ݺߣ
Submit Search
สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1
•
14 likes
•
49,133 views
P
Puy Chappuis
Follow
เพจ.รัฐศาสตร์ บริหารงานยุติธรรม รามคำแหง
Read less
Read more
1 of 5
Download now
Downloaded 303 times
More Related Content
สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1
1.
ADMINISTRATIVE LAW FOR POLITICAL
SCIENCE ชั่วโมงสุดท้าย กฎหมายปกครอง ซ่อม1/2557 FACEBOOK: บริหารงานยุติธรรม รามคาแหง
2.
ลักษณะของกฎหมายปกครอง กฎหมายปกครอง จะมี หลักเกณฑ์ อานาจหน้าที่
ซึ่งผู้ใช้อานาจตามกฎหมาย คือ หน่วยงานทางปกครอง ซึ่งจะอยู่ในชื่อของ บทลงโทษ เจ้าหน้าที่ (ข้าราชการต่างๆ) รัฐธรรมนูญ ใช้อานาจตามกฎหมายซึ่งมีอยู่ 4 เรื่อง พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ 1. ออกกฎ ได้แก่ พระราชกฤษฎีกา, กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง ข้อบัญญัติท้องถิ่น ระเบียบข้อบังคับ เป็นต้น พระราชบัญญัติ 2. คาสั่งทางปกครอง เช่น การสั่งการ การอนุญาต การอนุมัติ การวินิจฉัยอุทธรณ์ การรับรอง และการรับจดทะเบียน เป็นต้น พระราชกาหนด 3. สัญญาทางปกครอง มีลักษณะเป็นสัญญาสัมปทาน สัญญา ที่ให้จัดทาบริการสาธารณะหรือจัดให้มีสิ่งสาธารณูปโภคหรือแสวง ระเบียบ/ข้อบังคับ ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ 4. การกระทาทางปกครอง เพื่อบริการสาธารณะ ประกาศคณะปฏิวัติ เพื่อบริหารราชการแผ่นดิน เพื่อประโยชน์ของประชาชน เป็นต้น การกระทาทั้ง 4 เรื่อง ต้องยึดหลักความชอบด้วยกฎหมาย โดยสุจริต และหลักประโยชน์สาธารณะ ถ้ากระทาโดยชอบด้วยกฎหมาย ถ้าการใช้อานาจตามกฎหมายกระทาโดยมิชอบ ประชาชนจะได้ประโยชน์สูงสุด มีข้อพิพาทเกิดขึ้น ในการที่ผู้ใช้อานาจ คือ เจ้าหน้าที่และหน่วยงานทางปกครอง ใช้อานาจตามกฎหมาย ซึ่งมีอยู่ 4 เรื่อง สร้างความเดือดร้อนเสียหาย ก็ให้อยู่ในเขต อานาจของ “ศาลปกครอง”
3.
การใช้อานาจที่ไม่ชอบและอยู่ในขอบเขตอานาจของศาลปกครอง การใช้อานาจทางปกครอง คือ การใช้อานาจตามกฎหมายของเจ้าหน้าที่อันก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง โอน
สงวน หรือระงับ หรือมีผลกระทบต่อสถานภาพของสิทธิหรือหน้าที่ของบุคคลไม่ว่าจะเป็นการถาวรหรือชั่วคราว ซึ่งการใช้อานาจทางปกครองนั้น ได้แก่ 1. การออกกฎ เช่น การออกพระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง เป็นต้น 2. การออกคาสั่งทางปกครอง เช่น การสั่งการ การอนุญาต การรับจดทะเบียน เป็นต้น 3. การกระทาทางปกครองในรูปแบบอื่นๆ เช่น การปฏิบัติการทางปกครองหรือสัญญาทางปกครอง เป็นต้น 4. สัญญาทางปกครอง เช่น หน่วยงานทางปกครองจ้างบริษัทเอกชนมาทาถนน สร้างอาคาร เป็นต้น หลักกฎหมาย ตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีทางปกครอง พ.ศ. 2542 มาตรา 9 วรรคแรก (1) วางหลักไว้ว่า ศาลปกครองมีอานาจพิจารณาพิพากษาหรือมีคาสั่งในเรื่องดังต่อไปนี้ (1) คดีพิพาทเกี่ยวกับการที่หน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐกระทาการโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย ไม่ว่าจะเป็นการออกกฎ คาสั่ง หรือการกระทาอื่นใดเนื่องจากกระทาโดยไม่มีอานาจหรือนอกเหนืออานาจหน้าที่หรือ ไม่ถูกต้องตามกฎหมาย หรือโดยไม่ถูกต้องตามรูปแบบขั้นตอนหรือวิธีการอันเป็นสาระสาคัญที่กาหนดไว้สาหรับ การกระทานั้น หรือโดยไม่สุจริต หรือมีลักษณะเป็นการเลือกปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรม หรือมีลักษณะเป็นการสร้างขั้นตอน โดยไม่จาเป็น หรือสร้างภาระให้เกิดกับประชาชนเกินสมควร หรือเป็นการใช้ดุลพินิจโดยมิชอบ คาอธิบาย การใช้อานาจทางปกครองที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายและอยู่ในอานาจของศาลปกครองที่จะพิจารณา พิพากษาหรือมีคาสั่ง ได้แก่ การกระทาที่มีลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ คือ 1. กระทาโดยไม่มีอานาจ 2. กระทานอกเหนืออานาจหน้าที่ 3. กระทาโดยไม่ถูกต้องตามกฎหมาย 4. กระทาโดยไม่ถูกต้องตามรูปแบบขั้นตอน 5. กระทาโดยไม่ถูกต้องตามวิธีการอันเป็นสาระสาคัญที่กาหนดไว้สาหรับการกระทานั้น 6. กระทาโดยไม่สุจริต 7. กระทาโดยมีลักษณะเป็นการเลือกปฏิบัติที่เป็นธรรม 8. กระทาโดยมีลักษณะเป็นการสร้างขั้นตอนโดยไม่จาเป็น 9. กระทาโดยสร้างภาระให้เกิดกับประชาชนเกินสมควร 10. กระทาโดยเป็นการใช้ดุลยพินิจโดยมิชอบ
4.
ตัวอย่างข้อสอบ ข้อ 1
กฎหมายปกครองมีส่วนสัมพันธ์หรือเข้าไปเกี่ยวข้องกับเทศบาลเมืองอย่างไร ? แนวคาตอบ กฎหมายปกครอง คือ กฎหมายที่บัญญัติให้อานาจหน้าที่ในทางปกครองแก่หน่วยงานทางปกครอง หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ ซึ่งอานาจในทางปกครองนั้นได้แก่ การจัดทาบริการสาธารณะ ซึ่งเป็นกิจกรรมทางปกครอง รวมถึงอานาจในการออกกฎ ออกคาสั่ง การกระทาทางปกครองในรูปแบบอื่นๆ และสัญญาทางปกครอง ซึ่ง กฎหมาย ปกครองอาจจะอยู่ในชื่อของ รัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ พระราชกาหนด ประมวลกฎหมาย และประกาศคณะปฏิวัติ จะไม่มีชื่อเรียกว่า กฎหมายปกครองโดยตรง ซึ่งถ้าการดาเนินการใช้อานาจ ทางปกครองดังกล่าวของหน่วยงานทางปกครองซึ่งเป็นหน่วยงานของรัฐ หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ สร้างความเดือดร้อน เสียหาย หรือมีกรณีข้อพิพาทเกิดขึ้นก็ให้อยู่ในเขตอานาจของ “ศาลปกครอง” ผู้ใช้อานาจ คือ หน่วยงานทางปกครองและเจ้าหน้าที่ หน่วยงานทางปกครอง คือ การบริหารราชการส่วนกลาง ได้แก่ กระทรวง ทบวง กรม หรือเทียบเท่ากรม (นิติบุคคล) การบริหารราชการส่วนภูมิภาค ได้แก่ จังหวัด (นิติบุคคล) อาเภอ (ไม่เป็นนิติบุคคล) การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น ได้แก่ อบต. อบจ. เทศบาล กรุงเทพฯ เมืองพัทยา (ต้องมีกฎหมายให้อานาจไว้) เจ้าหน้าที่ หมายความว่า บุคคล คณะบุคคล หรือนิติบุคคล ซึ่งใช้อานาจหรือได้รับมอบหมาย ให้ใช้อานาจทางปกครองของรัฐในการดาเนินการอย่างใดอย่างหนึ่ง วิธีการใช้อานาจ วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง (มาตรา 5 วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539) ใช้ตามที่กฎหมายให้อานาจ การเตรียมการหรือดาเนินการเพื่อจัดให้มีคาสั่งทางปกครอง หรือกฎผ่านวิธีปฏิบัติราชการ ทางปกครอง ยึดหลักความชอบด้วยกฎหมาย ความสุจริต ความยุติธรรมและหลักประโยชน์สาธารณะ วัตถุประสงค์ของการใช้อานาจ ออกกฎ (มาตรา 3 พ.ร.บ.จัดตั้งศาลปกครอง พ.ศ. 2542 และ ตามมาตรา 5 วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539) ออก พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง ข้อบัญญัติท้องถิ่น ระเบียบ ข้อบังคับ หรือบทบัญญัติอื่นที่ มีผลบังคับเป็นการทั่วไป โดยไม่มุ่งหมายให้ใช้บังคับ แก่กรณีใดและบุคคลใดเป็นการเฉพาะ คาสั่งทางปกครอง (มาตรา 5 วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539) การใช้อานาจตามกฎหมายของเจ้าหน้าที่ ที่มีผลเป็นการสร้างนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่าง บุคคลในอันที่จะก่อการเปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรือมีผลกระทบต่อสถานภาพ ของสิทธิหรือหน้าที่ของบุคคล ไม่ว่าจะเป็นการถาวรหรือชั่วคราว เช่น การสั่งการ การอนุญาต การอนุมัติ การวินิจฉัยอุทธรณ์ การรับรองและการรับจดทะเบียน แต่ไม่หมายความรวมถึงการออกกฎ การกระทาทางปกครอง คือ การใช้อานาจตามกฎหมายของเจ้าหน้าที่ ที่ไม่ใช่การออกกฎหรือคาสั่งทางปกครอง
5.
สัญญาทางปกครอง (มาตรา 3
พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครอง พ.ศ. 2542) คือ สัญญาที่คู่สัญญาอย่างน้อย ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเป็นหน่วยงานทางปกครองหรือเป็นบุคคลซึ่งกระทาการแทนรัฐ และมีลักษณะเป็นสัญญาสัมปทาน สัญญาที่ให้จัดทาบริการสาธารณะหรือจัดให้มีสิ่งสาธารณูปโภคหรือแสวงประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ ดังนั้นจะเห็นได้ว่า เทศบาลเมืองมีความสัมพันธ์กับกฎหมายปกครอง คือ พระราชบัญญัติเทศบาล ซึ่งกฎหมาย ปกครองได้บัญญัติให้อานาจหน้าที่แก่เทศบาล ซึ่งเป็นหน่วยงานบริหารราชการส่วนท้องถิ่น ในการดาเนินการจัดทาบริการ สาธารณะต่างๆ เช่น การวางท่อระบายน้า ที่จอดรถสาธารณะ ตลาดสด การซ่อมสะพาน การซ่อมถนนและสิ่งสาธารณูปโภค ต่างๆ เป็นต้น เพื่อบริการประชาชน และในการดาเนินการจัดทาบริการสาธารณะต่างๆ ของเทศบาล เทศบาลจะมีอานาจ จัดทาได้ก็แต่เฉพาะกิจการที่กฎหมายกาหนดไว้เท่านั้นกระทานอกเหนือที่กฎหมายบัญญัติไว้ไม่ได้
Download