจวัคคีย์ทั้ง 5 รูป ที่
ป่ำอิสิปตนมฤคทำยวัน ใกล้เมืองพำรำณสี
2. เป็นวันที่พระบรมศำสดำทรงได้พระสำวกองค์แรกคือ ท่ำนโกญฑัญญะได้บรรลุธรรม
เป็นพระโสดำบันองค์แรก
3. เป็นวันที่มีพระสงฆ์เกิดขึ้นเป็นรูปแรก คือ พระอัญญำโกญฑัญญะ ภำยหลังจำกที่ได้บรรลุ
ธรรมเป็นพระโสดำบันแล้ว ก็ได้ทูลขออุปสมบท พระพุทธองค์ทรงประทำนกำรอุปสมบท ยกขึ้น
เป็นพระภิกษุรูปแรกในพระพุทธศำสนำ
4. เป็นวันเกิดขึ้นของพระรัตนตรัย คือ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ครบเป็นครั้งแรก
โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งเมื่อมีพระสงฆ์เกิดขึ้นเป็นพยำนในกำรตรัสรู้ธรรม ควำมเป็นพระสัมมำสัม
พุทธเจ้ำของพระพุทธองค์ก็ครบถ้วนบริบูรณ์ คือ มิใช่เพียงแค่ตรัสรู้ธรรมเพียงพระองค์เดียวอย่ำง
พระปัจเจกพุทธเจ้ำ
เข้าพรรษา
ตรงกับวันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 จนถึง วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11
วันเข้าพรรษา
ในเรื่องความเป็นมาของการเข้าพรรษา ถ้าว่ากันตามประวัติย่อๆ คือ ในยุคต้น
พุทธกาล ก็ยังไม่มีการเข้าพรรษา เพราะฉะนั้นตลอดทั้งปี เมื่อพระภิกษุมีความเห็นว่า
ท่านควรจะไปเทศน์ ไปสอนญาติโยมที่ไหนได้ ท่านพอมีเวลา ท่านก็จะไป หรือไม่ได้ไป
เทศน์ไปสอนใคร ถ้าเห็นว่าที่ไหนมันเงียบ มันสงัดดี เหมาะในการที่จะไปบาเพ็ญ
ภาวนา ทาสมาธิ(Meditation)ของท่าน ท่านก็จะไป ซึ่งแน่นอน ส่วนมากก็จะอยู่
ในเขตที่เป็นป่าเป็นเขา ไกลๆออกไปจากตัวเมือง หรือว่าต้องผ่านไปในชนบทนั่นเอง
วันออกพรรษา
ตรงกับวัน ขึ้น 15 ค่า เดือน 11
วันออกพรรษา ตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 เป็นสำคัญวันหนึ่งของพระภิกษุสงฆ์คือ เป็นวัน
สิ้นสุดกำรจำพรรษำ หรือออกจำกพรรษำที่ได้อธิษฐำนเข้ำจำพรรษำตลอดระยะเวลำ 3 เดือน ในวัน
ออกพรรษำในพระไตรปิฎกกล่ำวไว้ว่ำ เป็นวันที่ พระสัมมำสัมพุทธเจ้ำเสด็จลงจำกสวรรค์ชั้นดำวดึงส์
มำยังโลกมนุษย์หลังจำกที่พระองค์ได้เสด็จไปจำพรรษำ และแสดงพระธรรมเทศนำโปรดเทพบุตร
พุทธมำรดำ ซึ่งอยู่สวรรค์ชั้นดุสิต แต่ลงมำฟังพระธรรมเทศนำที่ชั้นดำวดึงส์
วันออกพรรษำ หมำยถึงวันที่พ้นจำกข้อกำหนดทำงพระวินัยที่ต้องอยู่ประจำที่หรือในวัดแห่งเดียว
ตลอด 3 เดือน ในฤดูฝน กล่ำวคือ เมื่อพระภิกษุได้อธิษฐำนอยู่จำพรรษำในวันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 แล้ว
อยู่ประจำที่หรือวัดนั้นเรื่อยไป จนสิ้นสุดในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 หลังจำกวันออกพรรษำแล้วก็
สำมำรถจำริกไปค้ำงแรมที่อื่นได้
วันออกพรรษำ เรียกว่ำอย่ำงหนึ่งว่ำ “วันปวารณา” หรือ “วันมหาปวารณา” คือวันที่พระสงฆ์ทำ
ปวำรณำกรรม คือเปิดโอกำสให้เพื่อนพระภิกษุว่ำกล่ำวตักเตือนกันด้วยเมตตำจิตได้เมื่อได้เห็นได้ทั้ง
หรือสงสัยในพฤติกรรมของกันและกัน
วันโกน - วันพระ
วันโกน คือ วันขึ้น 7 ค่ำ กับ 14 ค่ำ และแรม 7 ค่ำ กับแรม 14 ค่ำ ของทุก เดือน ( หรือ
แรม 13 ค่ำ หำกตรง กับเดือนขำด ) ซึ่งเป็นวันก่อนวัน พระ 1 วัน นั่นเอง
วันพระ หรือ วันธรรมสวนะ คือ วันขึ้น 8ค่ำ กับ 15 ค่ำ และ แรม 8ค่ำ กับแรม 15ค่ำ
ของทุกเดือน(หำกตรงกับเดือนขำด อำจเป็น แรม 14 ค่ำ )
จัดทาโดย
นางสาวบุบผา ภูมิริน เลขที่ 2
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/3
โรงเรียนสอนแก้วว่องไววิทยา

More Related Content

บุบผา

  • 2. ตรงกับวัน ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 3 หรือ ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 4 ในปีอธิกมำส
  • 3. วันมาฆบูชา เป็นวันสาคัญทางพระพุทธศาสนา ด้วยเหตุกำรณ์สำคัญที่เกิดขึ้นเมื่อ 2,500 กว่ำปี วันมำฆบูชำจึงเป็น วันที่สำคัญมำกวันหนึ่งของพระพุทธศำสนำ เหตุที่พุทธศำสนิกชนถือว่ำ "วันมาฆบูชา" เป็นวันสำคัญทำงพุทธศำสนำเพรำะมีเหตุกำรณ์พิเศษ ที่มำบรรจบกัน 4 ประกำร หรือที่เรำรู้จักกันดีว่ำ "จำตุรงคสันนิบำต" อันเป็นประดุจกำรปฐมนิเทศใน กำรเผยแผ่พระพุทธศำสนำอย่ำงเป็นทำงกำรนั่นเอง ซึ่งถือว่ำเป็นปรำกฏกำรณ์มหัศจรรย์ที่โลกต้องจำรึก เพรำะเป็นกำรประชุมของผู้บริสุทธิ์ล้วนๆ และเป็นครั้งแรกที่มีกำรประขุมเพื่อรับฟังทิศทำงกำรเผยแผ่ พระพุทธศำสนำให้เป็นไปในทิศทำงเดียวกัน เหตุอัศจรรย์ในวันมาฆบูชา 4 ประการ 1. เป็นวันเพ็ญขึ้น 15 ค่ำ ดวงจันทร์เสวยมำฆฤกษ์(วันเพ็ญเดือน 3 ) 2. พระภิกษุ 1,250 รูป มำประชุมโดยมิได้นัดหมำย 3.ภิกษุเหล่ำนั้นเป็นพระอรหันต์ผู้ได้อภิญญำ 6 ทั้งหมด ไม่มีภิกษุผู้เป็นปุถุชนหรือพระโสดำบัน พระสกทำคำมี พระอนำคำมีแม้สักรูปเดียวมำประชุมในครั้งนี้ 4.พระภิกษุทั้งหมดเป็นผู้ที่ได้รับกำรบวชแบบเอหิภิกขุอุปสัมปทำ ซึ่งพระบรมศำสดำทรงประทำน กำรบวชให้
  • 4. วันวิสาขบูชา : ประสูติ - ตรัสรู้ - ปรินิพพาน ตรงกับวัน ขึ้น 15 ค่า เดือน 6
  • 5. วันวิสาขบูชา ตรงกับวันเพ็ญขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6 หรือรำวเดือนพฤษภำคมแต่หำกตรงกับปี อธิกมำส คือ มีเดือน 8 สองหน วันวิสำขบูชำจะเลื่อนไปเป็นวันขึ้น 15 ค่ำ กลำงเดือน 7 หรือรำว เดือนมิถุนำยน วิสาขบูชา ย่อมำจำกคำว่ำ“วิสาขปุรณมีบูชา”แปลว่ำ กำรบูชำพระในวันเพ็ญเดือนวิสำขะ (คือเดือน 6) ซึ่งมีเหตุกำรณ์สำคัญเกิดขึ้น 3 ประกำร ในวันวิสำขบูชำ ดังนี้ 1. เป็นวันประสูติ นับเป็นวันที่รูปกำยของพระสัมมำสัมพุทธเจ้ำได้อุบัติขึ้นบนผืนโลก ณ ลุมพินีสถำน เมื่อวันเพ็ญเดือน 6 ตรงกับวันศุกร์ขึ้น 15 ค่ำ ก่อนพุทธศักรำช80 ปี พระนำงสิริมหำ มำยำ พระมเหสีของพระเจ้ำสุทโธทนะ แห่งกรุงกบิลพัสดุ์ ได้ประสูติพระโอรสณ ใต้ต้นสำละนั้น ครั้น พระกุมำรประสูติได้5 วัน ก็ได้รับกำรถวำยพระนำมว่ำ"สิทธัตถะ" 2. เป็นวันที่พระสัมมำสัมพุทธเจ้ำตรัสรู้ อนุตตรสัมโพธิญำณ ณ ร่มต้นอัสสัตถพฤกษ์หรือต้น พระศรีมหำโพธิ ริมฝั่งแม่น้ำเนรัญชรำ พระมหำบุรุษได้ทรงบรรลุสัพพัญญุตญำณ 3. เป็นวันปรินิพพำนของพระสัมมำสัมพุทธเจ้ำ ก่อนพุทธศักรำช1 ปี ณ ป่ำสำลวัน เมืองกุสิ นำรำ
  • 7. วันอาสาฬหบูชา เป็นวันสำคัญวันหนึ่งของพระพุทธศำสนำ ตรงกับวันเพ็ญขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8 ในสมัยพุทธกำลมี เหตุกำรณ์สำคัญเกิดขึ้น 4 ประกำร ดังต่อไปนี้ 1. เป็นวันที่พระบรมศำสดำทรงแสดงพระธรรมเทศนำเป็นครั้งแรก แก่ปัญจวัคคีย์ทั้ง 5 รูป ที่ ป่ำอิสิปตนมฤคทำยวัน ใกล้เมืองพำรำณสี 2. เป็นวันที่พระบรมศำสดำทรงได้พระสำวกองค์แรกคือ ท่ำนโกญฑัญญะได้บรรลุธรรม เป็นพระโสดำบันองค์แรก 3. เป็นวันที่มีพระสงฆ์เกิดขึ้นเป็นรูปแรก คือ พระอัญญำโกญฑัญญะ ภำยหลังจำกที่ได้บรรลุ ธรรมเป็นพระโสดำบันแล้ว ก็ได้ทูลขออุปสมบท พระพุทธองค์ทรงประทำนกำรอุปสมบท ยกขึ้น เป็นพระภิกษุรูปแรกในพระพุทธศำสนำ 4. เป็นวันเกิดขึ้นของพระรัตนตรัย คือ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ครบเป็นครั้งแรก โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งเมื่อมีพระสงฆ์เกิดขึ้นเป็นพยำนในกำรตรัสรู้ธรรม ควำมเป็นพระสัมมำสัม พุทธเจ้ำของพระพุทธองค์ก็ครบถ้วนบริบูรณ์ คือ มิใช่เพียงแค่ตรัสรู้ธรรมเพียงพระองค์เดียวอย่ำง พระปัจเจกพุทธเจ้ำ
  • 8. เข้าพรรษา ตรงกับวันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 จนถึง วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11
  • 9. วันเข้าพรรษา ในเรื่องความเป็นมาของการเข้าพรรษา ถ้าว่ากันตามประวัติย่อๆ คือ ในยุคต้น พุทธกาล ก็ยังไม่มีการเข้าพรรษา เพราะฉะนั้นตลอดทั้งปี เมื่อพระภิกษุมีความเห็นว่า ท่านควรจะไปเทศน์ ไปสอนญาติโยมที่ไหนได้ ท่านพอมีเวลา ท่านก็จะไป หรือไม่ได้ไป เทศน์ไปสอนใคร ถ้าเห็นว่าที่ไหนมันเงียบ มันสงัดดี เหมาะในการที่จะไปบาเพ็ญ ภาวนา ทาสมาธิ(Meditation)ของท่าน ท่านก็จะไป ซึ่งแน่นอน ส่วนมากก็จะอยู่ ในเขตที่เป็นป่าเป็นเขา ไกลๆออกไปจากตัวเมือง หรือว่าต้องผ่านไปในชนบทนั่นเอง
  • 11. วันออกพรรษา ตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 เป็นสำคัญวันหนึ่งของพระภิกษุสงฆ์คือ เป็นวัน สิ้นสุดกำรจำพรรษำ หรือออกจำกพรรษำที่ได้อธิษฐำนเข้ำจำพรรษำตลอดระยะเวลำ 3 เดือน ในวัน ออกพรรษำในพระไตรปิฎกกล่ำวไว้ว่ำ เป็นวันที่ พระสัมมำสัมพุทธเจ้ำเสด็จลงจำกสวรรค์ชั้นดำวดึงส์ มำยังโลกมนุษย์หลังจำกที่พระองค์ได้เสด็จไปจำพรรษำ และแสดงพระธรรมเทศนำโปรดเทพบุตร พุทธมำรดำ ซึ่งอยู่สวรรค์ชั้นดุสิต แต่ลงมำฟังพระธรรมเทศนำที่ชั้นดำวดึงส์ วันออกพรรษำ หมำยถึงวันที่พ้นจำกข้อกำหนดทำงพระวินัยที่ต้องอยู่ประจำที่หรือในวัดแห่งเดียว ตลอด 3 เดือน ในฤดูฝน กล่ำวคือ เมื่อพระภิกษุได้อธิษฐำนอยู่จำพรรษำในวันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 แล้ว อยู่ประจำที่หรือวัดนั้นเรื่อยไป จนสิ้นสุดในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 หลังจำกวันออกพรรษำแล้วก็ สำมำรถจำริกไปค้ำงแรมที่อื่นได้ วันออกพรรษำ เรียกว่ำอย่ำงหนึ่งว่ำ “วันปวารณา” หรือ “วันมหาปวารณา” คือวันที่พระสงฆ์ทำ ปวำรณำกรรม คือเปิดโอกำสให้เพื่อนพระภิกษุว่ำกล่ำวตักเตือนกันด้วยเมตตำจิตได้เมื่อได้เห็นได้ทั้ง หรือสงสัยในพฤติกรรมของกันและกัน
  • 13. วันโกน คือ วันขึ้น 7 ค่ำ กับ 14 ค่ำ และแรม 7 ค่ำ กับแรม 14 ค่ำ ของทุก เดือน ( หรือ แรม 13 ค่ำ หำกตรง กับเดือนขำด ) ซึ่งเป็นวันก่อนวัน พระ 1 วัน นั่นเอง วันพระ หรือ วันธรรมสวนะ คือ วันขึ้น 8ค่ำ กับ 15 ค่ำ และ แรม 8ค่ำ กับแรม 15ค่ำ ของทุกเดือน(หำกตรงกับเดือนขำด อำจเป็น แรม 14 ค่ำ )
  • 14. จัดทาโดย นางสาวบุบผา ภูมิริน เลขที่ 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/3 โรงเรียนสอนแก้วว่องไววิทยา